SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
รายงาน
   โครงงานเทคโนโลยี “ทีค ั่น หนัง สือ ไฟฉาย”
                       ่


                    จัด ทำา โดย
  1.นายธวัช ชัย             ไหวแก้ว              เลขที่ 16
    2.นางสาวชลดา บัน ลือ ศรีส กุล              เลขที่ 25
            ห้อ ง มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 6/13




                         เสนอ
            ครูเ ขือ นทอง
                   ่               มูล วรรณ์




รายงานนี้เ ป็น ส่ว นหนึ่ง ของการเรีย นรายวิช า การ
            งานอาชีพ และเทคโนโลยี
        ภาคเรีย นที่ 2      ปีก ารศึก ษา 2555
   โรงเรีย นยุพ ราชวิท ยาลัย จัง หวัด เชีย งใหม่


                         คำา นำา
รายงานเล่มนี้เป็นรายงานที่สรุปถึงขั้นตอนการวางแผนจนไปถึง
การดำาเนินงานใน โครงงานการงานอาชีพและเทคโนโลยี ซึ่งออกมา
เสร็จสมบูรณ์ด้วยดี รายงานเล่มนี้ถือว่าเป็นแหล่งและแนวทางให้กับผู้ที่
สนใจในการทำางานโครงงานการงานและเทคโนโลยี ในการค้นคว้า
หาความรู้ เพื่อไปพัฒนาความสามารถหรือแนวทางของตนเองในการ
สร้างผลงานในภายภาคหน้า เพื่อผลงานของผู้ที่ได้ศึกษานั้นมีความถูก
ต้อง ความสมบูรณ์มากขึ้นต่อๆ ไปอีก หรือ ต่อยอดความคิดกับผลงานที่
มีอยู่เดิม สามารถเพิ่มสิ่งแปลกใหม่ หรือ สิ่งที่ทำาให้น่าสนใจมากยิ่งขึ้น
      ขอขอบคุณผู้ที่ให้สนับสนุนในการทำาโครงงานและรายงานเล่มนี้
มาโดยตลอด อาทิเช่น คุณครูผู้ที่ปรึกษาโครงงานที่คอยช่วยให้ความ
เห็นและแนะแนวทางในการประดิษฐ์ผลงานออกมาได้ ขอขอบคุณ
เพื่อนๆ ที่ให้กำาลังใจและช่วยร่วมมือร่วมแรงในการสร้างประดิษฐ์ผล
งานขึ้นมา และที่สำาคัญผู้ปกครองที่ช่วยสนับสนุนกำาลังทรัพย์ในการ
สร้างผลงานขึ้น หากขาดกำาลังทรัพย์ในการสร้างผลงานนั้น ผลงานชิ้น
นี้คงไม่มีวันเสร็จสมบูรณ์อย่างแน่นอน
      สุดท้ายนี้ รายงานเล่มนี้หวังว่ามีประโยชน์ให้กับผู้ที่สนใจอย่างมี
ประโยชน์สูงสุด และรายงานเล่มนี้หวังว่าจะนำาไปใช้ประโยชน์และเป็น
แนวทางในการสร้างสิ่งประดิษฐ์สิ่งที่เป็นนวัตกรรมใหม่หรือต่อยอดจาก
ชิ้นงานที่ประดิษฐ์นั้นดังเดิม
                                                               ผู้จ ัด ทำา
สารบัญ
                                                      หน้า
คำานำา

สารบัญ

บทที่ 1 บทนำา
บทที่ 2 การรวบรวมข้อมูล
บทที่ 3 การเลือกวิธีการ / กรอบแนวคิดในการดำาเนินงาน
บทที่ 4 ผลการปฏิบัติงาน
บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ภาคผนวก
บรรณานุกรม




