SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
รายงงาน
เรื่อง 4 MAT
จัดทาโดย
นายพิทักษ์ เทียมไธสง รหัสนักศึกษา 600113189042
นายสิทธิศักดิ์ เจริญธนสโรช รหัสนักศึกษา 600113189046
นางสาวนิชาดา ไชยบุบผา รหัสนักศึกษา 600113189053
นางสาวอัมพิกา สงพิมพ์ รหัสนักศึกษา 600113189061
นักศึกษาชั้นปีที่ 3
เสนอ
อาจารย์ ดร.เบญจพร วรรณูปถัมภ์
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 1023101 การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน
สาขาวิชาเทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์เพื่อนการศึกษา
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562
ก
คานา
เอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นเอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การจัดการเรียนรู้
และการจัดการชั้นเรียน (Learning and Classroom Management) สาหรับนักศึกษาหรือผู้สนใจ
ความรู้ในด้านการพัฒนาการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน โดยคณะผู้จัดทาได้รวบรวมและเรียบ
เรียงเนื้อหาให้กระชับ และเข้าใจง่าย
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารเล่มนี้จะยังเป็นประโยชน์กับนักศึกษา และผู้สนใจที่จะพัฒนาตนเองในด้าน
การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี
คณะผู้จัดทา
มิถุนายน 2562
ข
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา……………………………………………………………………………………………………………………….…….. ก
ประวัติความเป็นมาของการเรียนการสอนแบบ 4 MAT System..................................................
รูปแบบการเรียนการสอนตามวัฏจักรการเรียนรู้ 4 MAT…………………………………………………………
วัตถุประสงค์ของรูปแบบ.............................................................................................................
กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ................................................................................................
ผลที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนรู้ตามรูปแบบ.................................................................................
สรุปการสอนแบบ 4 MAT...........................................................................................................
อ้างอิง…………………………………………………………………………………………....................................... ค
ก
1
1
2
2
3
3
ค
1
ประวัติความเป็นมาของการเรียนการสอนแบบ 4 MAT System
เบอร์นิส แมคคาร์ธี (Bernice McCarthy) ผู้พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบนี้เป็นคนแรกเป็นนัก
การศึกษาชาวอเมริกันที่มีประสบการณ์ในการสอนหลายระดับชั้นเรียนมาเป็นเวลานาน รวมทั้งการเป็นที่
ปรึกษาให้คาแนะนาเด็กทั้งหลาย ทาให้เธอเกิดความเข้าใจและมั่นใจว่าเด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกันทั้ง
ทางด้านสติปัญญา การรับรู้ และการเรียนรู้อย่างสิ้นเชิง จึงเป็นแรงผลักดันให้เกิดงานวิจัยของเธอขึ้นมา
ในปี ค.ศ. 1979 แมคคาร์ธี ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยชิ้นใหญ่จากบริษัท แมคโดนัลด์ ทาวิจัยเกี่ยวกับ
องค์ประกอบทางสมองและสไตล์การเรียนรู้ของเด็ก นั่นคือจุดเริ่มต้นในการพัฒนาแนวคิดที่ตอบสนอง
ความแตกต่างระหว่างบุคคลให้ชัดเจนและเป็นภาคปฏิบัติมากขึ้น แมคคาร์ธี ได้กลั่นกรองรูปแบบ
การศึกษาเกี่ยวกับสไตล์การเรียนรู้หลายรูปแบบ ในที่สุดก็ได้ดึงเอารูปแบบการเรียนรู้ของ เดวิด คอล์บ
(David Kolb) ปราชญ์ทางการศึกษาชาวอเมริกัน มาเป็นแนวความคิดในเรื่องการจัดกระบวนการเรียนรู้
