SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายและขันตอนการแก้ปัญหา
                 ้
       กระบวนการหรือขั้นตอนที่ใช้ในการแก้ปัญหา เพื่อ
ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ซึ่งปัญหาดังกล่าวจะ
เกี่ยวเนื่องกับการจัดข้อมูล
       การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศมี
ขั้นตอนการปฏิบัติ 4 ขั้นตอน ได้แก่ การวิเคราะห์และกาหนด
รายละเอียดของปัญหา การเลือกเครื่องมือและการออกแบบขึ้น
ตอน การดาเนินการแก้ปญหา และการตรวจสอบและปรับปรุง
                          ั
1. การวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหา     (State
  The Problem)

     - การระบุข้อมูลเข้า
     - การระบุข้อมูลออก
     - การกาหนดวิธีประมวลผล
2. การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี (Tools And
  Algorithm Development)
3. การดาเนินการแก้ปัญหา (Implementation)
    เป็นขั้นตอนที่ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่เลือกไว้การ
แก้ปัญหาดังกล่าวใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยงานขั้นตอนนี้ก็เป็นการใช้
โปรแกรมสาเร็จหรือใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียนโปรแกรมแก้ ปัญหา
4. การตรวจสอบและปรับปรุง           (Refinement)
        หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้วต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าวิธีการนี้
  ให้ผลลัพธ์ที่ถกต้องโดยผู้แก้ปัญหาต้องตรวจสอบว่าขั้นตอนวิธีที่สร้าง
                 ู
  ขึ้นสอดคล้องกับรายละเอียดของปัญหา ในขณะเดียวกันก็ต้องปรับปรุง
  วิธีการเพื่อให้การแก้ปัญหานี้ได้ผลลัพธ์ทดีที่สุด
                                          ี่
อัลกอริทึม
                   (Algorithm)



     ขั้นตอนหรือลาดับการประมวลผลในการแก้ปัญหาใด
ปัญหาหนึ่ง ซึ่ง จะช่วยให้โปรแกรมเมอร์เห็นขั้นตอนของ
การเขียนโปรแกรมง่ายขึ้น
หลักการเขียนอัลกอริทึม

1. เรียงลาดับความสาคัญของงานที่จะทา
2. เขียนออกมาในลักษณะภาษาเขียนสามารถเข้าใจง่าย
3. มีความละเอียดของโครงสร้างพอสมควร
การเขียนผังงาน หรือ โฟลว์ชาร์ต

   ผังแสดงขั้นตอนและลาดับการทางานต่าง ๆ ใน
โปรแกรมโดยแสดงในรูปแบบของสัญลักษณ์แทนการ
ทางาน
ประเภทของโฟลว์ชาร์ต
      โดยทั่วไปแล้วผังงานทางคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็น
   ประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภท ได้แก่
1. โฟลว์ชาร์ตระบบ ( System Flow Chart )
2. โฟลว์ชาร์ตโปรแกรมโมดูล ( Modular Program Flow chart )
3. โฟลว์ชาร์ตการเขียนโปรแกรม ( Programming Flow chart )
สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนโฟลว์ชาร์ต

      จุดเริ่มต้น / สิ้นสุดของโปรแกรม

      ลูกศรแสดงทิศทางการทางานของโปรแกรมและการ
      ไหลของข้อมูล
     ใช้แสดงคาสั่งในการประมวลผล หรือการกาหนดค่า
     ข้อมูลให้กบตัวแปร
               ั
      แสดงการอ่านข้อมูลจากหน่วยเก็บข้อมูลสารองเข้าสู่
      หน่วยความจาหลักภายใน เครื่องหรือการแสดงผลลัพธ์จากการ
      ประมวลผลออกมา
การตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อตัดสินใจ โดยจะมีเส้นออก
จารรูปเพื่อแสดงทิศทางการทางานต่อไป เงื่อนไขเป็น
จริงหรือเป็นเท็จ
 แสดงผลหรือรายงานที่ถูกสร้างออกมา

แสดงจุดเชื่อมต่อของผังงานภายใน หรือเป็นที่บรรจบของ
เส้นหลายเส้นที่มาจากหลายทิศทางเพื่อจะไปสู่ การทางาน
อย่างใดอย่างหนึ่งที่เหมือนกัน

