SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
อภิลักขิตมหาสมัย                            ผองชาวไทยทุกหมู่เหล่าล้วนหรรษา
น้อมเคารพนบน้อมกราบบูชา	                          เดือนสิงหาที่สิบสองของทุกปี
      ขอพระองค์ทรงพระเจริญพระชนมพรรษา	            แผ่เมตตาทั่วหล้าสุขเกษมศรี
สรรพสิ่งมงคลทรงเปรมปรีด์	                         พระบารมีแผ่ไพศาลตลอดกาลเทอญ
                              ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ
                           ข้าพระพุทธเจ้า นายสุเมธี จันทร์หอม
             ผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 1
                       พร้อมด้วยข้าราชการ ครู บุคลากรทางการศึกษา

วารสาร สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 1
ถ.พระปิยะ ต.ป่าตาล อ.เมือง จ.ลพบุรี โทร. 0-3641-1730 แฟกซ์ 0-3642-1906
           ปีที่ 6 ฉบับที่ 45 เดือน พฤษภาคม – สิงหาคม 2555
๑   วารสารสำ านั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ข ต 1




    	       เดือนสิงหาคม	 ถือว่าเป็นเดือนมหามงคล	 คือวันแม่และวันแม่แห่งชาติ	 ซึ่งพสกนิกรชาวไทย
    ต่างปลื้มปิติ	ระลึกถึงพระคุณและพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น	หาที่สุดมิได้

    	       เดือนสิงหาคม	ถือว่าเป็นระยะเวลาที่พวกเราชาวการศึกษา	ได้ตั้งตัวจากการเปิดภาคเรียน
    ปีการศึกษา	๒๕๕๕	ได้อย่างลงตัวแล้ว	ทั้งแผนงานและแผนคน	มีกลยุทธ์	 โครงการ	กิจกรรม	ใน
    ทุกมิติอย่างชัดเจน	 เพื่อขับเคลื่อนกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้เกิด  “ชั่วโมงคุณภาพ”	 และ	
                                                                                              	
    “นักเรียนคุณภาพ” ในที่สุด

    	       ธรรมดาของการดำาเนินงาน	 ย่อมมีอุปสรรคและปัญหาเข้ามาขวางกั้นและปิดบังความสำาเร็จ
    ถือว่าเป็นความท้าทายของผู้บริหารสถานศึกษาและคุณครู  	ที่จะร่วมใจ		ร่วมแรง		สร้างพลังอัน
    แกร่งกล้า	 ก้าวผ่านให้ได้อย่างองอาจ	 และทรนง	 การก้าวเดินที่มุ่งมั่น	 ทุ่มเทและเสียสละ	 จึงเป็น
    อุดมการณ์พื้นฐาน	ที่ผู้บริหารสถานศึกษาและคุณครู	ต้องมีอย่างเต็มหัวใจ

    	      พวกเรามีความท้าทายมากมาย	 สำาหรับการทำาหน้าที่ในปีการศึกษา	 ๒๕๕๕	 แต่ก่อนที่จะ
    ท้าทายสิ่งอื่น	 ในเดือนสิงหาคม	 อยากฝากให้ท่านผู้บริหารสถานศึกษา	 คุณครู	 และบุคลากรบน
    สำานักงานเขต	 ได้ท้าทายกับความอ่อนล้า	 ความเฉื่อยชา  ความไม่รู้ร้อนรู้หนาวของนักเรียน	 ใน
    ความรับผิดชอบของพวกเราก่อน	เป็นอันดับแรก ซึ่งผมเชื่อว่า	พวกเราต้องทำาได้และทำาได้อย่างดี

                                                                      ด้วยบริสุทธิ์ใจ


                                                นายสุเมธี		จันทร์หอม
                           ผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี	เขต	๑
ว า ร ส า ร ส ำ า น ั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ขต 1   ๒




	         เมื่อปลายเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา	 ได้มีโอกาสไป
ศึกษาดูงานกับบอร์ดบริหารทั้ง	3	องค์คณะ	ของสำานักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรีเขต	1	เป็นเวลา	4	
                                                                  “    ถ้ า จ ะ พู ด ถึ ง
                                                                       ค ว า ม ศิ วิ ไ ล ซ์
                                                                  ความละเมี ย ดละไม
วัน	 3	 คืนด้วยกัน	 ก่อนไปก็วาดฝันถึงความสวยงามของ                ค ว า ม อ ลั ง ก า ร
เกาะบาหลี	ว่าต้องหรูเลิศอลังการ	และโรแมนติค		แต่เมื่อ             หรูหรา ยังอีกหลาย
ไปถึงสนามบินที่เดนปาร์ซาร์	 เมืองหลวงของเกาะบาหลี	                ช่วงตัว กว่าจะเทียบ               ภคจิรา
หะแรกต้องพบกับความผิดหวังอย่างแรง	หมดความรู้สึกที่                เท่าเมืองไทย”             นักประชาสัมพันธ์ชำานาญการ
อยากไปเที่ยวชมในที่ไหน	ๆ	                                                                                                    สพป.ลบ1
ทั้งนั้น                                                                                       เมืองไทย	 แต่มีสิ่งหนึ่งซึ่งสะดุดตา
	 เนื่องจากไปพบสภาพการ                                                                         สะดุดใจ	นั่นคือ		ศรัทธาอันแรงกล้า
จราจรที่แออัดเมื่อออกจาก                                                                       ต่ อ การกราบไหว้ บู ช าสิ่ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์
สนามบิน	 สภาพของสนาม                                                                           หรือสิ่งเคารพนับถือเทพเจ้า	 ผีสาง
บินก็ไม่สวยงามโอ่โถงเหมือน                                                                     นางไม้ของคนที่บาหลี	 ที่สามารถ
สุวรรณภูมิบ้านเรา	 บางจุดก็                                                                    พบเห็นได้ตลอดเส้นทางที่ผ่านทั้ง
ประหยัดไฟ	 ประหยัดแอร์                                                                         อาคารบ้านเรือน				ร้านค้า
อีกต่างหาก	สภาพบ้านเมือง                                                                       รถราต่าง	ๆ	ไม่เคยว่างเว้นจากการบูชา	
ที่เดินทางไปสกปรกรกรุงรัง	                                                                     เท่าที่สังเกตดู	 เครื่องบูชาหน้ารถ	
เต็ ม ไปด้ ว ยการก่ อ สร้ า ง	                                                                 ซึ่งเป็นดอกไม้สดฉีกเป็นกลีบๆ	กอง
ทัศนียภาพสองข้างทาง	 ส่วนใหญ่ไม่สวยงามเอาเสียเลย	                       รวมกันในกระทงสานสี่เหลี่ยม	 นัยว่าเพื่อให้กลิ่นหอมของ
หาความเป็นระเบียบเรียบร้อยไม่ได้เลย	 แม้แต่ความเจริญ                    ดอกไม้กรุ่นกำาจายออกมา	 	 จะถูกเปลี่ยนทุกเช้า	 ตามหน้า
ในแถบที่ชาวต่างชาติไปท่องเที่ยวกันมาก	 ๆ	 อย่างหาดจิม                   บ้าน	ร้านค้าหรือวัดวาต่าง	ๆ	ก็เช่นเดียวกัน		สังเกตดูจะเป็น
บารันและหาดคูตาร์	 ก็สู้พัทยา	 กระบี่	 หรือที่ไหน	 ๆ	 ใน                ของใหม่	 บางจุดเช่นร้านค้า	 หรือแม้แต่ซุปเปอร์มาร์เก็ตที่
เมืองไทยไม่ได้	 รวมทั้งอาหารการกิน	 กล่าวโดยสรุป	 และ                   ทันสมัย	 เป็นเวลาใกล้เที่ยงหรือบ่ายคล้อยแล้ว	 ก็ยังเห็นมี
โดยรวม	คือ	ถ้าจะพูดถึงความศิวิไลซ์	 ความละเมียดละไม	                    การนำาเครื่องบูชาดังว่า	มาวางตามจุดต่าง	ๆ	ให้เห็นตลอด
ความอลังการ	 หรูหรา	 	 ยังอีกหลายช่วงตัว	 กว่าจะเทียบเท่า               วัน	 สองข้างทางที่ขับรถผ่านแทบทุกบ้าน	 หากให้คะเน
                                                                        ด้วยสายตา	 น่าจะประมาณ	 98%	 ของทั้งหมด	 จัดพื้นที่
๓    วารสารสำ านั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ข ต 1




                                                                                      “      วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อต่าง ๆ นั้น
                                                                                             งดงามเหนือกาลเวลา งดงามเหนือคำาบรรยาย
                                                                                             งดงามกว่าโรงแรมหรู ๆ ภัตตาคารชั้นเยี่ยม
                                                                                      หรือช็อปปิ้งมอลล์ชั้นยอด ที่ข้าพเจ้าเคยหลงใหลเสียอีก”
                                                                                       ที่มีชื่อเสียงมานาน	 มีนักท่องเที่ยวเข้ามามากมาย	 แต่ยัง
                                                                                       คงสภาพเดิม	ๆ	ของหมู่บ้าน	ชุมชน	และวัฒนธรรมต่าง	ๆ	                 	
                                                                                       เอาไว้ได้อย่างเหนียวแน่น
ส่วนหน้าของอาคารบ้านเรือน	หรือบนดาดฟ้า	เป็นที่ตั้งของ                                  	           ช่ า งเป็ น การลงทุ น ด้ า นการท่ อ งเที่ ย วที่ แ สน
สิ่งปลูกสร้างเพื่อบูชาเทพลักษณะคล้าย	 ๆ	 กับศาลพระภูมิ	                                มหัศจรรย์พันลึกเสียนี่กระไร	 	 คือ	 	 ไม่ต้องจ่ายเงินเพื่อการ
และศาลตายายบ้านเรา	 แต่ที่น่าทึ่ง	 คือ	 บางบ้านที่มีฐานะดี                             สร้างเสริมเติมแต่งอะไรเลย	 ไม่เหมือนเมืองไทย	 แค่ขยาย
ครึ่งหนึ่งของพื้นที่ส่วนหน้า	จะเต็มไปด้วยสิ่งปลูกสร้างน้อยใหญ่                         ถนนหรือถนนตัดผ่าน	 ทุกสิ่งทุกอย่างในอดีต	 หายวับไปกับ
อยู่รวมกันเป็นหมู่	 บางจุดทำาจากหินทรายล้วน	 บางจุด                                    ตา	 เหลือเพียงสิ่งก่อสร้างที่สวยงามตระการตา	 สีสันสดใส	
หลังคาเป็นใบไม้อะไรสักอย่างคล้าย	 ๆ	                                                   ทันสมัยโอ่โถงเข้ามาแทนที่	 เพื่อเตรียมรับกับความเจริญที่
แฝกหรือจาก	ฉีกเป็นเส้นเล็ก	ๆ		ซ้อนกัน                                                                                จะมาเยื อ นนี่ แ หละที่ เราแตก
หนาเป็นตับเหมือนหมวกทหารจีนในหนัง                                                                                    ต่างจากเขาอย่างสิ้นเชิง	ในเรื่อง
โบราณ	 แลเห็นเป็นสีดำาทะมึนเหมือนกัน                                                                                 ของการรั ก ษาอั ต ลั ก ษณ์ ข อง
หมดทั้งตัวบ้าน	ศาล	รั้ว	ประตู			เนื่องจาก                                                                            ตนเอง	 การรู้จักคุณค่าในตัวเอง	
บาหลีเป็นเมืองที่มีฝนตกชุกเกือบตลอด                                                                                  ซึ่งเราคงตอบไม่ได้ว่า	 อะไรดี
ปี	ทำาให้เกิดเชื้อราและดำา	ทำาให้เป็นเสน่ห์                                                                          กว่า	ระหว่างความเปลี่ยนแปลง
อย่างหนึ่งซึ่งน่าหลงใหล	ที่พูดเช่นนี้เพราะ                                                                           กับการคงอยู่	 คงต้องขึ้นอยู่กับ
เนื่องจากเราเดินทางมายังวิหารหลวงทา                                                                                  มุมมองของแต่ละคน	 เนื่องจาก
มันอายุน	 ซึ่งมีบางจุดสร้างและซ่อมแซมใหม่	 ทำาให้ใบไม้                                 ทุกสิ่งในโลกล้วนมีทั้งด้านดีและด้านเสีย		
ที่ใช้มุงเป็นหลังคา	 แลดูใหม่เป็นสีเปลือกไม้	 มองดูแล้้วไม่                            	           สรุปแล้ว	 ทริปนี้ข้าพเจ้ารู้สึกประทับใจอย่างไม่เคย
สวยงามเลย	สู้สีดำา	ๆ	ทะมึนไม่ได้		                                                     เป็นมาก่อน	 ไม่เคยรู้เลยว่า	 	 วัฒนธรรม	 ประเพณี	 ความเชื่อ
                                                                                       ต่าง	 ๆ	 นั้น	 งดงามเหนือกาลเวลา	 งดงามเหนือคำาบรรยาย
                                                                                       งดงามกว่าโรงแรมหรูๆ		ภัตตาคารชั้นเยี่ยม	หรือช็อปปิ้งมอลล์
                                                                                       ชั้นยอด	 ที่ข้าพเจ้าเคยหลงใหลเสียอีก	 ประเทศไทยคงต้องถึง
                                                                                       เวลาทบทวนใหม่เสียกระมังว่า	 อัตลักษณ์หรือความเป็นตัวตน
                                                                                       ของเราคืออะไร	และเราจะขายอะไรให้กับนักท่องเที่ยว	




           ที่นี่เราได้ค้นพบอีกคำาตอบหนึ่ง	 ซึ่งเป็นข้อดีของ
ศรัทธาและความเชื่ออย่างเคร่งครัด	 เนื่องจากชาวบาหลี
เชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างในโลก	ล้วนมีเทพเจ้า	หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์
ปกปักรักษาอยู่	 จึงไม่มีการตัดไม้ทำาลายป่า	 	 ป่าที่นี่จึง
อุดมสมบูรณ์มาก	ที่สำาคัญ		เกาะบาหลีเป็นแหล่งท่องเที่ยว
ว า ร ส า ร ส ำ า น ั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ขต 1   ๔