ที่คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นสาคัญตามทฤษฎีของคอล์บ (1976) นั้น จากการศึกษาพบว่ามี
2 มิติ ที่มีความสาคัญกับการเรียนรู้คือ การรับรู้ และกระบวนการ กล่าวว่าการเรียนเกิดจากการที่คน
ทั้งหลายรับรู้แล้ว นาเข้าไปจัดกระบวนการในสิ่งที่ตนรับรู้มาอย่างไร ถ้าจะลองนึกถึงตัวอย่าง คนที่มีความ
แตกต่างกันมากๆ ก็ได้แก่คนที่รับรู้ผ่านรูปธรรม แต่คนอีกประเภทหนึ่งรับรู้ผ่านนามธรรม คนสองกลุ่มนี้
สร้างความคิดแตกต่างกันในเรื่องเดียวกัน
รูปแบบการเรียนการสอนตามวัฏจักรการเรียนรู้ 4 MAT
แม็คคาร์ธี (Mc Carthy) พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนนี้ขึ้นจากแนวคิดของโคล์บ (Kolb)
ซึ่งอธิบายว่า การเรียนรู้เกิดขึ้นจากความสัมพันธ์ของ 2 มิติ คือ การรับรู้ (Perception) และกระบวนการ
จัดกระทาข้อมูล (Processing) การรับรู้ของบุคคลมี 2 ช่องทาง คือ ผ่านทางประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรม
(Concrete) และผ่านทางความคิดรวบยอดที่เป็นนามธรรม (Abstract Conceptualization)
ส่วนกระบวนการจัดกระทากับข้อมูลที่รับรู้นั้นมี 2 ลักษณะเช่นเดียวกัน คือ การลงมือทดลองปฏิบัติ และ
การสังเกตโดยใช้ความคิดอย่างไตร่ตรอง เมื่อลากเส้นตรงของช่องทางการรับรู้ 2 ช่องทาง และเส้นตรง
ของกระบวนการจัดกระทาข้อมูลเพื่อให้เกิดการเรียนรู้มาตัดกัน แล้วเขียนเป็นวงกลมจะเกิดเกิดพื้นที่เป็น
4 ส่วนของวงกลม ซึ่งสามารถแทนลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียน 4 แบบ คือ
รูปที่ 1 ชื่อภาพ : 4mat-model
ที่มา : https://teachingthem.com/2012/06/08/4mat-learning-styles-of-biblical-characters-
biblical-case-study/
2
แบบที่ 1 เป็นผู้เรียนที่ถนัดจินตนาการ (Imaginative Learners) เพราะมีการรับรู้ผ่านทาง
ประสบการณ์เป็นรูปธรรม และใช้กระบวนการจัดกระทาข้อมูลด้วยการสังเกตอย่างไตร่ตรอง
แบบที่ 2 เป็นผู้เรียนที่ถนัดการวิเคราะห์ (Analytic Learners) เพราะมีการรับรู้ผ่านทางความคิดรวบ
ยอดที่เป็นนามธรรม และชอบใช้กระบวนการสังเกตอย่างไตร่ตรอง
แบบที่ 3 เป็นผู้เรียนที่ถนัดใช้สามัญสานึก (Common Sense Learners) เพราะมีการรับรู้ผ่าน
ความคิดรวบยอดที่เป็นนามธรรม และชอบใช้กระบวนการลงมือทา
แบบที่ 4 เป็นผู้เรียนที่ถนัดในการปรับเปลี่ยน (Dynamic Learners) เพราะมีการรับรู้ผ่านทาง
ประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรม และชอบใช้กระบวนการลงมือปฏิบัติ มาประกอบกับแนวคิดเกี่ยวกับ
การทางานของสมองทั้งสองซีก ทาให้เกิดเป็นแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้คาถามหลัก
4 คาถาม คือ ทาไม (Why ?) อะไร (What ?) อย่างไร (How ?) และถ้า (If ?) ซึ่งสามารถพัฒนาผู้เรียนที่มี
ลักษณะการเรียนรู้แตกต่างกันทั้ง 4 แบบ ให้สามารถใช้สมองทุกส่วนของตนในการพัฒนาศักยภาพของตน
ได้อย่างเต็มที่
วัตถุประสงค์ของรูปแบบ
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีโอกาสได้ใช้สมองทุกส่วน (Whole Brain) ทั้งซึกซ้ายและขวา ในการสร้าง
ความรู้ความเข้าใจให้แก่ตนเอง
กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ
การเรียนการสอนตามวัฏจักรการเรียนรู้ 4 MAT มีขั้นตอนดาเนินการ 8 ขั้น ดังนี้
ขั้นที่ 1 การสร้างประสบการณ์ ผู้สอนเริ่มต้นจากการจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของ
เรื่องที่เรียนด้วยตนเอง ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถตอบคาถามได้ว่า ทาไม (Why) ตนจึงต้องเรียนรู้เรื่องนี้
ขั้นที่ 2 การวิเคราะห์ประสบการณ์ หรือสะท้อนความคิดจากประสบการณ์ ช่วยให้ผู้เรียนเกิด
ความตระหนักรู้ และยอมรับความสาคัญของเรื่องที่เรียน
ขั้นที่ 3 การพัฒนาประสบการณ์ เป็นความคิดรวบยอดหรือแนวคิดเมื่อผู้เรียนเห็นคุณค่าของ