 การขึ้นหน้าใหม่ ในกรณีทผังงานมีความยาวเกิน
                        ี่
 กว่าที่จะแสดงพอในหนึงหน้า
                      ่
รหัสจาลอง
                  (Pseudo Code)


       รหัสจาลองที่ใช้เป็นตัวแทนของอัลกอริทม โดยมีถ้อยคา
                                             ึ
หรือประโยคคาสั่งที่เขียนอยู่ในรูปแบบของภาษาอังกฤษที่ไม่
ขึ้นกับภาษาคอมพิวเตอร์ใดภาษาหนึ่ง การแสดงขั้นตอนวิธีการ
ที่ใช้ภาษาเขียนที่เข้าใจได้ง่าย อาจใช้ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ
ก็ได้ขึ้นอยู่กบความสะดวกของผู้เขียนและกิจกรรมที่จะนาเสนอ
              ั
มักใช้รูปแบบคล้ายประโยคภาษาอังกฤษเพืออธิบายรายละเอียด
                                           ่
ของอัลกอริทึม
หลักการเขียนรหัสจาลอง
1. ถ้อยคาที่ใช้เขียน ใช้ภาษาอังกฤษที่เข้าใจง่าย
2. ในหนึ่งบรรทัด ให้มีเพียงหนึ่งประโยคคาสั่ง
3. ใช้ย่อหน้าให้เป็นประโยชน์ ในการแสดงการควบคุมอย่างเป็น
   สัดส่วน
4. แต่ละประโยคคาสั่งให้เขียนจากบนลงล่าง และมีทางออกทางเดียว
5. กลุ่มของประโยคคาสั่งอาจรวมเป็นหมวดหมู่แล้วเรียกใช้เป็น
   โมดูล
โครงสร้างการเขียนผังงาน

    มีการทาหน้าที่หลักๆ 3 รูปแบบ แต่ละรูปแบบจะมีการ
เรียงลาดับของการทางานในรูปแบบต่างๆ กัน ได้แก่
โครงสร้างแบบลาดับ โครงสร้างแบบทางเลือก และ
โครงสร้างแบบทาซ้า
โครงสร้างการทางานแบบมีทางเลือก
                 ( Selection )
    เป็นโครงสร้างที่ใช้การตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อการทางาน
อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยโครงสร้างแบบนี้จะมีอยู่ด้วยกัน 2
รูปแบบ คือ IF - THEN - ELSE และ IF - THEN
โครงสร้างผังงานแบบมีทางเลือก
 โครงสร้างแบบ IF - THEN - ELSE
โครงสร้างแบบ IF - THEN
โครงสร้างการทางานแบบมีการทางานซ้า

      เป็นโครงสร้างที่มีการประมวลผลกลุมคาสังซ้าหลายครั้ง
                                      ่    ่
ตามลักษณะเงื่อนไขที่กาหนด อาจเรียก การทางานซ้าแบบนี้ได้
อีกแบบว่า การวนลูป ( Looping ) โครงสร้างแบบการทางาน
ซ้านี้จะมีอยู่ 2 ประเภท คือ
• DO WHILE
• DO UNTIL
แสดงโครงสร้างการทางานซ้าแบบ DO WHILE
แสดงโครงสร้างการทางานซ้าแบบ DO UNTIL
สรุปข้อแตกต่างระหว่าง DO WHILE และ DO UNTIL มีดังนี้

       1. DO WHILE ในการทางานครั้งแรกจะต้องมีการ
 ตรวจสอบเงือนไขก่อนทุกครั้ง ก่อนที่จะมีการเข้ลปการทางาน
              ่                               ู
       2. DO UNTIL การทางานครั้งแรกจะยังไม่มีการ
 ตรวจสอบเงือนไข แต่จะเข้าไปทางานในลูปก่อนอย่างน้อย 1
                ่
 ครั้งแล้วจึงจะไปตรวจสอบเงื่อนไข
3. DO WHILE จะมีการเข้าไปทางานในลูปก็ตอเมื่อ ่
ตรวจสอบเงือนไขแล้วพบว่า เงื่อนไขเป็นจริง แต่เมื่อพบว่า
             ่
เงื่อนไขเป็นเท็จ ก็จะออกจากลูปทันที
      4. DO UNTIL จะมีการเข้าไปทางานในลูปก็ต่อเมื่อ
ตรวจสอบเงือนไขแล้วพบว่า เงื่อนไขเป็นเท็จ แต่เมื่อพบว่า
               ่
เงื่อนไขเป็นจริง ก็จะออกจากลูปทันที
โครงสร้างแบบลาดับ
               (Sequence)