»˜¨¨Ñ¤ÇÒÁÊÓàè¢Í§ÞÕ»¹
              ç     ‹Õè †Ø
                                        ตลอด
                                      7 วันที่เดินทางและ
                                                                                          นายสิทธิพงษ์ พฤกษอาภรณ์
                                                                                            รองผอ.สพป.ลพบุรี เขต 1
                                      ศึ ก ษาดู ง านในญี่ ปุ่ น
                                      สิ่ ง ที่ ผ มเห็ น ได้ ต ลอด
                                      เวลา ทุกสถานที่ คือ
                                      ภาพของคนญี่ปุ่น นั่ง                    ศึกษา ทั้งในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้นและ
                                      เดิน อ่านหนังสือ ใน                     ตอนปลาย สิ่งที่ผมตามเข้าไปค้นหาก็คือ ห้องสมุด พบว่า
                                      ทุก ๆ สถานที่แม้แต่                     ทุกโรงเรียน ทุกระดับมีห้องสมุด เป็นห้องสมุดที่ไม่ได้ใหญ่
                                      ขณะที่อยู่คอยไฟเขียว                    โต โอ่โถงมากนักขนาดเพียง 1-2 ห้องเรียนเท่านั้น แต่สิ่งที่
                                      สำาหรับข้ามถนน ซึ่ง                     พบคือมีครูบรรณารักษณ์ หรืออาสามัคร ที่มาจากผู้ปกครอง
                                      ก็ ไ ม่ ไ ด้ น านนั ก หนา               นักเรียนมาอยู่ประจำาห้องสมุด คอยดูแลให้คำาแนะนำา จัด
พวกเขาก็ยังพยายามที่จะยืนอ่าน และเป็นการอ่านอย่าง                             เก็บ จัดเรียง ซ่อมแซมหนังสือ คัดเลือกหนังสือเพื่อทำาป้าย
มีสมาธิ และที่ลองสังเกตุพวกเขาอ่านหนังสือทุกประเภท                            นิเทศแนะนำานักเรียนเกี่ยวกับหนังสือที่น่าสนใจ เมื่อดูลึก
เคยทราบมาว่าถ้าให้ดีลองขึ้นหรือลงไปดูในรถไฟฟ้า ทั้ง                           เขาไปในชั้นหนังสือหยิบหนังสือในแต่ละหมวดขึ้นมาดู เท่า
ใต้ดิน บนดิน ภาพที่จะเห็นก็คือพวกเขาอ่านหนังสือกันทั้ง                        ที่สังเกตุเห็นหนังสือเกือบทั้งหมดเป็นปกแข็งอาบมันเกือบ
นั้น ไม่พูดไม่คุย ไม่รู้จริงหรือเท็จประการใด เพราะทริปนี้                     ทั้งนั้น ยกเว้นหนังสืองานวิชาการ งานวิจัย ที่ห้องสมุดเล่า
ไม่มีเวลาให้ลองไปสำารวจ แต่เมื่อมีโอกาสได้ไปเดินในย่าน                        นั้นถ่ายเอกสารมา แต่ก็มีสภาพน่าดู น่าจับ น่าสนใจ พลิก
ที่คนทุกเพศ ทุกวัย มักมาเดิน เช่น ย่าน ชินชุกุ ย่านอิเคบุ                     เปิดเข้าไปในแต่ละเล่มสิ่งที่พบก็คือห้องสมุดโรงเรียนระดับ
โคโร ในห้างสรรพสินค้า หรือใกล้สถานีรถใต้ดิน มักพบ ร้าน                        ประถมและมัธยมต้น ไม่เว้นแม้แต่มัธยมปลายก็คือ หนังสือ
หนังสือทั้งขนาดเล็กและใหญ่ที่มีคนเข้าสมำ่าเสมอ บางร้าน                        แต่ละเล่มภาพประกอบหนังสือ ส่วนใหญ่เป็นภาพลักษณะ
แน่นจนแทบเดินไม่ได้เมื่อเดินเข้าในร้านหนังสือ บางร้าน                         การ์ตูนสไตล์ญี่ปุ่น ผมตามเข้าไปดูในหนังสือประกอบการ
มีหนังสือถึง 3 – 4 ชั้น และเป็นหนังสือใหม่ และหนังสือ                         เรียนของนักเรียนญี่ปุ่น เกือบทุกเล่มมีลักษณะตรงกันกับ
มือสองเยอะมาก ตรงนี้คงเป็นเครื่องพิสูจน์ได้ว่ามีคนญี่ปุ่น                     หนังสือในห้องสมุดคือมีภาพประกอบเป็นลักษณะการ์ตูน
จำานวนมากพาตัวเองเข้าไปสู่โลกของหนังสือ ถึงแม้วันนี้                          เช่นกัน
โลกของเทคโนโลยี มีหนังสือออนไลน์ อ่านโดยผ่าน ipad                                        ในการศึกษาดูงานครั้งนี้ ผมได้มีโอกาสดี คือได้มีโอ
หรือการเล่นเกมส์ผ่านโทรศัพท์มือถือ (เหมือนในบ้านเราที่                        กาสสังเกตุการสอนในสาระสังคมศึกษา วิชาประวัติศาสตร์
เรามักพบว่า เมื่อขึ้นรถไฟฟ้า หรือนั่งที่ใด ไม่เว้นแต่ในร้าน                   สิ่งที่ได้สังเกตุพบในการจัดการเรียนการสอนของครูก็คือ
อาหารขณะนั่งรับประทานกับครอบครัว เรามักพบภาพต่าง                              เด็กนักเรียนจะถูกฝึกและเรียนรู้ว่าจะสามารถหาคำาตอบ
คนก็ต่างงัดเอาโทรศัพท์มือถือขึ้นมาเล่นเกมส์ หรือพิมพ์พูด                      เรื่องราวต่าง ๆ ได้จากการค้นคว้าจากหนังสือ การสังเกตุ
คุยผ่านเทคโนโลยีดังกล่าวแบบไม่ลืมหูลืมตาโดยไม่คุยกับผู้                       เด็กจึงตระหนักถึงความสำาคัญของการค้นคว้าหาสิ่งใหม่ ๆ
ร่วมรับประทานอาหาร) ทำาไมชาวญี่ปุ่นจึงนักอ่านหนังสือ                          และเพลิดเพลินกับการเปิดโลกทัศน์ของตนเองด้วยการอ่าน
อย่างนั้นเป็นข้อสงสัยที่ผมอยากจะค้นหา                                         เท่าที่สอบถามครูและผู้บริหารพบว่าคนญี่ปุ่นรักการเรียน
         เมื่อมีผมได้โอกาสเขาไปเยี่ยมศึกษา ดูงานในสถาน                        รู้ นอกจากจะถูกฝึกการอ่านอย่างหนักจากครู โรงเรียนแล้ว
๕    วารสารสำ านั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ข ต 1


ครอบครัว อีกทั้งในห้องสมุดประจำาตำาบล หมู่บ้านจะมีมุม             อีก 2 ฉบับคือ กฎหมายส่งเสริมวัฒนธรรมด้านตัวหนังสือ
หนังสือสำาหรับเด็กเป็นมุมที่คึกคักมักมีเด็ก ๆ ไปนั่งอ่านอยู่      และสิ่งพิมพ์ และกฎหมายส่งเสริมวัฒนธรรมการเขียนคำา
เสมอ จึงเป็นการสร้างนิสัยรักการอ่าน ให้กับเด็กมาอย่าง             แค่เพียงตัวอย่างที่ค้นพบดังกล่าวนั่นแสดงว่าทุกภาคส่วน
ตลอดแนว                                                           ร่วมมือกันอย่างจริงจังทั้ง ครอบครัว บ้าน ชุมชน โรงเรียน
          ดังนั้น ภาพที่ชาวญี่ปุ่นทุกเพศทุกวัย อ่านหนังสือ        สถานศึกษา ท้องถิ่น กระทรวงการศึกษา วัฒนธรรม กีฬา
ในสถานที่ต่าง ๆ หรือภาพร้านหนังสือโดยเฉพาะบริเวณ                  วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (Ministry of Education,
สถานีรถไฟแน่นขนัดไปด้วยผู้คน คงเป็นที่มาจากการที่                 Culture, Sports, Science and Technology: MEXT)
เด็กนักเรียน เยาวชนได้ถูกบ่มเพาะมาตลอดเมื่อเข้าสู่การ             รวมจนถึ ง รั ฐ บาลทำ า งานกั น อย่ า งสอดรั บ กั น ทำ า ให้ ก าร
ทำางาน เขาก็ยังคงศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อเพิ่มทักษะ           ปลูกฝังการรักการอ่านของประชาชนชาวญี่ปุ่นหยั่งลึกลง
ความรู้ความชำานาญในสาขาอาชีพ เพื่อพัฒนาทักษะการ                   ในสายเลือดของประชาชนแบบยั่งยืน ทำาให้ชาวญี่ปุ่นมี
ทำางาน ติดตามความก้าวหน้าของวงการต่างๆ หรืออ่าน                   ทัศนคติที่ดีมากต่อการอ่าน ไม่เห็นว่าเป็นการเรียน ไม่ใช่
ตำาราฝึกภาษาต่างประเทศ แม้กระทั่งบางคนที่ต้องการพัก               ภาระ แต่เป็นการหาข้อมูลเพื่อพัฒนาตนเอง เป็นการเรียนรู้
ผ่อนก็ยังอ่านหนังสือการ์ตูนหรือหนังสืออื่น ๆ ที่เกี่ยวกับ         ที่ต้องกระทำาตลอดชีวิต ทำาให้มีอำานาจในการแข่งขัน สร้าง
งานอดิเรก                                                         โอกาส สร้างความสำาเร็จ เพราะสังคมญี่ปุ่นประเมินค่าที่สติ
          ทำาไมชาวญี่ปุ่นจึงเป็นนักอ่าน นักศึกษา ค้นคว้า          ปัญญา ความสามารถและประสบการณ์ มิใช่ที่ความรู้แบบ
ไม่หยุดนิ่งเช่นนั้น หากแต่ดูจากข้อมูลที่กล่าวมาเฉพาะที่เรา        ฉาบฉวยหรือความมั่งคั่งทางวัตถุ ที่สำาคัญการอ่านมาก
สังเกตุและพบเห็นมาประมวล หลังจากกลับมาเมืองไทยผม                  อ่านองค์ความรู้อื่น ๆ ทั่วโลกทำาให้คนญี่ปุ่นซึ่งเป็นนักต่อย
ลองค้นคว้าต่อไปว่านโยบายส่งเสริมการอ่านของนโยบาย                  อดนวัตกรรมสามารถคิด ดัดแปลง นำาผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ มา




                                          “
ของรัฐบาลให้การสนับสนุนการอ่านชัดเจนมีการออกกฏ                    ต่อยอด พัฒนาได้ดียิ่งขึ้น ประเทศญี่ปุ่นจึงสามารถพัฒนา
หมายเกี่ยวกับห้องสมุด มีการ                                                                เป็นประเทศชั้นนำาของโลกในเวลา
ออกกฎหมายห้องสมุดโรงเรียน
                                              การที่เด็กไทยติดเกมส์ ใช้เวลาว่างไป อั น รวดเร็ ว อย่ า งและประสบผล
(School Library Law) ที่กำา                   กับสิ่งฟุ่มเฟือย เป็นนักวัตถุนิยม และ สำาเร็จเป็นที่ประจักษ์
หนดให้โรงเรียนซึ่งมี จำานวน                   จากการประเมินพบว่าเด็กไทยมีทักษะ                   สุดท้ายจากสิ่งที่พบเมื่อมอง
ห้องเรียนมากกว่า 12 ห้องต้อง                  เกี่ยวกับการวิเคราะห์น้อยมาก ทั้งนี้ เขาแล้ ว ย้ อ นกลั บ มาดู บ้ า นเรา
มีบรรณารักษ์ประจำาห้องสมุด                    เนื่องมาจากการขาดวัตถุดิบ”                   การที่เด็กไทยติดเกมส์ ใช้เวลาว่าง
ภายในตั้งแต่ปี ค.ศ. 2003 คือ ห้องสมุดประชาชนขนาดเล็ก              ไปกับสิ่งฟุ่มเฟือย เป็นนักวัตถุนิยม และจากการประเมิน
สำาหรับเด็ก ที่เรียกว่า Bunko จัดตั้งและดำาเนินการโดย             พบว่าเด็กไทยมีทักษะเกี่ยวกับการวิเคราะห์น้อยมาก ทั้งนี้
อาสาสมัครที่เป็นบุคคล หรือกลุ่มเอกชน ซึ่งส่วนใหญ่เป็น             เนื่องมาจากการขาดวัตถุดิบ หรือขาดอาหารสมองเพื่อเสริม
แม่บ้านที่อาสาสมัครเปิดบ้านตนเอง ออกเงินและบริหารเอง              การคิดวิเคราะห์ ซึ่งสิ่งดังกล่าวต้องสะสม เพิ่มพูนและ
บางแห่งเจ้าของ เป็นข้าราชการเกษียณ ซึ่งนำาเงินบำาเหน็จ            มีรากฐานมาจากการอ่านนั่นเอง กระทรวงศึกษาธิการ
ของตนมาดำาเนินการ นอกจากนี้สภาการศึกษาของทุกเมือง                 รัฐบาล คงต้องมีนโยบายด้านการอ่านที่ชัดเจน มิใช่
จังหวัด จัดห้องสมุดและสนับสนุนงบประมาณเกี่ยวกับ                   เพียงปีหนึ่ง ๆ จัดงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ เพียงครั้ง
ห้องสมุดของท้องถิ่นเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สอดรับประสาน           หรือสองครั้ง เท่านั้น นโยบายด้านการอ่านต้องต่อเนื่อง
กับนโยบายของรัฐบาลที่จัดให้มีสภาส่งเสริมการอ่านหนังสือ            จริงจัง บทเรียนความสำาเร็จของญี่ปุ่นเราสามารถนำามา
แห่งประเทศญี่ปุ่น (Japan Council for Promotion of                 ต่อยอดให้เด็กไทยเป็นนักอ่าน นักค้นคว้า และนักพัฒนา
Book Reading) มีห้องสมุดนานาชาติด้านวรรณกรรมเด็ก                  นวัตกรรมได้ในอนาคตและหากยังไม่มีหน่วยงานใดเริ่ม
(The International Library of Children’s Literature:              พวกเราคงต้องมาเริ่มต้นปลูกฝังนิสัยการอ่านให้กับตัวเรา
ILCL) ตั้งอยู่ที่ Ueno Park กรุงโตเกียว รวมทั้งในปี ค.ศ.          คนใกล้ตัวเราก่อน คุณว่าดีไหม
2005 รัฐบาลออกกฎหมายเกี่ยวกับการส่งเสริมการอ่าน
ว า ร ส า ร ส ำ า น ั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ขต 1   ๖




                                                              สวัสดี   ครับ	 เพื่อนครูและพี่น้องบุคลากรทางการ
                                                                       ศึกษาทุกท่านครับ	 พบกันอีกครั้งนะครับใน
                                                    ฉบับนี้	 จากฉบับที่แล้วผมได้นำาเสนอเรื่องของทิศทางการจัดการ
                          กุลจิตต์ รัชดาศิวะกุล ศึกษาของสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน	 ปี	 ๒๕๕๕	
                         ผอ.กลุ่มนโยบายและแผน เพื่อให้โรงเรียนสามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดทำาแผนปฏิบัติการ
  ประจำาปี	 (งบประมาณหรือปีการศึกษา)	 และเพื่อให้ทุกท่านได้เห็นความชัดเจนเป็นกรอบในการบริหารและจัดการศึกษา
  นะครับ	ฉบับนี้ขออนุญาตนำาเรียน	ทิศทางในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน	พ.ศ.	๒๕๕๕-๒๕๕๘	ของสำานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี	 เขต	 ๑	 และทิศทาง	 จุดเน้น                ๕.	ครูและบุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียนมีจิตสำานึก	
การจัดการศึกษาของสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม                      เห็นคุณค่าการสืบสานศิลปวัฒนธรรมและภูมิใจใน
ศึกษาลพบุรี	เขต	๑	ปี	๒๕๕๕	ของเราดังนี้	ครับ                            ความเป็นไทย
W วิสัยทัศน์                                                        ๖.	ครูและบุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียนมีจิตสำานึก	
   ลพบุรีมหานครแห่งการเรียนรู้	เชิดชูคุณธรรม	จริยธรรม	                 เห็นคุณค่าทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม											
 น้อมนำาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง	เทียบเคียงคุณภาพ                   ๗.	สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา	 เป็นองค์กร
 มาตรฐานสากล	บนพื้นฐานความเป็นไทย	ใส่ใจสิ่งแวดล้อม                     แห่งการเรียนรู้	 มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
W พันธกิจ                                                              ตามหลักธรรมาภิบาล
     ๑.	พัฒนา	ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา                   W กลยุทธ์
     ๒.	ส่งเสริมให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษา                                       กลยุทธ์
         อย่างทั่วถึง                                              ประเด็นกลยุทธ์                    กลยุทธ์
     ๓.	พัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากล                           ๑.		 มหานครแห่งการ ๑.	 ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงครอบคลุม
     ๔.	ปลูกฝังคุณธรรม	 จริยธรรม	 ตามหลักปรัชญาของ                       เรียนรู้               และพัฒนาผู้เรียนอย่างเต็มตามศักยภาพ
         เศรษฐกิจพอเพียงและความเป็นไทย                                                     ๒.	 ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรทางการ
     ๕.	ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม                                       ศึกษาขององค์กรให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้
                                                                                           ๓.		 พั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพการบริ ห ารจั ด การ	
W ค่านิยมองค์กร                                                                                 ตามหลักธรรมาภิบาล
          เรียนรู้และพัฒนา			ก้าวหน้าบริการ			ทำางานเป็น            ๒.	 คุณภาพมาตรฐาน ๔.		 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา	
ทีม			ซื่อสัตย์และรับผิดชอบ                                              สากล                   ตามหลักสูตรสู่สากล
W เป้าประสงค์                                                       ๓.	 ป รั ช ญ า ข อ ง ๕.		 ปลูกฝังคุณธรรม	จริยธรรมและส่งเสริมการดำาเนิน
                                                                         เศรษฐกิจพอเพียง        ชีวิต	ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
     ๑.	ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง	
                                                                    ๔.		 ความเป็นไทย       ๖.		 ปลูกฝังและสร้างจิตสำานึกในความเป็นไทย
         และได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ		
                                                                    ๕.	อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ๗.	 ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ
     ๒.	ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน                                           สิ่งแวดล้อม
         เทียบเท่าระดับสากล	
     ๓.	ผู้เรียนมีคุณธรรมนำาความรู้	 ดำาเนินชีวิตตามหลัก            W จุดเน้น สพป.ลบ 1 ปี 2555
         ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง                                   จุดเน้นที่	๑       ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน	 5	 กลุ่มสาระวิชาหลักเพิ่มขึ้น	
     ๔.	ครู	ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนา                               อย่างน้อย	ร้อยละ	5	
         ตามสมรรถนะที่กำาหนด                                        จุดเน้นที่	๒       เตรียมความพร้อมด้านร่างกาย	อารมณ์	สังคม	สติปัญญา
                                                                                       ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ
๗     วารสารสำ านั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ข ต 1