เรื่องที่เรียนแล้ว ผู้สอนจึงจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถสร้างความคิดรวบยอดขึ้นด้วย
ตนเอง
ขั้นที่ 4 การพัฒนาความรู้ความคิด เมื่อผู้เรียนมีประสบการณ์ และเกิดความคิดรอบยอดหรือ
แนวความคิดพอสมควรแล้ว ผู้สอนจึงกระตุ้นให้ผู้เรียนพัฒนาความรู้ความคิดของตนให้กว้างขวางและ
ลึกซึ้งขึ้น โดยการให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ที่หลากหลาย การเรียนรู้ในขั้นที่ 3 และ
4 นี้คือการตอบคาถามว่า สิ่งที่ได้เรียนรู้คือ อะไร (What)
ขั้นที่ 5 การปฏิบัติตามแนวคิดที่ได้เรียนรู้ ในขั้นนี้ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนาความรู้ความคิดที่
ได้รับจากการเรียนรู้ในชั้นที่ 3 – 4 มาทดลองปฏิบัติจริง และศึกษาผลทีเกิดขึ้น
ขั้นที่ 6 การสร้างสรรค์ชิ้นงานของตนเอง จากการปฏิบัติตามแนวคิดที่ได้เรียนรู้ในขั้นที่ 5
ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ถึงจุดเด่นจุดด้อยของแนวคิด ความเข้าใจแนวคิดนั้นจะกระจ่างขึ้น ในขั้นนี้ผู้สอน
ควรกระตุ้นให้ผู้เรียนพัฒนาความสามารถของตนโดยนาความรู้ความเข้าใจนั้นไปใช้หรือปรับประยุกต์ใช้ใน
การสร้างชิ้นงานที่เป็นความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง ดังนั้นคาถามหลักที่ใช้ในชั้นที่ 5 – 6
ก็คือจะทาอย่างไร (How)
ขั้นที่ 7 การวิเคราะห์ผลงานและแนวทางในการนาไปประยุกต์ใช้ เมื่อผู้เรียนได้สร้างสรรค์
ชิ้นงานของตนตามความถนัดแล้ว ผู้สอนควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงผลงานของตน
3
ชื่นชมกับความสาเร็จ และเรียนรู้ที่จะวิพากษ์วิจารณ์อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งรับฟังข้อวิพากษ์วิจารณ์เพื่อ
การปรับปรุงงานของตนให้ดีขึ้น และการนาไปประยุกต์ใช้ต่อไป
ขั้นที่ 8 การแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด ขั้นนี้เป็นขั้นของการขยายขอบข่ายของความรู้ โดยการ
แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดแก่กันและกันและร่วมกันอภิปรายเพื่อการนาการเรียนรู้ไปเชื่อมโยงกับชีวิตจริง
และอนาคต คาถามหลักในการอภิปรายก็คือ “ถ้า.....?” (If) ซึ่งอาจนาไปสู่การเปิดประเด็นใหม่สาหรับ
ผู้เรียนในการเริ่มต้นวัฏจักรของการเรียนรู้ในเรื่องใหม่ต่อไป
ผลที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนรู้ตามรูปแบบ
ผู้เรียนจะสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเองในเรื่องที่เรียน จะเกิดความรู้ความเข้าใจและนาความรู้
ความเข้าใจนั้นไปใช้ได้ และสามารถสร้างผลงานที่เป็นความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง รวมทั้งได้พัฒนา
ทักษะกระบวนการต่างๆ อีกจานวนมาก
สรุปไดวา วิธีการสอนแบบ 4 MAT เปนวิธีการสอนที่คานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล ในการ
เรียนรู โดยแบงผูเรียนออกเปน 4 แบบ ครูและนักเรียนจะดาเนินกิจกรรมรวมกันจนครบ 8 ขั้นตอน ของ
กิจกรรมที่เนนการใชสมองทั้งสองซีกอยางสมดุล มีการจัดกิจกรรมอยางหลากหลายและยืดหยุน เหมาะสม
กับนักเรียนทุกแบบ ทาใหการเรียนรูเปนไปอยางมีความสุข โดยไดเรียนรูจากประสบการณจริง มีการคิดวิ
เคราะห ไดลงมือปฏิบัติจริง คนพบความรูดวยตนเอง และประยุกตเปนแนวคิดที่สัมพันธ เชื่อมโยงกับชีวิต
จริง นาไปสูทักษะทางสังคมอันดีงามในตัวผูเรียน
ค
อ้างอิง
ธัญมา หลายพัฒน. 2550. วิธีการสอนแบบ 4 MAT ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องเพศศึกษา
ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่5. สาขาวิชาสุขศึกษา : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปริญญานิพนธ.
กลุ่มวิชาหลักสูตรและการสอน. (2562). การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน.
บุรีรัมย์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.