   การเขียนให้ทางานจากบนลงล่าง เขียนคาสั่งเป็นบรรทัด
และทาทีละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุด
สมมติให้มีการทางาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คานวณ
และพิมพ์ จะเขียนเป็นผังงาน (Flowchart) ในแบบ
ตามลาดับได้ตามภาพ
สมาชิก
นายสนธยา หงษ์โต
น.ส. ศุภกานต์ มาประเสริฐกุล
น.ส. สิรกาญจน์ เสมคา
        ิ                   ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3
น.ส. สุพิชญา อยู่ฉิม
น.ส. อรทัย วงษ์เอี่ยม
นายบุรพล ชนประเสริฐ

More Related Content

What's hot

แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excelแผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office ExcelKhon Kaen University
 
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2Thawatchai Rustanawan
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5krunuy5
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010MSWORD2010 COMPUTER
 
ง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศ
ง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศ
ง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศgiggle036
 
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ Por Oraya
 
แผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้Ictแผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้IctRachanok Songsang
 
แผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Tool
แผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Toolแผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Tool
แผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend ToolOrasa Deethung
 
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์kruood
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6krunuy5
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศณัฐพล บัวพันธ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2พงศธร ภักดี
 
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226Me'e Mildd
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3พงศธร ภักดี
 
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงานใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงานเทวัญ ภูพานทอง
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่Surapong Jakang
 

What's hot (20)

แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excelแผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
แผนการเรียนรู้การใช้งานโปรแกรม Microsoft Office Excel
 
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
ใบงานเทคโนโลยีสารสนเทศ ม.2
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5
 
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
งานนำเสนอ หน่วยที่ 1 เรื่องที่ 3 การประมวลผลคำโดยใช้ microsoft word 2010
 
Pbl3
Pbl3 Pbl3
Pbl3
 
ง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศ
ง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศ
ง32101 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
คำอธิบายรายวิชา ง 32101 เทคโนโลยี 2
 
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้Ictแผนการเรียนรู้Ict
แผนการเรียนรู้Ict
 
แผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Tool
แผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Toolแผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Tool
แผนการสอน Illurtrator CS4 เรื่อง เครื่องมือ Blend Tool
 
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
กระบวนการแก้ปัญหาด้วยคอมพิวเตอร์
 
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
 
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internetข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
ข้อสอบคอมพิวเตอร์ PowerPoint +internet
 
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ ส่วนประกอบคอมพิวเตอร์ ม.2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
โครงงานคอมพิวเตอร์_604_0226
 
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
แผนการสอน ระบบเครือข่าย ม.3
 
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงานใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
ใบความรู้ เรื่อง รูปแบบรายงานโครงงาน
 
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
แผนคอมฯ ม.3 ใหม่
 
689 2
689 2689 2
689 2
 

Similar to กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2pianojrtk
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)Theruangsit
 
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นเสย ๆๆๆๆ
 
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์kaokhwanjai
 
ประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานPannathat Champakul
 
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007MMp'New Aukkaradet
 

Similar to กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)ผังงาน (Flowchart)
ผังงาน (Flowchart)
 
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้นการเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
การเขียนโปรแกรมเบื้องต้น
 
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 5.1รูปแบบรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Tools
ToolsTools
Tools
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์งานคอมพิวเตอร์
งานคอมพิวเตอร์
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
Flow Chart
Flow ChartFlow Chart
Flow Chart
 
ประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงานประโยชน์ของผังงาน
ประโยชน์ของผังงาน
 