                          บทที่ 1
บทนำา
1. ชื่อ โครงงานเทคโนโลยี            ที่คั่นหนังสือไฟฉาย
2. ชื่อ ผู้ท ำา โครงงานเทคโนโลยี นายธวัชชัย ไหวแก้ว
                         นางสาวชลดา บันลือศรี
3. ชื่อ ครูท ี่ป รึก ษาโครงงาน      ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
4. ที่ม าและความสำา คัญ ของโครงงาน
         ในสังคมยุคปัจจุบันนั้นมีการรณรงค์ให้อ่านหนังสือกันมาก
  ขึน ซึ่งมีผลการสำารวจมาว่า เด็กในประเทศอ่านหนังสือน้อยมากๆ
    ้
  เพียงปีละ 8 บรรทัดเท่านั้น ซึ่งถือว่าเป็นตัวเลขที่น้อยไม่สำาหรับใน
  ประเทศไทย ประโยชน์ของหนังสือนั้นมีอยู่มากมาย นอกจากจะ
  ได้ความรู้ในเรื่องที่อ่านแล้ว ยังได้ฝึกทักษะในการอ่านเช่น การ
  ย่อความจากในหนังสือ การอ่านจับใจความ การอ่านวิเคราะห์เนื้อ
  เรื่อง ทักษะในการอ่านหนังสือ สามารถอ่านคำาศัพท์ยากๆได้ ซึ่ง
  ทักษะเหล่านี้มีประโยชน์มากในการอ่าน นอกเหนือสิ่งอื่นใด ยังได้
  ความบันเทิง สิ่งจรรโลงใจต่างๆ ที่สามารถให้เราผ่อนคลาย
  ความเครียดได้ ซึ่งหนังสือในอ่านนั้นก็มีหนังสืออยู่หลากหลาย
  ประเภทให้เลือกเช่น หนังสือแนวนวนิยาย แนวประวัติศาสตร์
  แนวอิงวิชาการ แนวชีวประวัติ เป็นต้น ซึ่งหนังแนวเหล่านี้เป็น
  หนังสือที่ให้ประโยชน์ในด้านความรู้แก่ผู้อ่าน และ หนังสือบาง
  ประเภทนั้น ให้ความบันเทิงแก่ผู้อ่าน เช่น หนังสือการ์ตูน หนังสือ
  บันเทิง นิตยสารต่างๆ เป็นต้น เหล่านี้ก็เป็นหนังสือด้วยกันทั้งนั้น


        การอ่านหนังสือในถือว่าเป็นประโยชน์อย่างมากให้กับตัวเอง
  นอกจากได้ประโยชน์ต่อตนเองในการได้ความรู้มาประดับสมอง
  แล้ว ยังสามารถฝึกทักษะในการอ่านเช่นเดียวกัน แต่ในบางที
  สำาหรับคนที่ติดหนังสือ ต้องอ่านหนังสืออยู่ตลอดเวลานั้น บางที
  สถานที่เหล่านั้น ไม่เอื้ออำานวยในการอ่านหนังสือ เพราะความมืด
  นั้นเอง เช่น อ่านบนรถประจำาทางขณะเดินทางตอนกลางคืน
เพราะเราไม่สามารถเปิดอ่านหนังสือในที่มืดได้ และเราจะรบกวน
  ผู้โดยสารที่อยู่ข้างๆ เบาะที่นั่งของเราด้วย ถ้าเราเปิดไฟ ในรถ
  ประจำาทาง ดังนั้นจึงคิดหาวิธีในการสร้างสิ่งประดิษฐ์ ที่สามารถแก้
  ปัญหาและสามารถช่วยให้เหล่านอนหนังสือ หรือผู้ที่ได้อ่าน
  หนังสือนั้น สามารถอ่านหนังสือได้อย่างสมใจ และไม่รบกวนผู้
  โดยสารที่นั่งอยู่ข้างๆเราอีกด้วย