More Related Content

What's hot

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์ รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์ phatthra jampathong
 
ทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอนทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอนPornpichit55
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ StadSandee Toearsa
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้poms0077
 
ใบงานท 3 ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท  3  ขอบข_ายและประเภทของโครงงานใบงานท  3  ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 ขอบข_ายและประเภทของโครงงานnoonnarinthip
 
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtการจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtthitinanmim115
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้yuapawan
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญอรรถกร ใจชาย
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้Sujitra ComEdu
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางKunwater Tianmongkon
 
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8ฟาน. ฟฟฟ
 
ภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmapภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี MindmapAnn Pawinee
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีParichart Ampon
 

What's hot (18)

สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์ รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
รูปแบบการสอนเน้นประสบการณ์
 
ทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอนทักษะและเทคนิคการสอน
ทักษะและเทคนิคการสอน
 
การจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stadการจัดการเรียนรู้ Stad
การจัดการเรียนรู้ Stad
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
ใบงานท 3 ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท  3  ขอบข_ายและประเภทของโครงงานใบงานท  3  ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
ใบงานท 3 ขอบข_ายและประเภทของโครงงาน
 
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgtการจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
การจัดการเรียนการสอนแบบ Tgt
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
การเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
 
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้สื่อและแหล่งการเรียนรู้
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
ใบงานคอมพิวเตอร์ ใบที่2 8
 
ภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmapภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmap
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณีรูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
รูปแบบการสอนดร.ทิศนา แขมณี
 
บทที่ 4 new
บทที่ 4 newบทที่ 4 new
บทที่ 4 new
 

Similar to 4 MAT Leaning System DOC

ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2Paranee Srikhampaen
 
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...Kroo Keng
 
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนการพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนSweetsak Samnakwong
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมporpia
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai kruwanida
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์citylong117
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8Niraporn Pousiri
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
โครงงานคอมหมูจี้
โครงงานคอมหมูจี้โครงงานคอมหมูจี้
โครงงานคอมหมูจี้Supichaya Tamaneewan
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาทssuser21a057
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8noeiinoii
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553Nattapon
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...apiwat97
 

Similar to 4 MAT Leaning System DOC (20)

อัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติอัตราส่วนตรีโกณมิติ
อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
M4
M4M4
M4
 
ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2ความหมายของโครงงาน2
ความหมายของโครงงาน2
 
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามกระบวนการสืบเสาะหาความรู้ (5E) เรื่อง เทคโนโ...
 