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
Group1 กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ2007
 
คอมทรงสัก1
คอมทรงสัก1คอมทรงสัก1
คอมทรงสัก1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 

More from ABELE Snvip

การเข ยนโปรแกรมโดยใช Net_beans
การเข ยนโปรแกรมโดยใช Net_beansการเข ยนโปรแกรมโดยใช Net_beans
การเข ยนโปรแกรมโดยใช Net_beansABELE Snvip
 
แข่งขัน Spelling bee
แข่งขัน Spelling beeแข่งขัน Spelling bee
แข่งขัน Spelling beeABELE Snvip
 
สรุปโครงการปันน้ำใจ
สรุปโครงการปันน้ำใจสรุปโครงการปันน้ำใจ
สรุปโครงการปันน้ำใจABELE Snvip
 
โครงการปันนำใจ
โครงการปันนำใจโครงการปันนำใจ
โครงการปันนำใจABELE Snvip
 
โครงการปันนำใจ
โครงการปันนำใจโครงการปันนำใจ
โครงการปันนำใจABELE Snvip
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1ABELE Snvip
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลABELE Snvip
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลABELE Snvip
 
Tomy โชว ของเล นใหม_ (2)
Tomy โชว ของเล นใหม_ (2)Tomy โชว ของเล นใหม_ (2)
Tomy โชว ของเล นใหม_ (2)ABELE Snvip
 
ซัมซุงไทยมั่นใจ
ซัมซุงไทยมั่นใจซัมซุงไทยมั่นใจ
ซัมซุงไทยมั่นใจABELE Snvip
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศABELE Snvip
 

More from ABELE Snvip (12)

การเข ยนโปรแกรมโดยใช Net_beans
การเข ยนโปรแกรมโดยใช Net_beansการเข ยนโปรแกรมโดยใช Net_beans
การเข ยนโปรแกรมโดยใช Net_beans
 
แข่งขัน Spelling bee
แข่งขัน Spelling beeแข่งขัน Spelling bee
แข่งขัน Spelling bee
 
สรุปโครงการปันน้ำใจ
สรุปโครงการปันน้ำใจสรุปโครงการปันน้ำใจ
สรุปโครงการปันน้ำใจ
 
โครงการปันนำใจ
โครงการปันนำใจโครงการปันนำใจ
โครงการปันนำใจ
 
โครงการปันนำใจ
โครงการปันนำใจโครงการปันนำใจ
โครงการปันนำใจ
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Google
GoogleGoogle
Google
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
Tomy โชว ของเล นใหม_ (2)
Tomy โชว ของเล นใหม_ (2)Tomy โชว ของเล นใหม_ (2)
Tomy โชว ของเล นใหม_ (2)
 