5. จุด มุ่ง หมายในการออกแบบ
        คนที่ติดหนังสือ ต้องอ่านหนังสืออยู่ตลอดเวลานั้น บางที
  สถานที่เหล่านั้น ไม่เอื้ออำานวยในการอ่านหนังสือ เพราะความมืด
  นั้นเอง เช่น อ่านบนรถประจำาทางขณะเดินทางตอนกลางคืน
  เพราะเราไม่สามารถเปิดอ่านหนังสือในที่มืดได้ และเราจะรบกวน
  ผู้โดยสารที่อยู่ข้างๆ เบาะที่นั่งของเราด้วย ถ้าเราเปิดไฟ ในรถ
  ประจำาทาง ดังนั้นจึงคิดหาวิธีในการสร้างสิ่งประดิษฐ์ ที่สามารถแก้
  ปัญหาและสามารถช่วยให้เหล่านอนหนังสือ หรือผู้ที่ได้อ่าน
  หนังสือนั้น สามารถอ่านหนังสือได้อย่างสมใจ และไม่รบกวนผู้
  โดยสารที่นั่งอยู่ข้างๆ เราอีกด้วย


6. นิย ามศัพ ท์เ ฉพาะ (Definition)

  เรา              หมายถึง          ผู้ที่ใช้สิ่งประดิษฐ์นี้
  ผู้โดยสาร        หมายถึง          ผู้โดยสารที่นั่งอยู่ข้างๆ
  สิ่งประดิษฐ์     หมายถึง          ที่คั่นหนังสือไฟฉาย


7. ประโยชน์ท ี่ค าดว่า จะได้ร ับ
  1. สามารถอ่านหนังสือในที่มืดได้
  2. ไม่ไปรบกวนผู้อื่นๆ ในการใช้แสงสว่างในการอ่านหนังสือ
  3. ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค
4. ได้ฝึกทักษะในการทำาโครงงาน




                      บทที่ 2
                  การรวบรวมข้อ มูล
    การจัดทำาโครงงานที่คั่นหนังสือไฟฉาย รายวิชาการงานและ
เทคโนโลยี ผู้จดทำาได้ศึกษาและรวบรวมข้อมูลจาก เอกสาร และ
              ั
บทความรู้ทางอินเตอร์เน็ต ที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย
    1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระ
       การงานอาชีพและเทคโนโลยี
       ช่วงชั้นที่ 4 (มัธยมศึกษาปีที่ 4-6) สาระการออกแบบและ
       เทคโนโลยี
    2. ความรู้เกี่ยวกับโครงงานเทคโนโลยี
    3. หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์ ประเภทเฟอร์นิเจอร์
    4. ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรม Sketchup