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนการพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
การพัฒนาครูด้านการดำเนินงานตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
Wanida 134 cai
Wanida 134 cai Wanida 134 cai
Wanida 134 cai
 
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์การสอบแบบวิทยาศสาตร์
การสอบแบบวิทยาศสาตร์
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
ใบงาน2 8
ใบงาน2 8ใบงาน2 8
ใบงาน2 8
 
โครงงานคอมหมูจี้
โครงงานคอมหมูจี้โครงงานคอมหมูจี้
โครงงานคอมหมูจี้
 
ระบบประสาท
ระบบประสาทระบบประสาท
ระบบประสาท
 
ใบงานท 2-8
ใบงานท   2-8ใบงานท   2-8
ใบงานท 2-8
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2553
 
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
วิจัยเรื่องผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ประกอบด้วย การแก้ปัญห...
 
4mat
4mat4mat
4mat
 

4 MAT Leaning System DOC

  • 1. รายงงาน เรื่อง 4 MAT จัดทาโดย นายพิทักษ์ เทียมไธสง รหัสนักศึกษา 600113189042 นายสิทธิศักดิ์ เจริญธนสโรช รหัสนักศึกษา 600113189046 นางสาวนิชาดา ไชยบุบผา รหัสนักศึกษา 600113189053 นางสาวอัมพิกา สงพิมพ์ รหัสนักศึกษา 600113189061 นักศึกษาชั้นปีที่ 3 เสนอ อาจารย์ ดร.เบญจพร วรรณูปถัมภ์ รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา 1023101 การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน สาขาวิชาเทคโนโลยีและคอมพิวเตอร์เพื่อนการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2562
  • 2. ก คานา เอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นเอกสารประกอบการเรียนรายวิชา การจัดการเรียนรู้ และการจัดการชั้นเรียน (Learning and Classroom Management) สาหรับนักศึกษาหรือผู้สนใจ ความรู้ในด้านการพัฒนาการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน โดยคณะผู้จัดทาได้รวบรวมและเรียบ เรียงเนื้อหาให้กระชับ และเข้าใจง่าย หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารเล่มนี้จะยังเป็นประโยชน์กับนักศึกษา และผู้สนใจที่จะพัฒนาตนเองในด้าน การพัฒนาการจัดการเรียนการสอนได้เป็นอย่างดี คณะผู้จัดทา มิถุนายน 2562
  • 3. ข สารบัญ เรื่อง หน้า คานา……………………………………………………………………………………………………………………….…….. ก ประวัติความเป็นมาของการเรียนการสอนแบบ 4 MAT System.................................................. รูปแบบการเรียนการสอนตามวัฏจักรการเรียนรู้ 4 MAT………………………………………………………… วัตถุประสงค์ของรูปแบบ............................................................................................................. กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ................................................................................................ ผลที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนรู้ตามรูปแบบ................................................................................. สรุปการสอนแบบ 4 MAT........................................................................................................... อ้างอิง…………………………………………………………………………………………....................................... ค ก 1 1 2 2 3 3 ค