จุดเน้นที่	๓    นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่	3	ทุกคน	อ่านออก	เขียนได้	
                คิดเลขเป็น
จุดเน้นที่	๔    นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่	6	ทุกคน	อ่านคล่อง	เขียนคล่อง	
                คิดเลขคล่องและมีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน
จุดเน้นที่	๕    นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่	3	ทุกคน	อ่านออก	เขียนได้	
                คิดเลขเป็น
จุดเน้นที่	๖    สร้างทางเลือกในการเรียนรู้ที่เน้นให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้า
                ถึงโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง	 	 ลดอัตราการออกกลางคัน	
                ศึกษาต่อ	และประกอบอาชีพ
จุดเน้นที่	๗    นักเรียน	 ครู	 และสถานศึกษาทุกแห่ง	 ได้รับการพัฒนาให้มี
                คุณภาพสอดคล้องกับอัตลักษณ์
จุดเน้นที่	๘    เพิ่มโอกาสการเข้าถึงการเรียนรู้และเพิ่มทักษะด้วย	 ICT	 ให้
                นักเรียนทุกคน
จุดเน้นที่	๙    นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนา
                คุณภาพสู่มาตรฐานสากล	
จุดเน้นที่	๑๐   นักเรียนทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์	 8	 ประการและมี
                ความกตัญญู
จุดเน้นที่	๑๑   นักเรียนทุกคนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่	4	ถึง	ชั้นมัธยมศึกษา
                ปีที่	3	ได้เรียนรู้และเตรียมอนาคตตนเองได้
จุดเน้นที่	๑๒   นักเรียน	ครู	 ผู้บริหาร	และบุคลากรทางการศึกษา	ได้รับการ
                พัฒนา	 เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนมีภูมิคุ้มกันต่อ
                การเปลี่ยนแปลง		และสังคมพหุวัฒนธรรม
จุดเน้นที่	๑๓   สถานศึ ก ษาทุ ก แห่ ง มี ร ะบบประกั น คุ ณ ภาพภายในที่
                เข้ ม แข็ ง และได้ รั บ การรั บ รองจากการประเมิ น คุ ณ ภาพ
                ภายนอก	 ตลอดจนการพัฒนาสถานศึกษาในพื้นที่ชนบท
                โรงเรียนขยายโอกาส	และ	โรงเรียนสู่มาตรฐานสากล		
จุดเน้นที่	๑๔   สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาผ่านการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์
                มาตรฐานของสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา

                                                                                     	        จากทิศทางการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน	ระยะ	๔		ปี	
                                                                                     (พ.ศ.	 ๒๕๕๕-๒๕๕๘)	 และจุดเน้นทั้ง	 ๑๔	 จุดเน้น	 ประจำาปี	
                                                                                     ๒๕๕๕	 ของสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาของเรา	 หากเราได้
                                                                                     ใช้เป็นกรอบในการทำางานผมเชื่อว่าเราสามารถตอบโจทย์
                                                                                     ทุกโจทย์	 และจุดเน้นทั้ง	 ๑๐	 จุดเน้น	 ของ	 สำานักงานคณะ
                                                                                     กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้อย่างแน่นอน	อย่างไรก็ตาม
                                                                                     ต้องรบกวนท่านดูรายละเอียดเพิ่มเติมของตัวชี้วัดในแต่ละจุด
                                                                                     เน้นจาก	www.infolop1.net	นะครับ
                                                                                     	        ผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าทุกท่านคงมีความมั่นใจมาก
                                                                                     ขึ้นในการดำาเนินงานเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ
                                                                                     สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาของเราให้สูงขึ้นคุ้มค่ากับการ
                                                                                     ทุ่มเทอย่างเข้มข้นของทุก	 ๆ	 ท่านนะครับ	 ไว้พบกันฉบับหน้า
                                                                                     นะครับ	เป็นกำาลังใจให้ทุก	ๆ	ท่านครับ	สวัสดีครับ...
ว า ร ส า ร ส ำ า น ั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ขต 1   ๘

                       การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 2558
                                                    สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน
                                     (ASEAN : Association of South East Asian Nations) มีประเทศสมาชิกทั้งหมด
                                     10 ประเทศ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน
     กำาพล อินชมฤทธิ์
   รองผอ.สพป.ลพบุรี เขต 1
                                     ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่า

	             สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน	 (สพฐ.)	                  4.	 ครูใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์	 (ICT)	ในการ
ซึ่งเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบการจัดการศึกษา	 ได้ดำาเนินงาน                          จัดการเรียนรู้	การวัดและประเมินผล	และการเผยแพร่
โครงการเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน	 ได้แก่	                        ผลงานทั้งระบบออนไลน์					(Online)			และออฟไลน์	
โครงการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน	:	Spirit	of	ASEAN	โดยคัด                         	 (Offline)		
เลือกโรงเรียนเข้าร่วมโครงการเพื่อพัฒนาให้มีความพร้อมและ                        5.	 ครูใช้เทคนิคและวิธีสอนที่หลากหลายในการจัดการเรียนรู้
ศักยภาพ	ในการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน                             6.	 ครูสามารถแลกเปลี่ยนประสบการณ์	 ในการจัดการ
	             สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา	ในฐานะหน่วยงานต้นสังกัด	                 เรียนรู้ทั้งในประเทศ	และในกลุ่มประชาคมอาเซียน
และสถานศึกษาจะต้องเตรียมการในเรื่องการพัฒนาผู้บริหาร                           7.	 ครูใช้ประสบการณ์การวิจัย	สื่อ	นวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน
การศึกษา	ผู้บริหารสถานศึกษา	ครูผู้สอน	และบุคลากรทางการศึกษา                        อย่างต่อเนื่อง
ให้มีความพร้อม	สามารถจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดความตระหนัก                 / ตัวชี้วัดคุณภาพนักเรียน
เห็นความสำาคัญ	มีเจตคติที่ดีเกี่ยวกับอาเซียน	และมีทักษะพร้อม                   1. ด้านความรู้
ที่จะเข้าสู่การเป็นส่วนหนึ่งของอาเซียน	โดยสามารถจัดการเรียนรู้                     1.1	 มีความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน	ในด้านการเมือง	
ได้หลากหลาย	 โดยเฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา	                                      และด้านสังคมและวัฒนธรรม
ศาสนาและวัฒนธรรม	ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน                             1.2		 มีความรู้เกี่ยวกับกฎบัตรอาเซียน	
พุทธศักราช	2551	ซึ่ง	สพฐ.	ได้กำาหนดตัวชี้วัดคุณภาพผู้บริหาร	                   2. ด้านทักษะ/กระบวนการ
คุณภาพครู	และคุณภาพนักเรียน	ดังนี้                                                 2.1	 ทักษะพื้นฐาน	ได้แก่	สื่อสารได้อย่างน้อย	2	ภาษา	
/ ตัวชี้วัดคุณภาพผู้บริหาร                                                                (ภาษาอังกฤษ	 และภาษาประเทศในอาเซียนอีก
     1.	 ผูบริหารมีวสยทัศน์ในการจัดการศึกษาสูประชาคมอาเซียน
            ้          ิั                       ่                                         อย่างน้อย	1	ภาษา)	มีทักษะในการใช้เทคโนโลยี
     2.	 ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการภายใต้                                     สารสนเทศอย่างสร้างสรรค์	 	 มีความสามารถใน
         สภาวการณ์จำากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ                                             การแก้ปัญหาอย่างสันติวิธี	 ในการทำางานและอยู่
     3.		ผู้บริหารมีทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร	                               ร่วมกับผู้อื่น
         และทักษะในการใช้	ICT	                                                     2.2		 ทั ก ษะพลเมื อ ง/ความรั บ ผิ ด ชอบทางสั ง คม	
     4.	 ผู้บริหารมีความสามารถในการประสานภาคีเครือข่าย                                    ได้แก่	 เคารพและยอมรับความหลากหลายทาง
         เพื่อความร่วมมือการจัดการเรียนรู้	                                               วัฒนธรรม			มีภาวะผู้นำา		เห็นปัญหาสังคมและ
     5.	 ผู้บริหารมีความสามารถในการนิเทศ	 ติดตามผลการ                                     ลงมือทำาเพื่อนำาไปสู่การเปลี่ยนแปลง
         ดำาเนินงาน                                                                2.3		 ทักษะการเรียนรู้และพัฒนาตน	 ได้แก่	 เห็นคุณค่า
     6.	 ผู้ บ ริ ห ารมี ค วามสามารถในการใช้ เ ทคโนโลยี ใ นการ                            ความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน(สิทธิเด็ก/สิทธิมนุษยชน)
         ติดต่อสื่อสารกับภาคีเครือข่ายในกลุ่มประชาคมอาเซียน                               มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยน
/ ตัวชี้วัดคุณภาพครู                                                                      เรียนรู้	 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมี
     1.	 ครูผู้สอนมีความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน                                        เหตุผล	 มีวิธีคิดอย่างถูกต้อง	 มีความสามารถในการ
     2.	 ครูสามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร                                           จัดการ/ควบคุมตนเอง	 (การวางแผนการดำาเนินการ
     3.	 ครูใช้หนังสือ	ตำาราเรียน	และสื่อที่เป็นภาษาต่างประเทศ                            ตามแผนประเมินผล)			
         ในการจัดการเรียนรู้	(Online)                                          3. ด้านเจตคติ	 ได้แก่	 	 มีความภูมิใจในความเป็นไทย/
๙    วารสารสำ านั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ข ต 1


         ความเป็ น อาเซี ย นร่ ว มกั น รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ประชาคม                       กิจกรรมสำาคัญที่ดำาเนินการภายในโรงเรียนได้แก่	 	 	 จัดตั้งศูนย์
         อาเซียน	 	 มีความตระหนักในความเป็นอาเซียน	 มีวิถีชีวิต                        อาเซียนศึกษา		ปีการศึกษา		2553-2554	โรงเรียนอนุบาลลพบุรี
         ประชาธิปไตย	 ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล	 (คารวะธรรม	                             ซึ่งเป็นโรงเรียนในโครงการพัฒนาประชาคมสู่อาเซียน	 :	 Spirit	
         ปัญญาธรรม	 สามัคคีธรรม)	 สันติวิธี/สันติธรรม	 	 ยอมรับ                        of	 ASEAN	 	 มีผลการประเมินโครงการในภาพรวมได้ระดับดี
         ความแตกต่างในการนับถือศาสนา	 และดำาเนินชีวิตตาม                               เยี่ยมทุกกิจกรรม		และยังได้สร้างเครือข่ายให้กับโรงเรียนในกลุ่ม
         หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง                                                  โรงเรียนทั้ง	19		กลุ่ม		รวมแล้ว		58		โรงเรียน		ปีงบประมาณ	
          สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศีกษาลพบุรี	 เขต	1	                          2555		สพป.ลพบุรี	เขต	1	ได้อนุมัติโครงการในการพัฒนาสถาน
                                                                                       ศึกษาให้ก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก	 ได้แก่	
                                                                                       โครงการพัฒนาโรงเรียนสู่วิถีอาเซียน	(ASEAN	way)	มีเป้าหมาย	
                                                                                       ร้อยละ	100ของโรงเรียนสังกัด	สพป.ลพบุรี	 1	มีความพร้อมใน
                                                                                       การก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน	ในปี	พ.ศ.	2558		
                                                                                       เอกสารอ้างอิง :
                                                                                              ๑.	 แนวการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน	 ระดับ
                                                                                                  ประถมศึกษา	 สำานักงานคณะกรรมการการศึกษา
                                                                                                  ขั้นพื้นฐาน	กระทรวงศึกษาธิการ	2554
                                                                                              ๒.	 เอกสารการดำาเนินงานเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่
                                                                                                  การเป็นประชาคมอาเซียนของสำานักงานเขตพื้นที่
(สพป.ลพบุรี	 เขต	1)	ได้กำาหนดวิสัยทัศน์	 ไว้ว่า	“ลพบุรีมหานคร
                                                                                                  การศึกษาและสถานศึกษา	โดย	ดร.มาลี		สืบกระแส	
แห่งการเรียนรู้ เชิดชูคุณธรรมจริยธรรม น้อมนำาปรัชญา
                                                                                                  ผอ.กลุ่มนิเทศฯ	สพป.ลบ1
เศรษฐกิจพอเพียง เทียบเคียงคุณภาพมาตรฐานสากล บนพื้น
ฐานความเป็นไทย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม”	 จะเห็นได้ว่าวิสัยทัศน์
ตระหนั ก ถึ ง ความสำา คั ญ ในการพั ฒ นาสถานศึ ก ษาให้ ก้ า วเข้ า สู่
ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกสนองต่อการเข้าสู่อาเซียน	
ในปีงบประมาณ	2550		ได้จัดทำา	MOU	ในการยกระดับคุณภาพ
การศึกษา	ระหว่าง	สพป.ลพบุรี	เขต	1	กับ	INSTITUT	AMINUD-
DIN	BAKI:	Malaysia		โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน		ใน
เรื่อง	Improving	teacher,	principal	and	supervisor	qual-
ity		ปีงบประมาณ	2551	ร่วมมือกับ	British	Council		และ	สพฐ.
จัดโครงการ	The	Asian	Dialogues	:	Curriculum	developt-
ment	Program.		ขึ้นเป็นการพัฒนาหลักสูตร	Global		Citizen	           	
โรงเรียนใน	 สพป.ลพบุรี	 	 เขต	 1	 เข้าร่วมโครงการ	 จำานวน	 10	     	
โรงเรียน	ปีการศึกษา		2553	สพป.ลพบุรี		เขต	1		ได้รับคัดเลือกให้
ร่วมโครงการพัฒนาประชาคมสู่อาเซียน	:	Spirit		of	ASEAN	เป็น	
1	ใน	30	เขตพื้นที่การศึกษาที่ได้เข้าร่วมโครงการ		โดยมีโรงเรียน
อนุบาลลพบุรี	และโรงเรียนพิบูลวิทยาลัย	เป็นโรงเรียนในโครงการ
ว า ร ส า ร ส ำ า น ั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ขต 1   ๑๐