    1. หลัก สูต รการศึก ษาขั้น พื้น ฐานพุท ธศัก ราช 2551 กลุ่ม
       สาระการงานอาชีพ และเทคโนโลยี                        ช่ว ง
       ชั้น ที่ 4 (มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 4-6) สาระการออกแบบและ
       เทคโนโลยี
           หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระ
       การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ 4 (มัธยมศึกษาปีที่ 4-6)
ประกอบด้วย มาตรฐานการเรียน รู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียน
รู้ดังนี้(กรมวิชาการ,2551)
  1.1 มาตรฐานการเรีย นรู้ มีด ัง นี้
     ง 2. 1 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี
     ออกแบบและสร้างสิ่งของเครื่องใช้ หรือวิธีการ ตาม
     กระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือก
     ใช้เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่ง
     แวดล้อม และมีส่วนร่วมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน
  1.2 ตัว ชี้ว ัด มีด ัง นี้
     ง 2.1.1 อธิบายและเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่าง
     เทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ
     ง   2.1.2   วิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี
     ง 2.1.3 การสร้างชิ้นงาน หรือถ่ายทอดความคิด ของวิธี
     การเป็นแบบจำาลองความคิดและการรายงานผลโดยใช้
     ซอฟท์แวร์ช่วย ในการออกแบบหรือนำาเสนอผลงาน
     ง 2.1.5 วิเคราะห์และเลือกใช้เทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับ
     ชีวิตประจำาวัน อย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม และสิ่ง
     แวดล้อม และมีการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืนด้วยวิธีการ
     ของเทคโนโลยีสะอาด
  1.3 สาระการเรีย นรู้ มีด ัง นี้
     1.3.1 เทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นๆโดย
     เฉพาะวิทยาศาสตร์
     1.3.2 ระบบเทคโนโลยีประกอบด้วย ตัวป้อน (Input)
     กระบวนการ (Process) ผลลัพธ์ (Output) ทรัพยากร
     ทางเทคโนโลยี (Resources) ปัจจัยที่เอื้อหรือขัดขวาง
     ต่อเทคโนโลยี (Consideration)
1.3.3 การวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยีทำาให้ทราบเกี่ยวกับ
ปัจจัยในด้านต่างๆ ที่มีผลต่อการ แก้ปัญหาหรือสนอง
ความต้องการ
1.3.4 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการ ตาม
กระบวนการเทคโนโลยี จะทำาให้ผู้เรียน ทำางานอย่างเป็น
ระบบ สามารถย้อนกลับมาแก้ไขได้ง่าย
1.3.5 การใช้ซอฟท์แวร์ช่วยในการออกแบบหรือนำา
เสนอผลงาน มีประโยชน์ในการช่วย ร่างภาพ ทำาภาพ 2
มิติ และ 3 มิติ
1.3.6 การพัฒนาสิ่งของเครื่องใช้ ต้องคำานึงถึง หลักการ
วิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น
1.3.7 หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น เป็นการ
วิเคราะห์จุดมุ่งหมายของ การ ออกแบบประกอบด้วย ชิ้น
งานนี้ใช้ทำาอะไร ทำาไมถึงต้องมีชิ้นงานนี้ ใครเป็นผู้ใช้
ใช้ที่ไหน เมื่อไรจึงใช้ วิธีการ ที่ทำาให้ชิ้นงานนี้ทำางานได้
ตามวัตถุประสงค์
1.3.8 ภาพฉาย เป็นภาพแสดงรายละเอียด ของชิ้นงาน
ประกอบด้วยภาพด้านหน้า ด้านข้าง ด้านบน แสดงขนาด
และหน่วยวัด เพื่อนำาไปสร้างชิ้นงาน
1.3.9 ความคิดสร้างสรรค์มี 4 ลักษณะ ประกอบด้วย
ความคิดริเริ่ม ความคล่องในการคิด ความยืดหยุ่นในการ
คิด และความคิดละเอียดลออ
1.3.10 ความคิดแปลกใหม่ที่ได้ ต้องไม่ละเมิดความคิดผู้
อื่น
1.3.11 ความคิดแปลกใหม่เป็นการสร้างนวัตกรรมที่อาจ
นำาไปสู่การจดลิขสิทธิ์ หรือสิทธิบัตร การวิเคราะห์ผลดี
ผลเสีย การประเมิน และการตัดสินใจเพื่อเลือกใช้
เทคโนโลยี ที่เหมาะสม
1.3.12 การเลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่างสร้างสรรค์
       โดยการเลือกสิ่งของ เครื่องใช้ที่เป็นมิตรกับชีวิต สังคม
       สิ่งแวดล้อม
       1.3.13 เทคโนโลยีสะอาดเป็นการจัดการเทคโนโลยีที่
       ยั่งยืนแบบหนึ่ง