  • 4. 1 ประวัติความเป็นมาของการเรียนการสอนแบบ 4 MAT System เบอร์นิส แมคคาร์ธี (Bernice McCarthy) ผู้พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนแบบนี้เป็นคนแรกเป็นนัก การศึกษาชาวอเมริกันที่มีประสบการณ์ในการสอนหลายระดับชั้นเรียนมาเป็นเวลานาน รวมทั้งการเป็นที่ ปรึกษาให้คาแนะนาเด็กทั้งหลาย ทาให้เธอเกิดความเข้าใจและมั่นใจว่าเด็กแต่ละคนมีความแตกต่างกันทั้ง ทางด้านสติปัญญา การรับรู้ และการเรียนรู้อย่างสิ้นเชิง จึงเป็นแรงผลักดันให้เกิดงานวิจัยของเธอขึ้นมา ในปี ค.ศ. 1979 แมคคาร์ธี ได้รับทุนสนับสนุนงานวิจัยชิ้นใหญ่จากบริษัท แมคโดนัลด์ ทาวิจัยเกี่ยวกับ องค์ประกอบทางสมองและสไตล์การเรียนรู้ของเด็ก นั่นคือจุดเริ่มต้นในการพัฒนาแนวคิดที่ตอบสนอง ความแตกต่างระหว่างบุคคลให้ชัดเจนและเป็นภาคปฏิบัติมากขึ้น แมคคาร์ธี ได้กลั่นกรองรูปแบบ การศึกษาเกี่ยวกับสไตล์การเรียนรู้หลายรูปแบบ ในที่สุดก็ได้ดึงเอารูปแบบการเรียนรู้ของ เดวิด คอล์บ (David Kolb) ปราชญ์ทางการศึกษาชาวอเมริกัน มาเป็นแนวความคิดในเรื่องการจัดกระบวนการเรียนรู้ ที่คานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นสาคัญตามทฤษฎีของคอล์บ (1976) นั้น จากการศึกษาพบว่ามี 2 มิติ ที่มีความสาคัญกับการเรียนรู้คือ การรับรู้ และกระบวนการ กล่าวว่าการเรียนเกิดจากการที่คน ทั้งหลายรับรู้แล้ว นาเข้าไปจัดกระบวนการในสิ่งที่ตนรับรู้มาอย่างไร ถ้าจะลองนึกถึงตัวอย่าง คนที่มีความ แตกต่างกันมากๆ ก็ได้แก่คนที่รับรู้ผ่านรูปธรรม แต่คนอีกประเภทหนึ่งรับรู้ผ่านนามธรรม คนสองกลุ่มนี้ สร้างความคิดแตกต่างกันในเรื่องเดียวกัน รูปแบบการเรียนการสอนตามวัฏจักรการเรียนรู้ 4 MAT แม็คคาร์ธี (Mc Carthy) พัฒนารูปแบบการเรียนการสอนนี้ขึ้นจากแนวคิดของโคล์บ (Kolb) ซึ่งอธิบายว่า การเรียนรู้เกิดขึ้นจากความสัมพันธ์ของ 2 มิติ คือ การรับรู้ (Perception) และกระบวนการ จัดกระทาข้อมูล (Processing) การรับรู้ของบุคคลมี 2 ช่องทาง คือ ผ่านทางประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรม (Concrete) และผ่านทางความคิดรวบยอดที่เป็นนามธรรม (Abstract Conceptualization) ส่วนกระบวนการจัดกระทากับข้อมูลที่รับรู้นั้นมี 2 ลักษณะเช่นเดียวกัน คือ การลงมือทดลองปฏิบัติ และ การสังเกตโดยใช้ความคิดอย่างไตร่ตรอง เมื่อลากเส้นตรงของช่องทางการรับรู้ 2 ช่องทาง และเส้นตรง ของกระบวนการจัดกระทาข้อมูลเพื่อให้เกิดการเรียนรู้มาตัดกัน แล้วเขียนเป็นวงกลมจะเกิดเกิดพื้นที่เป็น 4 ส่วนของวงกลม ซึ่งสามารถแทนลักษณะการเรียนรู้ของผู้เรียน 4 แบบ คือ รูปที่ 1 ชื่อภาพ : 4mat-model ที่มา : https://teachingthem.com/2012/06/08/4mat-learning-styles-of-biblical-characters- biblical-case-study/