                           กราชของคนไทย
ว ัน ภ า ษาไทยแหงช ติ วนเอ
                   า ั
                                                                                                                  วิบูลย์ ศรีโสภณ
                                                                                         ศึกษานิเทศก์ สพป.ลพบุรี เขต ๑
	        ๒๙	กรกฎาคม	ของทุกปี	เป็นวันที่พวกเราชาวไทยทุกคน                     ระดับโรงเรียน
จะหั น มารำ า ลึ ก ถึ ง คุ ณ ค่ า ภาษาไทยภาษาที่ แ สดงความเป็ น              	        โรงเรียนเมืองใหม่	 (ชลอราษฎร์รังสฤษฏ์)
เอกราชที่ภาคภูมิใจมาตั้งบรรพกาล	จวบถึงปัจจุบัน                               ได้รับการคัดเลือกจากสถาบันภาษาไทย	 สพฐ.
	        ย้อนไปถึงบรรพกาล	๒๙	กรกฎาคม	๒๕๐๕		๕	ทศวรรษ                          ให้เป็นโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนการ
ที่ผ่านมา	พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว	เสด็จไปร่วมการประชุม                    สอนภาษาไทย	รางวัลชมเชย	ระดับประเทศ	และ
สัมมนา	ปัญหาภาษาไทยกับนักวิชาการ		ณ		คณะอักษรศาสตร์                          สถาบันภาษาไทย	สพฐ.	ให้โรงเรียนเมืองใหม่
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย			พระองค์ท่านทรงเป็นห่วงด้านการ                        (ชลอราษฎร์รังสฤษฏ์)	 ไปจัดนิทรรศการ	 ณ	
ใช้ภาษา	และทรงมีพระราชดำารัสตอนหนึ่งว่า                                      โรงแรมสตาร์	 จ.ระยอง	 ตั้งแต่วันที่	 ๒๖-๒๙	
                                                                             กรกฎาคม	 ๒๕๕๕	 และเชิญ	 ผอ.รร.นายอาคม	          	
              เรามีโชคดีที่มีภาษาของตนเองแต่โบราณ                            เตียประเสริฐ	 	 รอง	 ผอ.รร.	 สุกิจกุล	 กินจำาปา	
          จึงสมควรอย่างยิ่ง ที่จะรักษาไว้ ปัญหาเฉพาะ                         อ.จินตนา	แย้มยิ้ม			อ.ธนนันท์	 ถนอมวงศ์	 ไป
             ในด้านการรักษาภาษานี้ มีหลายประการ                              ร่วมรับโล่	 พร้อมเงินรางวัล	๕,๐๐๐	บาท	จาก
         อย่างหนึ่ง ต้องรักษาให้บริสุทธิ์ ในการออกเสียง                      รองเลขาฯ	สพฐ.	ดร.เบญจลักษณ์	นำ้าฟ้า
                  คือ ให้ออกเสียงถูกต้อง ชัดเจน
            อีกอย่างหนึ่ง ต้องรักษาให้บริสุทธิ์ ในวิธีใช้
              หมายความว่า วิธีใช้คำาประกอบประโยค
                        นับเป็นปัญหาที่สำาคัญ
          ปัญหาที่สาม คือ ความรำ่ารวยในคำาภาษาไทย
                    ซึ่งพวกเรานึกว่าไม่รำ่ารวยพอ
                     จึงต้องมีบัญญัติศัพท์ใหม่ใช้

	         ด้วยมูลเหตุของกระแสพระราชดำารัส	 ครั้งนั้น	 จึงเป็น
ปฐมบท	กำาหนดให้รัฐบาลมีมติเมื่อวันที่	๑๓	กรกฎาคม	๒๕๔๒	ให้
ทุกวันที่	๒๙	กรกฎาคมของทุกปี	เป็น			“วันภาษาไทยแห่งชาติ”
      	     สำาหรับ	“วันภาษาไทยแห่งชาติ”	ปี	 ๒๕๕๕	ปีนี้	
      สพป.ลพบุรี	เขต	๑	ของเราก็ต้องร่วมกันชื่นชมยินดี	ทั้งใน
                     ระดับโรงเรียนและระดับนักเรียนดังนี้
๑๑   วารสารสำ านั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ข ต 1




                   ระดับนักเรียน                                                และช่วงเวลา	๑๓.๐๐-๑๖.๐๐	น.	ได้รับเกียรติ
      	         โรงเรียนบรรจงรัตน์	 ได้รับรางวัลที่	 ๓	                         อีกครั้งเป็นวิทยากรร่วมเสวนา	“ภาษาไทย ภาษาชาติ”
      ระดับประเทศ	 ในการแข่งขันเรียงความคัดลายมือ	                              กับ	 คุณแม่ขวัญจิต	 ศรีประจันต์	 ศิลปินแห่งชาติ	 สาขา
      นักเรียนชั้น	ป.๓	คือ	ดญ.วนัชพร	เตชะวัฒนวรรณา	   	                         เพลงพื้นบ้าน	 อีแซว	 และยังเป็นพิธีกรดำาเนินกิจกรรม
      ด.ญ.สิริวรรณ	ภู่พลายงาม	นักเรียนชั้น	ป.๓	พร้อม	                           ตลอด	๔	วัน	๒๖-๒๙	กรกฎาคม	๒๕๕๕
      ผอ.วาม	 ดุลยากร	 และคณะครู	 ผู้ปกครองนักเรียน
      ไปรับโล่	 เงิน
      รางวัล	 เนื่องใน
      วันภาษาไทย
      แห่งชาติ	ปี	๒๕๕๕	
      จากรองเลขาฯ	
      สพฐ.	ดร.เบญจลักษณ์	นำ้าฟ้า	ณ	โรงแรมสตาร์

                                                                                	      สำาหรับวันภาษาไทยแห่งชาติ	 ปี	 ๒๕๕๕	 ของ
                                                                                สพป.ลพบุรี	 เขต	 ๑	 มีโรงเรียนต่างๆจัดกิจกรรมอย่าง
                                                                                หลากหลาย	 มากมาย	 น่าสนใจ	 จึงจะขอยกตัวอย่างบาง
                                                                                กิจกรรมของโรงเรียนบางโรงดังนี้
                                                                                  ลำาดับ           โรงเรียน                 กิจกรรม
                                                                                    ๑       บ้านวังจั่น          วาดภาพประกอบคำา
      ระดับเขตพื้นที่                                                               ๒       บ้านหนองแก           เขียนชื่อตามรูป
      	          ศน.วิบูลย์	 ศรีโสภณ	 ได้รับการแต่งตั้งเป็น                         ๓       วัดหัวสำาโรง         การขับเสภา
      คณะทำางานเนื่องในวันภาษาไทย	 ปี	 ๒๕๕๕	 ของ                                    ๔       วัดคงคาราม           วาดภาพสุภาษิต
      สถาบันภาษาไทย	 สพฐ.	 ให้เป็นวิทยากรร่วมเสวนา                                  ๕       วัดพานิชธรรมิการาม   สุดยอดคนเก่งภาษาไทย
      หัวข้อ	“ภาษาไทย ภาษาชาติ” กับคุณนุ้ย                                          ๖       บ้านเขาเตียน         ลำาตัด/เปิดพจนานุกรม
      สุจิรา	 	 	 อรุณพิพัฒน์	 อดีตนางสาวไทย	 ปี	 ๒๕๔๔	    	                        ๗       โคกลำาพานวิทยา       วาดภาพสุภาษิตคำาพังเพย
      และคุณเปรมสุดา	สันติวัฒนา	พิธีกร	ฝน	ฟ้า	อากาศ	                                ๘       วัดใดยาว             แฟนพันธุ์แท้ภาษาไทย
      ทางช่อง	๗	สี	 ในวันที่	 ๒๗	กรกฎาคม	๒๕๕๕	ช่วง                                  ๙       วัดบ้านดาบ           ยกสยามแฟนพันธุ์แท้ภาษาไทย
      เวลา	๑๐.๐๐-๑๒.๐๐น.                                                           ๑๐       วัดหนองมน            ขับเสภาขุนช้างขุนแผน

                                                                                และไม่ว่าวันใด	ๆ	เดือนใด	ๆ	ก็ขอฝากครูทุกคน	ให้สร้าง
                                                                                ความตระหนัก	 ให้นักเรียนรักความเป็นไทย	 ถือว่าทุกวัน
                                                                                เป็นวันภาษาไทยแห่งชาติ	ด้วยครับ
ว า ร ส า ร ส ำ า น ั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ขต 1   ๑๒

 อันเนื่องมาจาก...ประชาคมอาเซียน
                                                                                               โดย ทีมข่าวประชาสัมพันธ์ สพป.ลบ1
	         อีกไม่นานเกินรอ	..	เราก็จะก้าวเข้าสู่การเป็นสมาคมอาเซียนกันอย่างเต็มรูปแบบ	คือในปี	พ.ศ.	2558	ที่ประชากร
ในประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง	10	ประเทศ	สามารถเดินทางเข้าออก	โยกย้าย	ไป–มา	ทำามาหากินในอาชีพต่าง	ๆ	ที่กำาหนด
ไว้ในกลุ่มประเทศสมาชิกได้	ซึ่งแน่นอนภาษากลางที่ต้องใช้และจำาเป็นสำาหรับชีวิตประจำาวัน	คือ	ภาษาอังกฤษ	วันนี้	ทีมข่าว
ประชาสัมพันธ์	 จึงขอนำาบทสนทนาแบบพื่นฐานที่จำาเป็นต้องใช้ในชีวิตประจำาวันมาฝากกัน		เริ่มตั้งแต่การพบกัน	และกล่าว
ทักทายและจากลากัน		ถือเป็นแพทเทิร์นก็ว่าได้...	ตามนี้เลยค่ะ
	         การทักทายหรือสวัสดีในภาษาไทย	(Greeting)	เมื่อเราพบกันจะมีการทักทายพูดคุย	เริ่มต้นด้วยประโยคเหล่านี้
ทุกครั้ง	ซึ่งมีดังต่อไปนี้
          -		 Good	morning			 (กึด	มอร์หนิ่ง)	                         คำาทักทายตอนเช้าถึงเที่ยง
          - Good	afternoon		 (กึด	อ่าฟเทอร์นูน)	                       คำาทักทายตอนหลังเที่ยงถึงก่อนพลบคำ่าหรือเย็น
          - Good	evening	                    (กึด	อีฟเว็นหนิ่ง)	       คำาทักทายตอนเย็นหรือพลบคำ่า
          - Hello	!	(เฮลโล่)	หรือ	Hullo	!	(ฮัลโล่)	หรือ	Hi	!	(ไฮ)		ใช้กล่าวสวัสดีทั่วไปไม่จำากัดเวลา	สามารถ
เอ่ยชื่อบุคคลตามหลังคำากล่าวสวัสดีเหล่านี้ได้
	         เช่น	Hi,	Jenny.	และมักสนทนาต่อด้วยประโยคต่อดังนี้
          - How	do	you	do?	 (ฮาว	ดู	ยู	ดู)	                            สบายดีหรือ	 	 ใช้เมื่อพบกันครั้งแรกในชีวิต	
พูดตอบคำาเดิม	คือ	How	do	you	do	?
	         พบกันครั้งต่อไปให้ทักว่า
          - How	are	you	?	 (ฮาว	อาร์	ยู)	                              สบายดีหรือ	ใช้ในโอกาสทั่วไป
คำาตอบ	คือ		I’ m fine 	หรือ	well 	หรือ	quite well. 	(ไอแอมไฟน์	หรือ	อามไฟน์	หรือ	เวล	หรือ	ไคว้	เวล)		สบายดี
	         ส่วนกรณีน	ี้คือ		สนิทสนมกัน	เมื่อเจอกันก็ทักทายคุยกันต่อเนื่อง	เช่น	
          - Not	well.	                       (น้อท	เวล)	               ไม่ค่อยสบาย			หรือ	
          - I	have	a	head	ache.		(ไอ	แฮฟว์	อะ	เฮ้ด	เอ่ค)					รู้สึกปวดศีรษะ
          - I	have	the	flu.	                 (ไอ	แฮฟว์	.เธอะ	ฟลู)	 ไข้หวัดใหญ่			หรือ
          - Not	so	well,	thanks.		หรือ		I	have	a	cold.				(น้อท	โซ	เวล,	แธ้งส์.	หรือ	ไอ	แฮบว์	อะ	โคล)	              	
	         	 	                                	                         ไม่สบายค่ะ	เป็นหวัด
          หรือประโยคอื่น	ๆ	ตามแต่จะสนทนา	หลังจากนั้นก็จะเป็นการกล่าวลาเมื่อจบบทสนทนา
	         สำาหรับผู้ที่เพิ่งรู้จักกัน	เมื่อจะยุติการสนทนา	นิยมใช้
          - It	was	nice	meeting	you		 (อิท	วอส	ไนซ	มีททิง	ยู)		                          ยินดีที่รู้จัก	
	         และอีกฝ่ายหนึ่งก็จะตอบว่า
          - Nice	meeting	you	,too	Goodbye	 (ไนซ	มีททิง	ยู	ทู	กึดบาย)			                  ยินดีที่ได้รู้จักเช่นกัน
	         ถ้ากรณีที่รู้จักกันอยู่แล้ว		มักจะใช้คำาพูดดังนี้
          - I	really	must	be	off	now.			 (ไอ	เรลลิ	มัส	บี	อ๊อฟ	นาว)				 ฉันต้องไปแล้วล่ะ
          - I	must	go	now.	 	                            (ไอ	มัส	โก	นาว)	
                                                                        	        	       ฉันต้องไปแล้วล่ะ
และตามด้วยคำาอาลาดังต่อไปนี้	(จะใช้คำาใดก็ได้ความหมายอยู่ที่นำ้าเสียงและการแสดงออก)
       Goodbye              กึด บ๋าย                                          Bye – bye                         บาย บาย
       Good night           กึด ไนท์ (เฉพาะเวลากลางคืน)                       So long                           โซ ลอง
       See you              ซี ยู                                             See you later                     ซี ยู เลเทอร์
       See you again        ซี ยู อะเกน                                       See you around                    ซี ยู อะราวด์
       Take care            เทค แคร์                                          All the best                      ออล เดอะ เบสท์

        ค่ะ..ก็ลองฝึกดูนะคะ	คงไม่ยากจนเกินไป	โอกาสหน้าจะนำาบทสนทนาในเรื่องอื่น	ๆ	ที่จำาเป็นต้องใช้มานำาเสนอ
ต่อค่ะ		Goodbye	…
วารสาร สพป.ลบ.1
วารสาร สพป.ลบ.1
วารสาร สพป.ลบ.1

More Related Content

What's hot (10)

มหาชาติ
มหาชาติมหาชาติ
มหาชาติ
 
ราชบุรี
ราชบุรีราชบุรี
ราชบุรี
 
สมพร
สมพรสมพร
สมพร
 
งานไทย
งานไทยงานไทย
งานไทย
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
จ.แพร่
จ.แพร่จ.แพร่
จ.แพร่
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
ลำพูน
ลำพูนลำพูน
ลำพูน
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือ
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 

Viewers also liked

หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กAon Onuma
 
เจ้าภาพกฐิน๕๔
เจ้าภาพกฐิน๕๔เจ้าภาพกฐิน๕๔
เจ้าภาพกฐิน๕๔weskaew yodmongkol
 
รายงานร้อยละภาค 1 ปี56 ป.5
รายงานร้อยละภาค 1 ปี56 ป.5รายงานร้อยละภาค 1 ปี56 ป.5
รายงานร้อยละภาค 1 ปี56 ป.5benz127
 