ซัมซุงไทยมั่นใจ
ซัมซุงไทยมั่นใจซัมซุงไทยมั่นใจ
ซัมซุงไทยมั่นใจ
 
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 

กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

  • 2. ความหมายและขันตอนการแก้ปัญหา ้ กระบวนการหรือขั้นตอนที่ใช้ในการแก้ปัญหา เพื่อ ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ ซึ่งปัญหาดังกล่าวจะ เกี่ยวเนื่องกับการจัดข้อมูล การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศมี ขั้นตอนการปฏิบัติ 4 ขั้นตอน ได้แก่ การวิเคราะห์และกาหนด รายละเอียดของปัญหา การเลือกเครื่องมือและการออกแบบขึ้น ตอน การดาเนินการแก้ปญหา และการตรวจสอบและปรับปรุง ั
  • 3. 1. การวิเคราะห์และกาหนดรายละเอียดของปัญหา (State The Problem) - การระบุข้อมูลเข้า - การระบุข้อมูลออก - การกาหนดวิธีประมวลผล 2. การเลือกเครื่องมือและออกแบบขั้นตอนวิธี (Tools And Algorithm Development)
  • 4. 3. การดาเนินการแก้ปัญหา (Implementation) เป็นขั้นตอนที่ต้องลงมือแก้ปัญหาโดยใช้เครื่องมือที่เลือกไว้การ แก้ปัญหาดังกล่าวใช้คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยงานขั้นตอนนี้ก็เป็นการใช้ โปรแกรมสาเร็จหรือใช้ภาษาคอมพิวเตอร์เขียนโปรแกรมแก้ ปัญหา
  • 5. 4. การตรวจสอบและปรับปรุง (Refinement) หลังจากที่ลงมือแก้ปัญหาแล้วต้องตรวจสอบให้แน่ใจว่าวิธีการนี้ ให้ผลลัพธ์ที่ถกต้องโดยผู้แก้ปัญหาต้องตรวจสอบว่าขั้นตอนวิธีที่สร้าง ู ขึ้นสอดคล้องกับรายละเอียดของปัญหา ในขณะเดียวกันก็ต้องปรับปรุง วิธีการเพื่อให้การแก้ปัญหานี้ได้ผลลัพธ์ทดีที่สุด ี่
  • 6. อัลกอริทึม (Algorithm) ขั้นตอนหรือลาดับการประมวลผลในการแก้ปัญหาใด ปัญหาหนึ่ง ซึ่ง จะช่วยให้โปรแกรมเมอร์เห็นขั้นตอนของ การเขียนโปรแกรมง่ายขึ้น
  • 8. การเขียนผังงาน หรือ โฟลว์ชาร์ต ผังแสดงขั้นตอนและลาดับการทางานต่าง ๆ ใน โปรแกรมโดยแสดงในรูปแบบของสัญลักษณ์แทนการ ทางาน
  • 9. ประเภทของโฟลว์ชาร์ต โดยทั่วไปแล้วผังงานทางคอมพิวเตอร์สามารถแบ่งออกเป็น ประเภทใหญ่ ๆ ได้ 3 ประเภท ได้แก่ 1. โฟลว์ชาร์ตระบบ ( System Flow Chart ) 2. โฟลว์ชาร์ตโปรแกรมโมดูล ( Modular Program Flow chart ) 3. โฟลว์ชาร์ตการเขียนโปรแกรม ( Programming Flow chart )
  • 10. สัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนโฟลว์ชาร์ต จุดเริ่มต้น / สิ้นสุดของโปรแกรม ลูกศรแสดงทิศทางการทางานของโปรแกรมและการ ไหลของข้อมูล ใช้แสดงคาสั่งในการประมวลผล หรือการกาหนดค่า ข้อมูลให้กบตัวแปร ั แสดงการอ่านข้อมูลจากหน่วยเก็บข้อมูลสารองเข้าสู่ หน่วยความจาหลักภายใน เครื่องหรือการแสดงผลลัพธ์จากการ ประมวลผลออกมา
  • 11. การตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อตัดสินใจ โดยจะมีเส้นออก จารรูปเพื่อแสดงทิศทางการทางานต่อไป เงื่อนไขเป็น จริงหรือเป็นเท็จ แสดงผลหรือรายงานที่ถูกสร้างออกมา แสดงจุดเชื่อมต่อของผังงานภายใน หรือเป็นที่บรรจบของ เส้นหลายเส้นที่มาจากหลายทิศทางเพื่อจะไปสู่ การทางาน อย่างใดอย่างหนึ่งที่เหมือนกัน การขึ้นหน้าใหม่ ในกรณีทผังงานมีความยาวเกิน ี่ กว่าที่จะแสดงพอในหนึงหน้า ่