  • 5. 2 แบบที่ 1 เป็นผู้เรียนที่ถนัดจินตนาการ (Imaginative Learners) เพราะมีการรับรู้ผ่านทาง ประสบการณ์เป็นรูปธรรม และใช้กระบวนการจัดกระทาข้อมูลด้วยการสังเกตอย่างไตร่ตรอง แบบที่ 2 เป็นผู้เรียนที่ถนัดการวิเคราะห์ (Analytic Learners) เพราะมีการรับรู้ผ่านทางความคิดรวบ ยอดที่เป็นนามธรรม และชอบใช้กระบวนการสังเกตอย่างไตร่ตรอง แบบที่ 3 เป็นผู้เรียนที่ถนัดใช้สามัญสานึก (Common Sense Learners) เพราะมีการรับรู้ผ่าน ความคิดรวบยอดที่เป็นนามธรรม และชอบใช้กระบวนการลงมือทา แบบที่ 4 เป็นผู้เรียนที่ถนัดในการปรับเปลี่ยน (Dynamic Learners) เพราะมีการรับรู้ผ่านทาง ประสบการณ์ที่เป็นรูปธรรม และชอบใช้กระบวนการลงมือปฏิบัติ มาประกอบกับแนวคิดเกี่ยวกับ การทางานของสมองทั้งสองซีก ทาให้เกิดเป็นแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยใช้คาถามหลัก 4 คาถาม คือ ทาไม (Why ?) อะไร (What ?) อย่างไร (How ?) และถ้า (If ?) ซึ่งสามารถพัฒนาผู้เรียนที่มี ลักษณะการเรียนรู้แตกต่างกันทั้ง 4 แบบ ให้สามารถใช้สมองทุกส่วนของตนในการพัฒนาศักยภาพของตน ได้อย่างเต็มที่ วัตถุประสงค์ของรูปแบบ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีโอกาสได้ใช้สมองทุกส่วน (Whole Brain) ทั้งซึกซ้ายและขวา ในการสร้าง ความรู้ความเข้าใจให้แก่ตนเอง กระบวนการเรียนการสอนของรูปแบบ การเรียนการสอนตามวัฏจักรการเรียนรู้ 4 MAT มีขั้นตอนดาเนินการ 8 ขั้น ดังนี้ ขั้นที่ 1 การสร้างประสบการณ์ ผู้สอนเริ่มต้นจากการจัดประสบการณ์ให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของ เรื่องที่เรียนด้วยตนเอง ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนสามารถตอบคาถามได้ว่า ทาไม (Why) ตนจึงต้องเรียนรู้เรื่องนี้ ขั้นที่ 2 การวิเคราะห์ประสบการณ์ หรือสะท้อนความคิดจากประสบการณ์ ช่วยให้ผู้เรียนเกิด ความตระหนักรู้ และยอมรับความสาคัญของเรื่องที่เรียน ขั้นที่ 3 การพัฒนาประสบการณ์ เป็นความคิดรวบยอดหรือแนวคิดเมื่อผู้เรียนเห็นคุณค่าของ เรื่องที่เรียนแล้ว ผู้สอนจึงจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถสร้างความคิดรวบยอดขึ้นด้วย ตนเอง ขั้นที่ 4 การพัฒนาความรู้ความคิด เมื่อผู้เรียนมีประสบการณ์ และเกิดความคิดรอบยอดหรือ แนวความคิดพอสมควรแล้ว ผู้สอนจึงกระตุ้นให้ผู้เรียนพัฒนาความรู้ความคิดของตนให้กว้างขวางและ ลึกซึ้งขึ้น โดยการให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมจากแหล่งความรู้ที่หลากหลาย การเรียนรู้ในขั้นที่ 3 และ 4 นี้คือการตอบคาถามว่า สิ่งที่ได้เรียนรู้คือ อะไร (What) ขั้นที่ 5 การปฏิบัติตามแนวคิดที่ได้เรียนรู้ ในขั้นนี้ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนนาความรู้ความคิดที่ ได้รับจากการเรียนรู้ในชั้นที่ 3 – 4 มาทดลองปฏิบัติจริง และศึกษาผลทีเกิดขึ้น ขั้นที่ 6 การสร้างสรรค์ชิ้นงานของตนเอง จากการปฏิบัติตามแนวคิดที่ได้เรียนรู้ในขั้นที่ 5 ผู้เรียนจะเกิดการเรียนรู้ถึงจุดเด่นจุดด้อยของแนวคิด ความเข้าใจแนวคิดนั้นจะกระจ่างขึ้น ในขั้นนี้ผู้สอน ควรกระตุ้นให้ผู้เรียนพัฒนาความสามารถของตนโดยนาความรู้ความเข้าใจนั้นไปใช้หรือปรับประยุกต์ใช้ใน การสร้างชิ้นงานที่เป็นความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง ดังนั้นคาถามหลักที่ใช้ในชั้นที่ 5 – 6 ก็คือจะทาอย่างไร (How) ขั้นที่ 7 การวิเคราะห์ผลงานและแนวทางในการนาไปประยุกต์ใช้ เมื่อผู้เรียนได้สร้างสรรค์ ชิ้นงานของตนตามความถนัดแล้ว ผู้สอนควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงผลงานของตน
  • 6. 3 ชื่นชมกับความสาเร็จ และเรียนรู้ที่จะวิพากษ์วิจารณ์อย่างสร้างสรรค์ รวมทั้งรับฟังข้อวิพากษ์วิจารณ์เพื่อ การปรับปรุงงานของตนให้ดีขึ้น และการนาไปประยุกต์ใช้ต่อไป ขั้นที่ 8 การแลกเปลี่ยนความรู้ความคิด ขั้นนี้เป็นขั้นของการขยายขอบข่ายของความรู้ โดยการ แลกเปลี่ยนความรู้ความคิดแก่กันและกันและร่วมกันอภิปรายเพื่อการนาการเรียนรู้ไปเชื่อมโยงกับชีวิตจริง และอนาคต คาถามหลักในการอภิปรายก็คือ “ถ้า.....?” (If) ซึ่งอาจนาไปสู่การเปิดประเด็นใหม่สาหรับ ผู้เรียนในการเริ่มต้นวัฏจักรของการเรียนรู้ในเรื่องใหม่ต่อไป ผลที่ผู้เรียนจะได้รับจากการเรียนรู้ตามรูปแบบ ผู้เรียนจะสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเองในเรื่องที่เรียน จะเกิดความรู้ความเข้าใจและนาความรู้ ความเข้าใจนั้นไปใช้ได้ และสามารถสร้างผลงานที่เป็นความคิดสร้างสรรค์ของตนเอง รวมทั้งได้พัฒนา ทักษะกระบวนการต่างๆ อีกจานวนมาก สรุปไดวา วิธีการสอนแบบ 4 MAT เปนวิธีการสอนที่คานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล ในการ เรียนรู โดยแบงผูเรียนออกเปน 4 แบบ ครูและนักเรียนจะดาเนินกิจกรรมรวมกันจนครบ 8 ขั้นตอน ของ กิจกรรมที่เนนการใชสมองทั้งสองซีกอยางสมดุล มีการจัดกิจกรรมอยางหลากหลายและยืดหยุน เหมาะสม กับนักเรียนทุกแบบ ทาใหการเรียนรูเปนไปอยางมีความสุข โดยไดเรียนรูจากประสบการณจริง มีการคิดวิ เคราะห ไดลงมือปฏิบัติจริง คนพบความรูดวยตนเอง และประยุกตเปนแนวคิดที่สัมพันธ เชื่อมโยงกับชีวิต จริง นาไปสูทักษะทางสังคมอันดีงามในตัวผูเรียน
  • 7. ค อ้างอิง ธัญมา หลายพัฒน. 2550. วิธีการสอนแบบ 4 MAT ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องเพศศึกษา ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่5. สาขาวิชาสุขศึกษา : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. ปริญญานิพนธ. กลุ่มวิชาหลักสูตรและการสอน. (2562). การจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน. บุรีรัมย์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.