การสร้างแบบสอบถามออนไลน์ ด้วย Google doc ศรีประไพ
การสร้างแบบสอบถามออนไลน์ ด้วย Google doc ศรีประไพการสร้างแบบสอบถามออนไลน์ ด้วย Google doc ศรีประไพ
การสร้างแบบสอบถามออนไลน์ ด้วย Google doc ศรีประไพSriprapai Inchaithep
 
Chapter 1 Overview Indus Valley
Chapter 1 Overview   Indus ValleyChapter 1 Overview   Indus Valley
Chapter 1 Overview Indus Valleyryan
 
แร่เซอร์คอน
แร่เซอร์คอนแร่เซอร์คอน
แร่เซอร์คอนkansuda wongsasuwan
 
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมdraught
 

Viewers also liked (20)

12
1212
12
 
ประวัติ Line
ประวัติ Lineประวัติ Line
ประวัติ Line
 
Animation2
Animation2Animation2
Animation2
 
Animation1
Animation1Animation1
Animation1
 
Animation3
Animation3Animation3
Animation3
 
Animation5
Animation5Animation5
Animation5
 
Animation4
Animation4Animation4
Animation4
 
Animation6
Animation6Animation6
Animation6
 
Animation7
Animation7Animation7
Animation7
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 
เจ้าภาพกฐิน๕๔
เจ้าภาพกฐิน๕๔เจ้าภาพกฐิน๕๔
เจ้าภาพกฐิน๕๔
 
รายงานร้อยละภาค 1 ปี56 ป.5
รายงานร้อยละภาค 1 ปี56 ป.5รายงานร้อยละภาค 1 ปี56 ป.5
รายงานร้อยละภาค 1 ปี56 ป.5
 
การสร้างแบบสอบถามออนไลน์ ด้วย Google doc ศรีประไพ
การสร้างแบบสอบถามออนไลน์ ด้วย Google doc ศรีประไพการสร้างแบบสอบถามออนไลน์ ด้วย Google doc ศรีประไพ
การสร้างแบบสอบถามออนไลน์ ด้วย Google doc ศรีประไพ
 
Chapter 1 Overview Indus Valley
Chapter 1 Overview   Indus ValleyChapter 1 Overview   Indus Valley
Chapter 1 Overview Indus Valley
 
การชุมนุมรอบกองไฟ
การชุมนุมรอบกองไฟการชุมนุมรอบกองไฟ
การชุมนุมรอบกองไฟ
 
แร่เซอร์คอน
แร่เซอร์คอนแร่เซอร์คอน
แร่เซอร์คอน
 
Limit
LimitLimit
Limit
 
การประเมินผล 4 มิติ
การประเมินผล 4 มิติการประเมินผล 4 มิติ
การประเมินผล 4 มิติ
 
Google site
Google siteGoogle site
Google site
 
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรมกิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
กิจกรรมที่ 4 วงจรการพัฒนาโปรแกรม
 

Similar to วารสาร สพป.ลบ.1

โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docxโครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docxKamontip Jiruksa
 
ลอยกระทง
ลอยกระทง ลอยกระทง
ลอยกระทง reemary
 
โครงงาน Final วิชาคอมพิวเตอร์ ม.6
โครงงาน Final วิชาคอมพิวเตอร์ ม.6โครงงาน Final วิชาคอมพิวเตอร์ ม.6
โครงงาน Final วิชาคอมพิวเตอร์ ม.6Nothern Eez
 
บทเรียนสำเร็จรูป สถานที่สำคัญในท้องถิ่น
บทเรียนสำเร็จรูป  สถานที่สำคัญในท้องถิ่นบทเรียนสำเร็จรูป  สถานที่สำคัญในท้องถิ่น
บทเรียนสำเร็จรูป สถานที่สำคัญในท้องถิ่นwatdang
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางorawan155
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์kruthai40
 
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์kai2910
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555Panda Jing
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานPornpimon Gormsang
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2Kroo nOOy
 

Similar to วารสาร สพป.ลบ.1 (20)

สารคดี
สารคดีสารคดี
สารคดี
 
112547
112547112547
112547
 
2012 05-20
 2012 05-20 2012 05-20
2012 05-20
 
ก่อเจดีย์ทราย
ก่อเจดีย์ทรายก่อเจดีย์ทราย
ก่อเจดีย์ทราย
 
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docxโครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
 
ลอยกระทง
ลอยกระทง ลอยกระทง
ลอยกระทง
 
โครงงาน Final วิชาคอมพิวเตอร์ ม.6
โครงงาน Final วิชาคอมพิวเตอร์ ม.6โครงงาน Final วิชาคอมพิวเตอร์ ม.6
โครงงาน Final วิชาคอมพิวเตอร์ ม.6
 
บทเรียนสำเร็จรูป สถานที่สำคัญในท้องถิ่น
บทเรียนสำเร็จรูป  สถานที่สำคัญในท้องถิ่นบทเรียนสำเร็จรูป  สถานที่สำคัญในท้องถิ่น
บทเรียนสำเร็จรูป สถานที่สำคัญในท้องถิ่น
 
Nuin
NuinNuin
Nuin
 
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาวประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
 
งานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลางงานคนไทยภาคกลาง
งานคนไทยภาคกลาง
 
File
FileFile
File
 
การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์การแต่งคำประพันธ์
การแต่งคำประพันธ์
 
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์
โครงงานระบบนิเวศน์ในประเทศสิงค์โปร์บูรณาการผ่านเว็บไซต์
 
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรีการบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
การบริหารการท่องเที่ยว อบจ.ราชบุรี
 
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
โพธิยาลัย เดือน มกราคม 2555
 
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสานสถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
สถาบันวิจัยศิลปะและวัฒนธรรมอีสาน
 
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2
รอบรั้ววนาหลวง ฉบับที่ 2
 
ภาคเหนือ
ภาคเหนือภาคเหนือ
ภาคเหนือ
 
The Nice Places (1)
The Nice Places (1)The Nice Places (1)
The Nice Places (1)
 