  • 12. รหัสจาลอง (Pseudo Code) รหัสจาลองที่ใช้เป็นตัวแทนของอัลกอริทม โดยมีถ้อยคา ึ หรือประโยคคาสั่งที่เขียนอยู่ในรูปแบบของภาษาอังกฤษที่ไม่ ขึ้นกับภาษาคอมพิวเตอร์ใดภาษาหนึ่ง การแสดงขั้นตอนวิธีการ ที่ใช้ภาษาเขียนที่เข้าใจได้ง่าย อาจใช้ภาษาไทยหรือภาษาอังกฤษ ก็ได้ขึ้นอยู่กบความสะดวกของผู้เขียนและกิจกรรมที่จะนาเสนอ ั มักใช้รูปแบบคล้ายประโยคภาษาอังกฤษเพืออธิบายรายละเอียด ่ ของอัลกอริทึม
  • 13. หลักการเขียนรหัสจาลอง 1. ถ้อยคาที่ใช้เขียน ใช้ภาษาอังกฤษที่เข้าใจง่าย 2. ในหนึ่งบรรทัด ให้มีเพียงหนึ่งประโยคคาสั่ง 3. ใช้ย่อหน้าให้เป็นประโยชน์ ในการแสดงการควบคุมอย่างเป็น สัดส่วน 4. แต่ละประโยคคาสั่งให้เขียนจากบนลงล่าง และมีทางออกทางเดียว 5. กลุ่มของประโยคคาสั่งอาจรวมเป็นหมวดหมู่แล้วเรียกใช้เป็น โมดูล
  • 14. โครงสร้างการเขียนผังงาน มีการทาหน้าที่หลักๆ 3 รูปแบบ แต่ละรูปแบบจะมีการ เรียงลาดับของการทางานในรูปแบบต่างๆ กัน ได้แก่ โครงสร้างแบบลาดับ โครงสร้างแบบทางเลือก และ โครงสร้างแบบทาซ้า
  • 15. โครงสร้างการทางานแบบมีทางเลือก ( Selection ) เป็นโครงสร้างที่ใช้การตรวจสอบเงื่อนไขเพื่อการทางาน อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยโครงสร้างแบบนี้จะมีอยู่ด้วยกัน 2 รูปแบบ คือ IF - THEN - ELSE และ IF - THEN
  • 18. โครงสร้างการทางานแบบมีการทางานซ้า เป็นโครงสร้างที่มีการประมวลผลกลุมคาสังซ้าหลายครั้ง ่ ่ ตามลักษณะเงื่อนไขที่กาหนด อาจเรียก การทางานซ้าแบบนี้ได้ อีกแบบว่า การวนลูป ( Looping ) โครงสร้างแบบการทางาน ซ้านี้จะมีอยู่ 2 ประเภท คือ • DO WHILE • DO UNTIL
  • 21. สรุปข้อแตกต่างระหว่าง DO WHILE และ DO UNTIL มีดังนี้ 1. DO WHILE ในการทางานครั้งแรกจะต้องมีการ ตรวจสอบเงือนไขก่อนทุกครั้ง ก่อนที่จะมีการเข้ลปการทางาน ่ ู 2. DO UNTIL การทางานครั้งแรกจะยังไม่มีการ ตรวจสอบเงือนไข แต่จะเข้าไปทางานในลูปก่อนอย่างน้อย 1 ่ ครั้งแล้วจึงจะไปตรวจสอบเงื่อนไข
  • 22. 3. DO WHILE จะมีการเข้าไปทางานในลูปก็ตอเมื่อ ่ ตรวจสอบเงือนไขแล้วพบว่า เงื่อนไขเป็นจริง แต่เมื่อพบว่า ่ เงื่อนไขเป็นเท็จ ก็จะออกจากลูปทันที 4. DO UNTIL จะมีการเข้าไปทางานในลูปก็ต่อเมื่อ ตรวจสอบเงือนไขแล้วพบว่า เงื่อนไขเป็นเท็จ แต่เมื่อพบว่า ่ เงื่อนไขเป็นจริง ก็จะออกจากลูปทันที
  • 23. โครงสร้างแบบลาดับ (Sequence) การเขียนให้ทางานจากบนลงล่าง เขียนคาสั่งเป็นบรรทัด และทาทีละบรรทัดจากบรรทัดบนสุดลงไปจนถึงบรรทัดล่างสุด สมมติให้มีการทางาน 3 กระบวนการคือ อ่านข้อมูล คานวณ และพิมพ์ จะเขียนเป็นผังงาน (Flowchart) ในแบบ ตามลาดับได้ตามภาพ
  • 24.
  • 25. สมาชิก นายสนธยา หงษ์โต น.ส. ศุภกานต์ มาประเสริฐกุล น.ส. สิรกาญจน์ เสมคา ิ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/3 น.ส. สุพิชญา อยู่ฉิม น.ส. อรทัย วงษ์เอี่ยม นายบุรพล ชนประเสริฐ