วารสาร สพป.ลบ.1

  • 1. อภิลักขิตมหาสมัย ผองชาวไทยทุกหมู่เหล่าล้วนหรรษา น้อมเคารพนบน้อมกราบบูชา เดือนสิงหาที่สิบสองของทุกปี ขอพระองค์ทรงพระเจริญพระชนมพรรษา แผ่เมตตาทั่วหล้าสุขเกษมศรี สรรพสิ่งมงคลทรงเปรมปรีด์ พระบารมีแผ่ไพศาลตลอดกาลเทอญ ด้วยเกล้าด้วยกระหม่อมขอเดชะ ข้าพระพุทธเจ้า นายสุเมธี จันทร์หอม ผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 1 พร้อมด้วยข้าราชการ ครู บุคลากรทางการศึกษา วารสาร สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 1 ถ.พระปิยะ ต.ป่าตาล อ.เมือง จ.ลพบุรี โทร. 0-3641-1730 แฟกซ์ 0-3642-1906 ปีที่ 6 ฉบับที่ 45 เดือน พฤษภาคม – สิงหาคม 2555
  • 2. วารสารสำ านั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ข ต 1 เดือนสิงหาคม ถือว่าเป็นเดือนมหามงคล คือวันแม่และวันแม่แห่งชาติ ซึ่งพสกนิกรชาวไทย ต่างปลื้มปิติ ระลึกถึงพระคุณและพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น หาที่สุดมิได้ เดือนสิงหาคม ถือว่าเป็นระยะเวลาที่พวกเราชาวการศึกษา ได้ตั้งตัวจากการเปิดภาคเรียน ปีการศึกษา ๒๕๕๕ ได้อย่างลงตัวแล้ว ทั้งแผนงานและแผนคน มีกลยุทธ์ โครงการ กิจกรรม ใน ทุกมิติอย่างชัดเจน เพื่อขับเคลื่อนกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้เกิด  “ชั่วโมงคุณภาพ” และ “นักเรียนคุณภาพ” ในที่สุด ธรรมดาของการดำาเนินงาน ย่อมมีอุปสรรคและปัญหาเข้ามาขวางกั้นและปิดบังความสำาเร็จ ถือว่าเป็นความท้าทายของผู้บริหารสถานศึกษาและคุณครู  ที่จะร่วมใจ ร่วมแรง สร้างพลังอัน แกร่งกล้า ก้าวผ่านให้ได้อย่างองอาจ และทรนง การก้าวเดินที่มุ่งมั่น ทุ่มเทและเสียสละ จึงเป็น อุดมการณ์พื้นฐาน ที่ผู้บริหารสถานศึกษาและคุณครู ต้องมีอย่างเต็มหัวใจ พวกเรามีความท้าทายมากมาย สำาหรับการทำาหน้าที่ในปีการศึกษา ๒๕๕๕ แต่ก่อนที่จะ ท้าทายสิ่งอื่น ในเดือนสิงหาคม อยากฝากให้ท่านผู้บริหารสถานศึกษา คุณครู และบุคลากรบน สำานักงานเขต ได้ท้าทายกับความอ่อนล้า ความเฉื่อยชา  ความไม่รู้ร้อนรู้หนาวของนักเรียน ใน ความรับผิดชอบของพวกเราก่อน เป็นอันดับแรก ซึ่งผมเชื่อว่า พวกเราต้องทำาได้และทำาได้อย่างดี ด้วยบริสุทธิ์ใจ นายสุเมธี จันทร์หอม ผู้อำานวยการสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต ๑
  • 3. ว า ร ส า ร ส ำ า น ั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ขต 1 ๒ เมื่อปลายเดือนมิถุนายนที่ผ่านมา ได้มีโอกาสไป ศึกษาดูงานกับบอร์ดบริหารทั้ง 3 องค์คณะ ของสำานักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรีเขต 1 เป็นเวลา 4 “ ถ้ า จ ะ พู ด ถึ ง ค ว า ม ศิ วิ ไ ล ซ์ ความละเมี ย ดละไม วัน 3 คืนด้วยกัน ก่อนไปก็วาดฝันถึงความสวยงามของ ค ว า ม อ ลั ง ก า ร เกาะบาหลี ว่าต้องหรูเลิศอลังการ และโรแมนติค แต่เมื่อ หรูหรา ยังอีกหลาย ไปถึงสนามบินที่เดนปาร์ซาร์ เมืองหลวงของเกาะบาหลี ช่วงตัว กว่าจะเทียบ ภคจิรา หะแรกต้องพบกับความผิดหวังอย่างแรง หมดความรู้สึกที่ เท่าเมืองไทย” นักประชาสัมพันธ์ชำานาญการ อยากไปเที่ยวชมในที่ไหน ๆ สพป.ลบ1 ทั้งนั้น เมืองไทย แต่มีสิ่งหนึ่งซึ่งสะดุดตา เนื่องจากไปพบสภาพการ สะดุดใจ นั่นคือ ศรัทธาอันแรงกล้า จราจรที่แออัดเมื่อออกจาก ต่ อ การกราบไหว้ บู ช าสิ่ง ศั ก ดิ์ สิ ท ธิ์ สนามบิน สภาพของสนาม หรือสิ่งเคารพนับถือเทพเจ้า ผีสาง บินก็ไม่สวยงามโอ่โถงเหมือน นางไม้ของคนที่บาหลี ที่สามารถ สุวรรณภูมิบ้านเรา บางจุดก็ พบเห็นได้ตลอดเส้นทางที่ผ่านทั้ง ประหยัดไฟ ประหยัดแอร์ อาคารบ้านเรือน ร้านค้า อีกต่างหาก สภาพบ้านเมือง รถราต่าง ๆ ไม่เคยว่างเว้นจากการบูชา ที่เดินทางไปสกปรกรกรุงรัง เท่าที่สังเกตดู เครื่องบูชาหน้ารถ เต็ ม ไปด้ ว ยการก่ อ สร้ า ง ซึ่งเป็นดอกไม้สดฉีกเป็นกลีบๆ กอง ทัศนียภาพสองข้างทาง ส่วนใหญ่ไม่สวยงามเอาเสียเลย รวมกันในกระทงสานสี่เหลี่ยม นัยว่าเพื่อให้กลิ่นหอมของ หาความเป็นระเบียบเรียบร้อยไม่ได้เลย แม้แต่ความเจริญ ดอกไม้กรุ่นกำาจายออกมา จะถูกเปลี่ยนทุกเช้า ตามหน้า ในแถบที่ชาวต่างชาติไปท่องเที่ยวกันมาก ๆ อย่างหาดจิม บ้าน ร้านค้าหรือวัดวาต่าง ๆ ก็เช่นเดียวกัน สังเกตดูจะเป็น บารันและหาดคูตาร์ ก็สู้พัทยา กระบี่ หรือที่ไหน ๆ ใน ของใหม่ บางจุดเช่นร้านค้า หรือแม้แต่ซุปเปอร์มาร์เก็ตที่ เมืองไทยไม่ได้ รวมทั้งอาหารการกิน กล่าวโดยสรุป และ ทันสมัย เป็นเวลาใกล้เที่ยงหรือบ่ายคล้อยแล้ว ก็ยังเห็นมี โดยรวม คือ ถ้าจะพูดถึงความศิวิไลซ์ ความละเมียดละไม การนำาเครื่องบูชาดังว่า มาวางตามจุดต่าง ๆ ให้เห็นตลอด ความอลังการ หรูหรา ยังอีกหลายช่วงตัว กว่าจะเทียบเท่า วัน สองข้างทางที่ขับรถผ่านแทบทุกบ้าน หากให้คะเน ด้วยสายตา น่าจะประมาณ 98% ของทั้งหมด จัดพื้นที่
  • 4. วารสารสำ านั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ข ต 1 “ วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อต่าง ๆ นั้น งดงามเหนือกาลเวลา งดงามเหนือคำาบรรยาย งดงามกว่าโรงแรมหรู ๆ ภัตตาคารชั้นเยี่ยม หรือช็อปปิ้งมอลล์ชั้นยอด ที่ข้าพเจ้าเคยหลงใหลเสียอีก” ที่มีชื่อเสียงมานาน มีนักท่องเที่ยวเข้ามามากมาย แต่ยัง คงสภาพเดิม ๆ ของหมู่บ้าน ชุมชน และวัฒนธรรมต่าง ๆ เอาไว้ได้อย่างเหนียวแน่น ส่วนหน้าของอาคารบ้านเรือน หรือบนดาดฟ้า เป็นที่ตั้งของ ช่ า งเป็ น การลงทุ น ด้ า นการท่ อ งเที่ ย วที่ แ สน สิ่งปลูกสร้างเพื่อบูชาเทพลักษณะคล้าย ๆ กับศาลพระภูมิ มหัศจรรย์พันลึกเสียนี่กระไร คือ ไม่ต้องจ่ายเงินเพื่อการ และศาลตายายบ้านเรา แต่ที่น่าทึ่ง คือ บางบ้านที่มีฐานะดี สร้างเสริมเติมแต่งอะไรเลย ไม่เหมือนเมืองไทย แค่ขยาย ครึ่งหนึ่งของพื้นที่ส่วนหน้า จะเต็มไปด้วยสิ่งปลูกสร้างน้อยใหญ่ ถนนหรือถนนตัดผ่าน ทุกสิ่งทุกอย่างในอดีต หายวับไปกับ อยู่รวมกันเป็นหมู่ บางจุดทำาจากหินทรายล้วน บางจุด ตา เหลือเพียงสิ่งก่อสร้างที่สวยงามตระการตา สีสันสดใส หลังคาเป็นใบไม้อะไรสักอย่างคล้าย ๆ ทันสมัยโอ่โถงเข้ามาแทนที่ เพื่อเตรียมรับกับความเจริญที่ แฝกหรือจาก ฉีกเป็นเส้นเล็ก ๆ ซ้อนกัน จะมาเยื อ นนี่ แ หละที่ เราแตก หนาเป็นตับเหมือนหมวกทหารจีนในหนัง ต่างจากเขาอย่างสิ้นเชิง ในเรื่อง โบราณ แลเห็นเป็นสีดำาทะมึนเหมือนกัน ของการรั ก ษาอั ต ลั ก ษณ์ ข อง หมดทั้งตัวบ้าน ศาล รั้ว ประตู เนื่องจาก ตนเอง การรู้จักคุณค่าในตัวเอง บาหลีเป็นเมืองที่มีฝนตกชุกเกือบตลอด ซึ่งเราคงตอบไม่ได้ว่า อะไรดี ปี ทำาให้เกิดเชื้อราและดำา ทำาให้เป็นเสน่ห์ กว่า ระหว่างความเปลี่ยนแปลง อย่างหนึ่งซึ่งน่าหลงใหล ที่พูดเช่นนี้เพราะ กับการคงอยู่ คงต้องขึ้นอยู่กับ เนื่องจากเราเดินทางมายังวิหารหลวงทา มุมมองของแต่ละคน เนื่องจาก มันอายุน ซึ่งมีบางจุดสร้างและซ่อมแซมใหม่ ทำาให้ใบไม้ ทุกสิ่งในโลกล้วนมีทั้งด้านดีและด้านเสีย ที่ใช้มุงเป็นหลังคา แลดูใหม่เป็นสีเปลือกไม้ มองดูแล้้วไม่ สรุปแล้ว ทริปนี้ข้าพเจ้ารู้สึกประทับใจอย่างไม่เคย สวยงามเลย สู้สีดำา ๆ ทะมึนไม่ได้ เป็นมาก่อน ไม่เคยรู้เลยว่า วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อ ต่าง ๆ นั้น งดงามเหนือกาลเวลา งดงามเหนือคำาบรรยาย งดงามกว่าโรงแรมหรูๆ ภัตตาคารชั้นเยี่ยม หรือช็อปปิ้งมอลล์ ชั้นยอด ที่ข้าพเจ้าเคยหลงใหลเสียอีก ประเทศไทยคงต้องถึง เวลาทบทวนใหม่เสียกระมังว่า อัตลักษณ์หรือความเป็นตัวตน ของเราคืออะไร และเราจะขายอะไรให้กับนักท่องเที่ยว ที่นี่เราได้ค้นพบอีกคำาตอบหนึ่ง ซึ่งเป็นข้อดีของ ศรัทธาและความเชื่ออย่างเคร่งครัด เนื่องจากชาวบาหลี เชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างในโลก ล้วนมีเทพเจ้า หรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ปกปักรักษาอยู่ จึงไม่มีการตัดไม้ทำาลายป่า ป่าที่นี่จึง อุดมสมบูรณ์มาก ที่สำาคัญ เกาะบาหลีเป็นแหล่งท่องเที่ยว
  • 5. ว า ร ส า ร ส ำ า น ั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ขต 1 ๔ »˜¨¨Ñ¤ÇÒÁÊÓàè¢Í§ÞÕ»¹ ç ‹Õè †Ø ตลอด 7 วันที่เดินทางและ นายสิทธิพงษ์ พฤกษอาภรณ์ รองผอ.สพป.ลพบุรี เขต 1 ศึ ก ษาดู ง านในญี่ ปุ่ น สิ่ ง ที่ ผ มเห็ น ได้ ต ลอด เวลา ทุกสถานที่ คือ ภาพของคนญี่ปุ่น นั่ง ศึกษา ทั้งในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้นและ เดิน อ่านหนังสือ ใน ตอนปลาย สิ่งที่ผมตามเข้าไปค้นหาก็คือ ห้องสมุด พบว่า ทุก ๆ สถานที่แม้แต่ ทุกโรงเรียน ทุกระดับมีห้องสมุด เป็นห้องสมุดที่ไม่ได้ใหญ่ ขณะที่อยู่คอยไฟเขียว โต โอ่โถงมากนักขนาดเพียง 1-2 ห้องเรียนเท่านั้น แต่สิ่งที่ สำาหรับข้ามถนน ซึ่ง พบคือมีครูบรรณารักษณ์ หรืออาสามัคร ที่มาจากผู้ปกครอง ก็ ไ ม่ ไ ด้ น านนั ก หนา นักเรียนมาอยู่ประจำาห้องสมุด คอยดูแลให้คำาแนะนำา จัด พวกเขาก็ยังพยายามที่จะยืนอ่าน และเป็นการอ่านอย่าง เก็บ จัดเรียง ซ่อมแซมหนังสือ คัดเลือกหนังสือเพื่อทำาป้าย มีสมาธิ และที่ลองสังเกตุพวกเขาอ่านหนังสือทุกประเภท นิเทศแนะนำานักเรียนเกี่ยวกับหนังสือที่น่าสนใจ เมื่อดูลึก เคยทราบมาว่าถ้าให้ดีลองขึ้นหรือลงไปดูในรถไฟฟ้า ทั้ง เขาไปในชั้นหนังสือหยิบหนังสือในแต่ละหมวดขึ้นมาดู เท่า ใต้ดิน บนดิน ภาพที่จะเห็นก็คือพวกเขาอ่านหนังสือกันทั้ง ที่สังเกตุเห็นหนังสือเกือบทั้งหมดเป็นปกแข็งอาบมันเกือบ นั้น ไม่พูดไม่คุย ไม่รู้จริงหรือเท็จประการใด เพราะทริปนี้ ทั้งนั้น ยกเว้นหนังสืองานวิชาการ งานวิจัย ที่ห้องสมุดเล่า ไม่มีเวลาให้ลองไปสำารวจ แต่เมื่อมีโอกาสได้ไปเดินในย่าน นั้นถ่ายเอกสารมา แต่ก็มีสภาพน่าดู น่าจับ น่าสนใจ พลิก ที่คนทุกเพศ ทุกวัย มักมาเดิน เช่น ย่าน ชินชุกุ ย่านอิเคบุ เปิดเข้าไปในแต่ละเล่มสิ่งที่พบก็คือห้องสมุดโรงเรียนระดับ โคโร ในห้างสรรพสินค้า หรือใกล้สถานีรถใต้ดิน มักพบ ร้าน ประถมและมัธยมต้น ไม่เว้นแม้แต่มัธยมปลายก็คือ หนังสือ หนังสือทั้งขนาดเล็กและใหญ่ที่มีคนเข้าสมำ่าเสมอ บางร้าน แต่ละเล่มภาพประกอบหนังสือ ส่วนใหญ่เป็นภาพลักษณะ แน่นจนแทบเดินไม่ได้เมื่อเดินเข้าในร้านหนังสือ บางร้าน การ์ตูนสไตล์ญี่ปุ่น ผมตามเข้าไปดูในหนังสือประกอบการ มีหนังสือถึง 3 – 4 ชั้น และเป็นหนังสือใหม่ และหนังสือ เรียนของนักเรียนญี่ปุ่น เกือบทุกเล่มมีลักษณะตรงกันกับ มือสองเยอะมาก ตรงนี้คงเป็นเครื่องพิสูจน์ได้ว่ามีคนญี่ปุ่น หนังสือในห้องสมุดคือมีภาพประกอบเป็นลักษณะการ์ตูน จำานวนมากพาตัวเองเข้าไปสู่โลกของหนังสือ ถึงแม้วันนี้ เช่นกัน โลกของเทคโนโลยี มีหนังสือออนไลน์ อ่านโดยผ่าน ipad ในการศึกษาดูงานครั้งนี้ ผมได้มีโอกาสดี คือได้มีโอ หรือการเล่นเกมส์ผ่านโทรศัพท์มือถือ (เหมือนในบ้านเราที่ กาสสังเกตุการสอนในสาระสังคมศึกษา วิชาประวัติศาสตร์ เรามักพบว่า เมื่อขึ้นรถไฟฟ้า หรือนั่งที่ใด ไม่เว้นแต่ในร้าน สิ่งที่ได้สังเกตุพบในการจัดการเรียนการสอนของครูก็คือ อาหารขณะนั่งรับประทานกับครอบครัว เรามักพบภาพต่าง เด็กนักเรียนจะถูกฝึกและเรียนรู้ว่าจะสามารถหาคำาตอบ คนก็ต่างงัดเอาโทรศัพท์มือถือขึ้นมาเล่นเกมส์ หรือพิมพ์พูด เรื่องราวต่าง ๆ ได้จากการค้นคว้าจากหนังสือ การสังเกตุ คุยผ่านเทคโนโลยีดังกล่าวแบบไม่ลืมหูลืมตาโดยไม่คุยกับผู้ เด็กจึงตระหนักถึงความสำาคัญของการค้นคว้าหาสิ่งใหม่ ๆ ร่วมรับประทานอาหาร) ทำาไมชาวญี่ปุ่นจึงนักอ่านหนังสือ และเพลิดเพลินกับการเปิดโลกทัศน์ของตนเองด้วยการอ่าน อย่างนั้นเป็นข้อสงสัยที่ผมอยากจะค้นหา เท่าที่สอบถามครูและผู้บริหารพบว่าคนญี่ปุ่นรักการเรียน เมื่อมีผมได้โอกาสเขาไปเยี่ยมศึกษา ดูงานในสถาน รู้ นอกจากจะถูกฝึกการอ่านอย่างหนักจากครู โรงเรียนแล้ว
  • 6. วารสารสำ านั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ข ต 1 ครอบครัว อีกทั้งในห้องสมุดประจำาตำาบล หมู่บ้านจะมีมุม อีก 2 ฉบับคือ กฎหมายส่งเสริมวัฒนธรรมด้านตัวหนังสือ หนังสือสำาหรับเด็กเป็นมุมที่คึกคักมักมีเด็ก ๆ ไปนั่งอ่านอยู่ และสิ่งพิมพ์ และกฎหมายส่งเสริมวัฒนธรรมการเขียนคำา เสมอ จึงเป็นการสร้างนิสัยรักการอ่าน ให้กับเด็กมาอย่าง แค่เพียงตัวอย่างที่ค้นพบดังกล่าวนั่นแสดงว่าทุกภาคส่วน ตลอดแนว ร่วมมือกันอย่างจริงจังทั้ง ครอบครัว บ้าน ชุมชน โรงเรียน ดังนั้น ภาพที่ชาวญี่ปุ่นทุกเพศทุกวัย อ่านหนังสือ สถานศึกษา ท้องถิ่น กระทรวงการศึกษา วัฒนธรรม กีฬา ในสถานที่ต่าง ๆ หรือภาพร้านหนังสือโดยเฉพาะบริเวณ วิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (Ministry of Education, สถานีรถไฟแน่นขนัดไปด้วยผู้คน คงเป็นที่มาจากการที่ Culture, Sports, Science and Technology: MEXT) เด็กนักเรียน เยาวชนได้ถูกบ่มเพาะมาตลอดเมื่อเข้าสู่การ รวมจนถึ ง รั ฐ บาลทำ า งานกั น อย่ า งสอดรั บ กั น ทำ า ให้ ก าร ทำางาน เขาก็ยังคงศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเพื่อเพิ่มทักษะ ปลูกฝังการรักการอ่านของประชาชนชาวญี่ปุ่นหยั่งลึกลง ความรู้ความชำานาญในสาขาอาชีพ เพื่อพัฒนาทักษะการ ในสายเลือดของประชาชนแบบยั่งยืน ทำาให้ชาวญี่ปุ่นมี ทำางาน ติดตามความก้าวหน้าของวงการต่างๆ หรืออ่าน ทัศนคติที่ดีมากต่อการอ่าน ไม่เห็นว่าเป็นการเรียน ไม่ใช่ ตำาราฝึกภาษาต่างประเทศ แม้กระทั่งบางคนที่ต้องการพัก ภาระ แต่เป็นการหาข้อมูลเพื่อพัฒนาตนเอง เป็นการเรียนรู้ ผ่อนก็ยังอ่านหนังสือการ์ตูนหรือหนังสืออื่น ๆ ที่เกี่ยวกับ ที่ต้องกระทำาตลอดชีวิต ทำาให้มีอำานาจในการแข่งขัน สร้าง งานอดิเรก โอกาส สร้างความสำาเร็จ เพราะสังคมญี่ปุ่นประเมินค่าที่สติ ทำาไมชาวญี่ปุ่นจึงเป็นนักอ่าน นักศึกษา ค้นคว้า ปัญญา ความสามารถและประสบการณ์ มิใช่ที่ความรู้แบบ ไม่หยุดนิ่งเช่นนั้น หากแต่ดูจากข้อมูลที่กล่าวมาเฉพาะที่เรา ฉาบฉวยหรือความมั่งคั่งทางวัตถุ ที่สำาคัญการอ่านมาก สังเกตุและพบเห็นมาประมวล หลังจากกลับมาเมืองไทยผม อ่านองค์ความรู้อื่น ๆ ทั่วโลกทำาให้คนญี่ปุ่นซึ่งเป็นนักต่อย ลองค้นคว้าต่อไปว่านโยบายส่งเสริมการอ่านของนโยบาย อดนวัตกรรมสามารถคิด ดัดแปลง นำาผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ มา “ ของรัฐบาลให้การสนับสนุนการอ่านชัดเจนมีการออกกฏ ต่อยอด พัฒนาได้ดียิ่งขึ้น ประเทศญี่ปุ่นจึงสามารถพัฒนา หมายเกี่ยวกับห้องสมุด มีการ เป็นประเทศชั้นนำาของโลกในเวลา ออกกฎหมายห้องสมุดโรงเรียน การที่เด็กไทยติดเกมส์ ใช้เวลาว่างไป อั น รวดเร็ ว อย่ า งและประสบผล (School Library Law) ที่กำา กับสิ่งฟุ่มเฟือย เป็นนักวัตถุนิยม และ สำาเร็จเป็นที่ประจักษ์ หนดให้โรงเรียนซึ่งมี จำานวน จากการประเมินพบว่าเด็กไทยมีทักษะ สุดท้ายจากสิ่งที่พบเมื่อมอง ห้องเรียนมากกว่า 12 ห้องต้อง เกี่ยวกับการวิเคราะห์น้อยมาก ทั้งนี้ เขาแล้ ว ย้ อ นกลั บ มาดู บ้ า นเรา มีบรรณารักษ์ประจำาห้องสมุด เนื่องมาจากการขาดวัตถุดิบ” การที่เด็กไทยติดเกมส์ ใช้เวลาว่าง ภายในตั้งแต่ปี ค.ศ. 2003 คือ ห้องสมุดประชาชนขนาดเล็ก ไปกับสิ่งฟุ่มเฟือย เป็นนักวัตถุนิยม และจากการประเมิน สำาหรับเด็ก ที่เรียกว่า Bunko จัดตั้งและดำาเนินการโดย พบว่าเด็กไทยมีทักษะเกี่ยวกับการวิเคราะห์น้อยมาก ทั้งนี้ อาสาสมัครที่เป็นบุคคล หรือกลุ่มเอกชน ซึ่งส่วนใหญ่เป็น เนื่องมาจากการขาดวัตถุดิบ หรือขาดอาหารสมองเพื่อเสริม แม่บ้านที่อาสาสมัครเปิดบ้านตนเอง ออกเงินและบริหารเอง การคิดวิเคราะห์ ซึ่งสิ่งดังกล่าวต้องสะสม เพิ่มพูนและ บางแห่งเจ้าของ เป็นข้าราชการเกษียณ ซึ่งนำาเงินบำาเหน็จ มีรากฐานมาจากการอ่านนั่นเอง กระทรวงศึกษาธิการ ของตนมาดำาเนินการ นอกจากนี้สภาการศึกษาของทุกเมือง รัฐบาล คงต้องมีนโยบายด้านการอ่านที่ชัดเจน มิใช่ จังหวัด จัดห้องสมุดและสนับสนุนงบประมาณเกี่ยวกับ เพียงปีหนึ่ง ๆ จัดงานสัปดาห์หนังสือแห่งชาติ เพียงครั้ง ห้องสมุดของท้องถิ่นเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สอดรับประสาน หรือสองครั้ง เท่านั้น นโยบายด้านการอ่านต้องต่อเนื่อง กับนโยบายของรัฐบาลที่จัดให้มีสภาส่งเสริมการอ่านหนังสือ จริงจัง บทเรียนความสำาเร็จของญี่ปุ่นเราสามารถนำามา แห่งประเทศญี่ปุ่น (Japan Council for Promotion of ต่อยอดให้เด็กไทยเป็นนักอ่าน นักค้นคว้า และนักพัฒนา Book Reading) มีห้องสมุดนานาชาติด้านวรรณกรรมเด็ก นวัตกรรมได้ในอนาคตและหากยังไม่มีหน่วยงานใดเริ่ม (The International Library of Children’s Literature: พวกเราคงต้องมาเริ่มต้นปลูกฝังนิสัยการอ่านให้กับตัวเรา ILCL) ตั้งอยู่ที่ Ueno Park กรุงโตเกียว รวมทั้งในปี ค.ศ. คนใกล้ตัวเราก่อน คุณว่าดีไหม 2005 รัฐบาลออกกฎหมายเกี่ยวกับการส่งเสริมการอ่าน
  • 7. ว า ร ส า ร ส ำ า น ั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ขต 1 ๖ สวัสดี ครับ เพื่อนครูและพี่น้องบุคลากรทางการ ศึกษาทุกท่านครับ พบกันอีกครั้งนะครับใน ฉบับนี้ จากฉบับที่แล้วผมได้นำาเสนอเรื่องของทิศทางการจัดการ กุลจิตต์ รัชดาศิวะกุล ศึกษาของสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปี ๒๕๕๕ ผอ.กลุ่มนโยบายและแผน เพื่อให้โรงเรียนสามารถใช้เป็นแนวทางในการจัดทำาแผนปฏิบัติการ ประจำาปี (งบประมาณหรือปีการศึกษา) และเพื่อให้ทุกท่านได้เห็นความชัดเจนเป็นกรอบในการบริหารและจัดการศึกษา นะครับ ฉบับนี้ขออนุญาตนำาเรียน ทิศทางในการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘ ของสำานักงานเขตพื้นที่ การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต ๑ และทิศทาง จุดเน้น ๕. ครูและบุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียนมีจิตสำานึก การจัดการศึกษาของสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถม เห็นคุณค่าการสืบสานศิลปวัฒนธรรมและภูมิใจใน ศึกษาลพบุรี เขต ๑ ปี ๒๕๕๕ ของเราดังนี้ ครับ ความเป็นไทย W วิสัยทัศน์ ๖. ครูและบุคลากรทางการศึกษาและผู้เรียนมีจิตสำานึก ลพบุรีมหานครแห่งการเรียนรู้ เชิดชูคุณธรรม จริยธรรม เห็นคุณค่าทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม น้อมนำาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เทียบเคียงคุณภาพ ๗. สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสถานศึกษา เป็นองค์กร มาตรฐานสากล บนพื้นฐานความเป็นไทย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม แห่งการเรียนรู้ มีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ W พันธกิจ ตามหลักธรรมาภิบาล ๑. พัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการศึกษา W กลยุทธ์ ๒. ส่งเสริมให้ประชากรวัยเรียนทุกคนได้รับการศึกษา กลยุทธ์ อย่างทั่วถึง ประเด็นกลยุทธ์ กลยุทธ์ ๓. พัฒนาคุณภาพการศึกษาสู่มาตรฐานสากล ๑. มหานครแห่งการ ๑. ขยายโอกาสทางการศึกษาให้ทั่วถึงครอบคลุม ๔. ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรม ตามหลักปรัชญาของ เรียนรู้ และพัฒนาผู้เรียนอย่างเต็มตามศักยภาพ เศรษฐกิจพอเพียงและความเป็นไทย ๒. ส่งเสริมและพัฒนาครูและบุคลากรทางการ ๕. ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ศึกษาขององค์กรให้เป็นบุคคลแห่งการเรียนรู้ ๓. พั ฒ นาประสิ ท ธิ ภ าพการบริ ห ารจั ด การ W ค่านิยมองค์กร ตามหลักธรรมาภิบาล เรียนรู้และพัฒนา ก้าวหน้าบริการ ทำางานเป็น ๒. คุณภาพมาตรฐาน ๔. พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษา ทีม ซื่อสัตย์และรับผิดชอบ สากล ตามหลักสูตรสู่สากล W เป้าประสงค์ ๓. ป รั ช ญ า ข อ ง ๕. ปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและส่งเสริมการดำาเนิน เศรษฐกิจพอเพียง ชีวิต ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ๑. ผู้เรียนทุกคนได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง ๔. ความเป็นไทย ๖. ปลูกฝังและสร้างจิตสำานึกในความเป็นไทย และได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ ๕. อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ๗. ส่งเสริมการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและ ๒. ผู้เรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน สิ่งแวดล้อม เทียบเท่าระดับสากล ๓. ผู้เรียนมีคุณธรรมนำาความรู้ ดำาเนินชีวิตตามหลัก W จุดเน้น สพป.ลบ 1 ปี 2555 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จุดเน้นที่ ๑ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5 กลุ่มสาระวิชาหลักเพิ่มขึ้น ๔. ครู ผู้บริหารและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการพัฒนา อย่างน้อย ร้อยละ 5 ตามสมรรถนะที่กำาหนด จุดเน้นที่ ๒ เตรียมความพร้อมด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา ตามหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ
  • 8. วารสารสำ านั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ข ต 1 จุดเน้นที่ ๓ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคน อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น จุดเน้นที่ ๔ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ทุกคน อ่านคล่อง เขียนคล่อง คิดเลขคล่องและมีทักษะการคิดขั้นพื้นฐาน จุดเน้นที่ ๕ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ทุกคน อ่านออก เขียนได้ คิดเลขเป็น จุดเน้นที่ ๖ สร้างทางเลือกในการเรียนรู้ที่เน้นให้ประชากรวัยเรียนทุกคนเข้า ถึงโอกาสทางการศึกษาอย่างทั่วถึง ลดอัตราการออกกลางคัน ศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จุดเน้นที่ ๗ นักเรียน ครู และสถานศึกษาทุกแห่ง ได้รับการพัฒนาให้มี คุณภาพสอดคล้องกับอัตลักษณ์ จุดเน้นที่ ๘ เพิ่มโอกาสการเข้าถึงการเรียนรู้และเพิ่มทักษะด้วย ICT ให้ นักเรียนทุกคน จุดเน้นที่ ๙ นักเรียนทุกคนได้รับการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษเพื่อพัฒนา คุณภาพสู่มาตรฐานสากล จุดเน้นที่ ๑๐ นักเรียนทุกคนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ 8 ประการและมี ความกตัญญู จุดเน้นที่ ๑๑ นักเรียนทุกคนตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ถึง ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ได้เรียนรู้และเตรียมอนาคตตนเองได้ จุดเน้นที่ ๑๒ นักเรียน ครู ผู้บริหาร และบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการ พัฒนา เตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียนมีภูมิคุ้มกันต่อ การเปลี่ยนแปลง และสังคมพหุวัฒนธรรม จุดเน้นที่ ๑๓ สถานศึ ก ษาทุ ก แห่ ง มี ร ะบบประกั น คุ ณ ภาพภายในที่ เข้ ม แข็ ง และได้ รั บ การรั บ รองจากการประเมิ น คุ ณ ภาพ ภายนอก ตลอดจนการพัฒนาสถานศึกษาในพื้นที่ชนบท โรงเรียนขยายโอกาส และ โรงเรียนสู่มาตรฐานสากล จุดเน้นที่ ๑๔ สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาผ่านการประเมินคุณภาพตามเกณฑ์ มาตรฐานของสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา จากทิศทางการพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน ระยะ ๔ ปี (พ.ศ. ๒๕๕๕-๒๕๕๘) และจุดเน้นทั้ง ๑๔ จุดเน้น ประจำาปี ๒๕๕๕ ของสำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาของเรา หากเราได้ ใช้เป็นกรอบในการทำางานผมเชื่อว่าเราสามารถตอบโจทย์ ทุกโจทย์ และจุดเน้นทั้ง ๑๐ จุดเน้น ของ สำานักงานคณะ กรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานได้อย่างแน่นอน อย่างไรก็ตาม ต้องรบกวนท่านดูรายละเอียดเพิ่มเติมของตัวชี้วัดในแต่ละจุด เน้นจาก www.infolop1.net นะครับ ผมหวังเป็นอย่างยิ่งว่าทุกท่านคงมีความมั่นใจมาก ขึ้นในการดำาเนินงานเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของ สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาของเราให้สูงขึ้นคุ้มค่ากับการ ทุ่มเทอย่างเข้มข้นของทุก ๆ ท่านนะครับ ไว้พบกันฉบับหน้า นะครับ เป็นกำาลังใจให้ทุก ๆ ท่านครับ สวัสดีครับ...
  • 9. ว า ร ส า ร ส ำ า น ั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ขต 1 ๘ การเตรียมความพร้อมสู่ประชาคมอาเซียน 2558 สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ อาเซียน (ASEAN : Association of South East Asian Nations) มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย สิงคโปร์ บรูไน กำาพล อินชมฤทธิ์ รองผอ.สพป.ลพบุรี เขต 1 ลาว กัมพูชา เวียดนาม และพม่า สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) 4. ครูใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ (ICT) ในการ ซึ่งเป็นหน่วยงานที่รับผิดชอบการจัดการศึกษา ได้ดำาเนินงาน จัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล และการเผยแพร่ โครงการเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน ได้แก่ ผลงานทั้งระบบออนไลน์ (Online) และออฟไลน์ โครงการพัฒนาสู่ประชาคมอาเซียน : Spirit of ASEAN โดยคัด (Offline) เลือกโรงเรียนเข้าร่วมโครงการเพื่อพัฒนาให้มีความพร้อมและ 5. ครูใช้เทคนิคและวิธีสอนที่หลากหลายในการจัดการเรียนรู้ ศักยภาพ ในการจัดการเรียนรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน 6. ครูสามารถแลกเปลี่ยนประสบการณ์ ในการจัดการ สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ในฐานะหน่วยงานต้นสังกัด เรียนรู้ทั้งในประเทศ และในกลุ่มประชาคมอาเซียน และสถานศึกษาจะต้องเตรียมการในเรื่องการพัฒนาผู้บริหาร 7. ครูใช้ประสบการณ์การวิจัย สื่อ นวัตกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน การศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษา ครูผู้สอน และบุคลากรทางการศึกษา อย่างต่อเนื่อง ให้มีความพร้อม สามารถจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดความตระหนัก / ตัวชี้วัดคุณภาพนักเรียน เห็นความสำาคัญ มีเจตคติที่ดีเกี่ยวกับอาเซียน และมีทักษะพร้อม 1. ด้านความรู้ ที่จะเข้าสู่การเป็นส่วนหนึ่งของอาเซียน โดยสามารถจัดการเรียนรู้ 1.1 มีความรู้เกี่ยวกับประเทศอาเซียน ในด้านการเมือง ได้หลากหลาย โดยเฉพาะกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา และด้านสังคมและวัฒนธรรม ศาสนาและวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1.2 มีความรู้เกี่ยวกับกฎบัตรอาเซียน พุทธศักราช 2551 ซึ่ง สพฐ. ได้กำาหนดตัวชี้วัดคุณภาพผู้บริหาร 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ คุณภาพครู และคุณภาพนักเรียน ดังนี้ 2.1 ทักษะพื้นฐาน ได้แก่ สื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา / ตัวชี้วัดคุณภาพผู้บริหาร (ภาษาอังกฤษ และภาษาประเทศในอาเซียนอีก 1. ผูบริหารมีวสยทัศน์ในการจัดการศึกษาสูประชาคมอาเซียน ้ ิั ่ อย่างน้อย 1 ภาษา) มีทักษะในการใช้เทคโนโลยี 2. ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารจัดการภายใต้ สารสนเทศอย่างสร้างสรรค์ มีความสามารถใน สภาวการณ์จำากัดได้อย่างมีประสิทธิภาพ การแก้ปัญหาอย่างสันติวิธี ในการทำางานและอยู่ 3. ผู้บริหารมีทักษะในการใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร ร่วมกับผู้อื่น และทักษะในการใช้ ICT 2.2 ทั ก ษะพลเมื อ ง/ความรั บ ผิ ด ชอบทางสั ง คม 4. ผู้บริหารมีความสามารถในการประสานภาคีเครือข่าย ได้แก่ เคารพและยอมรับความหลากหลายทาง เพื่อความร่วมมือการจัดการเรียนรู้ วัฒนธรรม มีภาวะผู้นำา เห็นปัญหาสังคมและ 5. ผู้บริหารมีความสามารถในการนิเทศ ติดตามผลการ ลงมือทำาเพื่อนำาไปสู่การเปลี่ยนแปลง ดำาเนินงาน 2.3 ทักษะการเรียนรู้และพัฒนาตน ได้แก่ เห็นคุณค่า 6. ผู้ บ ริ ห ารมี ค วามสามารถในการใช้ เ ทคโนโลยี ใ นการ ความเป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน(สิทธิเด็ก/สิทธิมนุษยชน) ติดต่อสื่อสารกับภาคีเครือข่ายในกลุ่มประชาคมอาเซียน มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยน / ตัวชี้วัดคุณภาพครู เรียนรู้ มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์อย่างมี 1. ครูผู้สอนมีความรู้เกี่ยวกับประชาคมอาเซียน เหตุผล มีวิธีคิดอย่างถูกต้อง มีความสามารถในการ 2. ครูสามารถใช้ภาษาต่างประเทศในการสื่อสาร จัดการ/ควบคุมตนเอง (การวางแผนการดำาเนินการ 3. ครูใช้หนังสือ ตำาราเรียน และสื่อที่เป็นภาษาต่างประเทศ ตามแผนประเมินผล) ในการจัดการเรียนรู้ (Online) 3. ด้านเจตคติ ได้แก่ มีความภูมิใจในความเป็นไทย/
  • 10. วารสารสำ านั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ข ต 1 ความเป็ น อาเซี ย นร่ ว มกั น รั บ ผิ ด ชอบต่ อ ประชาคม กิจกรรมสำาคัญที่ดำาเนินการภายในโรงเรียนได้แก่ จัดตั้งศูนย์ อาเซียน มีความตระหนักในความเป็นอาเซียน มีวิถีชีวิต อาเซียนศึกษา ปีการศึกษา 2553-2554 โรงเรียนอนุบาลลพบุรี ประชาธิปไตย ยึดมั่นในหลักธรรมาภิบาล (คารวะธรรม ซึ่งเป็นโรงเรียนในโครงการพัฒนาประชาคมสู่อาเซียน : Spirit ปัญญาธรรม สามัคคีธรรม) สันติวิธี/สันติธรรม ยอมรับ of ASEAN มีผลการประเมินโครงการในภาพรวมได้ระดับดี ความแตกต่างในการนับถือศาสนา และดำาเนินชีวิตตาม เยี่ยมทุกกิจกรรม และยังได้สร้างเครือข่ายให้กับโรงเรียนในกลุ่ม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนทั้ง 19 กลุ่ม รวมแล้ว 58 โรงเรียน ปีงบประมาณ สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศีกษาลพบุรี เขต 1 2555 สพป.ลพบุรี เขต 1 ได้อนุมัติโครงการในการพัฒนาสถาน ศึกษาให้ก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลก ได้แก่ โครงการพัฒนาโรงเรียนสู่วิถีอาเซียน (ASEAN way) มีเป้าหมาย ร้อยละ 100ของโรงเรียนสังกัด สพป.ลพบุรี 1 มีความพร้อมใน การก้าวเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ในปี พ.ศ. 2558 เอกสารอ้างอิง : ๑. แนวการจัดการเรียนรู้สู่ประชาคมอาเซียน ระดับ ประถมศึกษา สำานักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ 2554 ๒. เอกสารการดำาเนินงานเตรียมความพร้อมเพื่อเข้าสู่ การเป็นประชาคมอาเซียนของสำานักงานเขตพื้นที่ (สพป.ลพบุรี เขต 1) ได้กำาหนดวิสัยทัศน์ ไว้ว่า “ลพบุรีมหานคร การศึกษาและสถานศึกษา โดย ดร.มาลี สืบกระแส แห่งการเรียนรู้ เชิดชูคุณธรรมจริยธรรม น้อมนำาปรัชญา ผอ.กลุ่มนิเทศฯ สพป.ลบ1 เศรษฐกิจพอเพียง เทียบเคียงคุณภาพมาตรฐานสากล บนพื้น ฐานความเป็นไทย ใส่ใจสิ่งแวดล้อม” จะเห็นได้ว่าวิสัยทัศน์ ตระหนั ก ถึ ง ความสำา คั ญ ในการพั ฒ นาสถานศึ ก ษาให้ ก้ า วเข้ า สู่ ประชาคมอาเซียนและประชาคมโลกสนองต่อการเข้าสู่อาเซียน ในปีงบประมาณ 2550 ได้จัดทำา MOU ในการยกระดับคุณภาพ การศึกษา ระหว่าง สพป.ลพบุรี เขต 1 กับ INSTITUT AMINUD- DIN BAKI: Malaysia โดยการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ร่วมกัน ใน เรื่อง Improving teacher, principal and supervisor qual- ity ปีงบประมาณ 2551 ร่วมมือกับ British Council และ สพฐ. จัดโครงการ The Asian Dialogues : Curriculum developt- ment Program. ขึ้นเป็นการพัฒนาหลักสูตร Global Citizen โรงเรียนใน สพป.ลพบุรี เขต 1 เข้าร่วมโครงการ จำานวน 10 โรงเรียน ปีการศึกษา 2553 สพป.ลพบุรี เขต 1 ได้รับคัดเลือกให้ ร่วมโครงการพัฒนาประชาคมสู่อาเซียน : Spirit of ASEAN เป็น 1 ใน 30 เขตพื้นที่การศึกษาที่ได้เข้าร่วมโครงการ โดยมีโรงเรียน อนุบาลลพบุรี และโรงเรียนพิบูลวิทยาลัย เป็นโรงเรียนในโครงการ
  • 11. ว า ร ส า ร ส ำ า น ั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ขต 1 ๑๐ กราชของคนไทย ว ัน ภ า ษาไทยแหงช ติ วนเอ า ั วิบูลย์ ศรีโสภณ ศึกษานิเทศก์ สพป.ลพบุรี เขต ๑ ๒๙ กรกฎาคม ของทุกปี เป็นวันที่พวกเราชาวไทยทุกคน ระดับโรงเรียน จะหั น มารำ า ลึ ก ถึ ง คุ ณ ค่ า ภาษาไทยภาษาที่ แ สดงความเป็ น โรงเรียนเมืองใหม่ (ชลอราษฎร์รังสฤษฏ์) เอกราชที่ภาคภูมิใจมาตั้งบรรพกาล จวบถึงปัจจุบัน ได้รับการคัดเลือกจากสถาบันภาษาไทย สพฐ. ย้อนไปถึงบรรพกาล ๒๙ กรกฎาคม ๒๕๐๕ ๕ ทศวรรษ ให้เป็นโรงเรียนที่ส่งเสริมการจัดการเรียนการ ที่ผ่านมา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จไปร่วมการประชุม สอนภาษาไทย รางวัลชมเชย ระดับประเทศ และ สัมมนา ปัญหาภาษาไทยกับนักวิชาการ ณ คณะอักษรศาสตร์ สถาบันภาษาไทย สพฐ. ให้โรงเรียนเมืองใหม่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พระองค์ท่านทรงเป็นห่วงด้านการ (ชลอราษฎร์รังสฤษฏ์) ไปจัดนิทรรศการ ณ ใช้ภาษา และทรงมีพระราชดำารัสตอนหนึ่งว่า โรงแรมสตาร์ จ.ระยอง ตั้งแต่วันที่ ๒๖-๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๕ และเชิญ ผอ.รร.นายอาคม เรามีโชคดีที่มีภาษาของตนเองแต่โบราณ เตียประเสริฐ รอง ผอ.รร. สุกิจกุล กินจำาปา จึงสมควรอย่างยิ่ง ที่จะรักษาไว้ ปัญหาเฉพาะ อ.จินตนา แย้มยิ้ม อ.ธนนันท์ ถนอมวงศ์ ไป ในด้านการรักษาภาษานี้ มีหลายประการ ร่วมรับโล่ พร้อมเงินรางวัล ๕,๐๐๐ บาท จาก อย่างหนึ่ง ต้องรักษาให้บริสุทธิ์ ในการออกเสียง รองเลขาฯ สพฐ. ดร.เบญจลักษณ์ นำ้าฟ้า คือ ให้ออกเสียงถูกต้อง ชัดเจน อีกอย่างหนึ่ง ต้องรักษาให้บริสุทธิ์ ในวิธีใช้ หมายความว่า วิธีใช้คำาประกอบประโยค นับเป็นปัญหาที่สำาคัญ ปัญหาที่สาม คือ ความรำ่ารวยในคำาภาษาไทย ซึ่งพวกเรานึกว่าไม่รำ่ารวยพอ จึงต้องมีบัญญัติศัพท์ใหม่ใช้ ด้วยมูลเหตุของกระแสพระราชดำารัส ครั้งนั้น จึงเป็น ปฐมบท กำาหนดให้รัฐบาลมีมติเมื่อวันที่ ๑๓ กรกฎาคม ๒๕๔๒ ให้ ทุกวันที่ ๒๙ กรกฎาคมของทุกปี เป็น “วันภาษาไทยแห่งชาติ” สำาหรับ “วันภาษาไทยแห่งชาติ” ปี ๒๕๕๕ ปีนี้ สพป.ลพบุรี เขต ๑ ของเราก็ต้องร่วมกันชื่นชมยินดี ทั้งใน ระดับโรงเรียนและระดับนักเรียนดังนี้
  • 12. ๑๑ วารสารสำ านั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ข ต 1 ระดับนักเรียน และช่วงเวลา ๑๓.๐๐-๑๖.๐๐ น. ได้รับเกียรติ โรงเรียนบรรจงรัตน์ ได้รับรางวัลที่ ๓ อีกครั้งเป็นวิทยากรร่วมเสวนา “ภาษาไทย ภาษาชาติ” ระดับประเทศ ในการแข่งขันเรียงความคัดลายมือ กับ คุณแม่ขวัญจิต ศรีประจันต์ ศิลปินแห่งชาติ สาขา นักเรียนชั้น ป.๓ คือ ดญ.วนัชพร เตชะวัฒนวรรณา เพลงพื้นบ้าน อีแซว และยังเป็นพิธีกรดำาเนินกิจกรรม ด.ญ.สิริวรรณ ภู่พลายงาม นักเรียนชั้น ป.๓ พร้อม ตลอด ๔ วัน ๒๖-๒๙ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ผอ.วาม ดุลยากร และคณะครู ผู้ปกครองนักเรียน ไปรับโล่ เงิน รางวัล เนื่องใน วันภาษาไทย แห่งชาติ ปี ๒๕๕๕ จากรองเลขาฯ สพฐ. ดร.เบญจลักษณ์ นำ้าฟ้า ณ โรงแรมสตาร์ สำาหรับวันภาษาไทยแห่งชาติ ปี ๒๕๕๕ ของ สพป.ลพบุรี เขต ๑ มีโรงเรียนต่างๆจัดกิจกรรมอย่าง หลากหลาย มากมาย น่าสนใจ จึงจะขอยกตัวอย่างบาง กิจกรรมของโรงเรียนบางโรงดังนี้ ลำาดับ โรงเรียน กิจกรรม ๑ บ้านวังจั่น วาดภาพประกอบคำา ระดับเขตพื้นที่ ๒ บ้านหนองแก เขียนชื่อตามรูป ศน.วิบูลย์ ศรีโสภณ ได้รับการแต่งตั้งเป็น ๓ วัดหัวสำาโรง การขับเสภา คณะทำางานเนื่องในวันภาษาไทย ปี ๒๕๕๕ ของ ๔ วัดคงคาราม วาดภาพสุภาษิต สถาบันภาษาไทย สพฐ. ให้เป็นวิทยากรร่วมเสวนา ๕ วัดพานิชธรรมิการาม สุดยอดคนเก่งภาษาไทย หัวข้อ “ภาษาไทย ภาษาชาติ” กับคุณนุ้ย ๖ บ้านเขาเตียน ลำาตัด/เปิดพจนานุกรม สุจิรา อรุณพิพัฒน์ อดีตนางสาวไทย ปี ๒๕๔๔ ๗ โคกลำาพานวิทยา วาดภาพสุภาษิตคำาพังเพย และคุณเปรมสุดา สันติวัฒนา พิธีกร ฝน ฟ้า อากาศ ๘ วัดใดยาว แฟนพันธุ์แท้ภาษาไทย ทางช่อง ๗ สี ในวันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ช่วง ๙ วัดบ้านดาบ ยกสยามแฟนพันธุ์แท้ภาษาไทย เวลา ๑๐.๐๐-๑๒.๐๐น. ๑๐ วัดหนองมน ขับเสภาขุนช้างขุนแผน และไม่ว่าวันใด ๆ เดือนใด ๆ ก็ขอฝากครูทุกคน ให้สร้าง ความตระหนัก ให้นักเรียนรักความเป็นไทย ถือว่าทุกวัน เป็นวันภาษาไทยแห่งชาติ ด้วยครับ
  • 13. ว า ร ส า ร ส ำ า น ั ก ง า น เ ข ต พ ื ้ น ท ี ่ ก า ร ศ ึ ก ษ า ป ร ะ ถ ม ศ ึ ก ษ า ล พ บ ุ ร ี เ ขต 1 ๑๒ อันเนื่องมาจาก...ประชาคมอาเซียน โดย ทีมข่าวประชาสัมพันธ์ สพป.ลบ1 อีกไม่นานเกินรอ .. เราก็จะก้าวเข้าสู่การเป็นสมาคมอาเซียนกันอย่างเต็มรูปแบบ คือในปี พ.ศ. 2558 ที่ประชากร ในประเทศสมาชิกอาเซียนทั้ง 10 ประเทศ สามารถเดินทางเข้าออก โยกย้าย ไป–มา ทำามาหากินในอาชีพต่าง ๆ ที่กำาหนด ไว้ในกลุ่มประเทศสมาชิกได้ ซึ่งแน่นอนภาษากลางที่ต้องใช้และจำาเป็นสำาหรับชีวิตประจำาวัน คือ ภาษาอังกฤษ วันนี้ ทีมข่าว ประชาสัมพันธ์ จึงขอนำาบทสนทนาแบบพื่นฐานที่จำาเป็นต้องใช้ในชีวิตประจำาวันมาฝากกัน เริ่มตั้งแต่การพบกัน และกล่าว ทักทายและจากลากัน ถือเป็นแพทเทิร์นก็ว่าได้... ตามนี้เลยค่ะ การทักทายหรือสวัสดีในภาษาไทย (Greeting) เมื่อเราพบกันจะมีการทักทายพูดคุย เริ่มต้นด้วยประโยคเหล่านี้ ทุกครั้ง ซึ่งมีดังต่อไปนี้ - Good morning (กึด มอร์หนิ่ง) คำาทักทายตอนเช้าถึงเที่ยง - Good afternoon (กึด อ่าฟเทอร์นูน) คำาทักทายตอนหลังเที่ยงถึงก่อนพลบคำ่าหรือเย็น - Good evening (กึด อีฟเว็นหนิ่ง) คำาทักทายตอนเย็นหรือพลบคำ่า - Hello ! (เฮลโล่) หรือ Hullo ! (ฮัลโล่) หรือ Hi ! (ไฮ) ใช้กล่าวสวัสดีทั่วไปไม่จำากัดเวลา สามารถ เอ่ยชื่อบุคคลตามหลังคำากล่าวสวัสดีเหล่านี้ได้ เช่น Hi, Jenny. และมักสนทนาต่อด้วยประโยคต่อดังนี้ - How do you do? (ฮาว ดู ยู ดู) สบายดีหรือ ใช้เมื่อพบกันครั้งแรกในชีวิต พูดตอบคำาเดิม คือ How do you do ? พบกันครั้งต่อไปให้ทักว่า - How are you ? (ฮาว อาร์ ยู) สบายดีหรือ ใช้ในโอกาสทั่วไป คำาตอบ คือ I’ m fine หรือ well หรือ quite well. (ไอแอมไฟน์ หรือ อามไฟน์ หรือ เวล หรือ ไคว้ เวล) สบายดี ส่วนกรณีน ี้คือ สนิทสนมกัน เมื่อเจอกันก็ทักทายคุยกันต่อเนื่อง เช่น - Not well. (น้อท เวล) ไม่ค่อยสบาย หรือ - I have a head ache. (ไอ แฮฟว์ อะ เฮ้ด เอ่ค) รู้สึกปวดศีรษะ - I have the flu. (ไอ แฮฟว์ .เธอะ ฟลู) ไข้หวัดใหญ่ หรือ - Not so well, thanks. หรือ I have a cold. (น้อท โซ เวล, แธ้งส์. หรือ ไอ แฮบว์ อะ โคล) ไม่สบายค่ะ เป็นหวัด หรือประโยคอื่น ๆ ตามแต่จะสนทนา หลังจากนั้นก็จะเป็นการกล่าวลาเมื่อจบบทสนทนา สำาหรับผู้ที่เพิ่งรู้จักกัน เมื่อจะยุติการสนทนา นิยมใช้ - It was nice meeting you (อิท วอส ไนซ มีททิง ยู) ยินดีที่รู้จัก และอีกฝ่ายหนึ่งก็จะตอบว่า - Nice meeting you ,too Goodbye (ไนซ มีททิง ยู ทู กึดบาย) ยินดีที่ได้รู้จักเช่นกัน ถ้ากรณีที่รู้จักกันอยู่แล้ว มักจะใช้คำาพูดดังนี้ - I really must be off now. (ไอ เรลลิ มัส บี อ๊อฟ นาว) ฉันต้องไปแล้วล่ะ - I must go now. (ไอ มัส โก นาว) ฉันต้องไปแล้วล่ะ และตามด้วยคำาอาลาดังต่อไปนี้ (จะใช้คำาใดก็ได้ความหมายอยู่ที่นำ้าเสียงและการแสดงออก) Goodbye กึด บ๋าย Bye – bye บาย บาย Good night กึด ไนท์ (เฉพาะเวลากลางคืน) So long โซ ลอง See you ซี ยู See you later ซี ยู เลเทอร์ See you again ซี ยู อะเกน See you around ซี ยู อะราวด์ Take care เทค แคร์ All the best ออล เดอะ เบสท์ ค่ะ..ก็ลองฝึกดูนะคะ คงไม่ยากจนเกินไป โอกาสหน้าจะนำาบทสนทนาในเรื่องอื่น ๆ ที่จำาเป็นต้องใช้มานำาเสนอ ต่อค่ะ Goodbye …