2. ความรู้เ กี่ย วกับ โครงงานเทคโนโลยี (Technology
   Project Work)
      โครงงานเทคโนโลยี จัดเป็นโครงงานที่เกี่ยวกับการนำาความ
  รู้ ทักษะ และทรัพยากรมาสร้างหรือประดิษฐ์ เครื่องมือ เครื่อง
  ใช้ อุปกรณ์หรือวิธีการเพื่อใช้แก้ปัญหาหรือสนองความ
  ต้องการซึ่งอาจเป็นการสร้างหรือประดิษฐ์ของใหม่ ๆ ปรับปรุง
  หรือพัฒนาของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น นอกจาก
  นี้ยังรวมถึงการสร้างแบบจำาลองเพื่ออธิบายวิธีการแก้ปัญหา
  หรือสนองความต้องการหรือแนวความคิดต่าง ๆ โครงงาน
  เทคโนโลยีจึงมีส่วนคล้ายกับโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ แต่
  โครงงานเทคโนโลยีมีความแตกต่างจากโครงงานประเภทสิ่ง
  ประดิษฐ์ที่ไม่มีการกำาหนดตัวแปรที่จะศึกษา ในการดำาเนินการ
  จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีได้ใช้
  กระบวนการเทคโนโลยีของ สถาบันส่งเสริมการสอน
  วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งมี 7 ขันตอนดังนี้
                                       ้
    1. กำาหนดปัญหาหรือความต้องการ (Identification the
       problem , need or
       preference)
    2. รวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาหรือสนอง
  ความต้องการ (Information)
    3. เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ
  (Selection of the best possible
solution)
  4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making)
  5. ทดสอบ (Testing to see if it works)
  6. การปรับปรุงแก้ไข (Modification and
improvement)
  7. ประเมินผล (Assessment)


  1. กำา หนดปัญ หาหรือ ความต้อ งการ (Identification
     the problem , need or preference) เมื่อมนุษย์
     เกิดปัญหาหรือความต้องการ ขันแรกคือ การทำาความ
                                  ้
     เข้าใจปัญหานั้น ๆ อย่างละเอียด หรือกำาหนดขอบเขต
     การแก้ปัญหา ระบุความต้องการให้ชัดเจนว่าต้องการ
     อะไร โดยเขียนเป็นข้อความสั้น ๆ ให้ได้ใจความชัดเจน


  2. รวบรวมข้อ มูล เพื่อ แสวงหาวิธ ีก ารแก้ป ัญ หาหรือ
     สนองความต้อ งการ (Information) เมื่อกำาหนด
     ปัญหาหรือความต้องการแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ เก็บ
     รวบรวมข้อมูลและความรู้ทุกด้านที่ เกี่ยวข้องกับปัญหา
     หรือความต้องการเพื่อหาวิธีการที่เหมาะสมสำาหรับแก้
     ปัญหา หรือสนองความต้องการที่กำาหนดไว้ ทำาได้หลาย
     วิธี เช่น ข้อมูลเหล่านี้จะนำาไปสู่การได้วิธีการแก้ปัญหา
     หรือสนองความต้องการในหลายแบบ ขั้นตอนนี้เป็น ขัน        ้
     ตอนที่สำาคัญมาก ซึ่งจะเป็นช่องทางที่สามารถใส่เนื้อหาที่
     เราต้องการให้นักเรียนได้เรียนรู้ และถือว่าเป็นช่องทาง
     ของการบูรณการได้ดีที่สุด
  3. เลือ กวิธ ีก ารแก้ป ัญ หาหรือ สนองความต้อ งการ
     (Selection of the best possible solution)ใน
     ขั้นนี้ เป็นการตัดสินใจเลือกแนวคิดที่ดีที่สุดสำาหรับแก้
ปัญหา โดยนำาข้อมูล และความรู้ที่รวบรวมได้ มาประกอบ
  กันจนได้ข้อสรุปว่า จะเลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือวิธีการ
  สนองความต้องการเป็นแบบใด โดยวิธีการที่เลือกอาจยึด
  แนวที่ว่า เมื่อเลือกแล้วจะทำาให้สิ่งนั้นดีขึ้น (Better)
  สะดวกสบายหรือรวดเร็วขึ้น(Faster speed) ประหยัด
  ขึ้น (Cheaper) รวมทั้งวิธีการเหล่านี้ จะต้องสอดคล้อง
  กับทรัพยากร (Resource) ที่มีอยู่
4. ออกแบบและปฏิบ ัต ิก าร (Design and making)
   ขั้นตอนนี้ต้องการให้นักเรียนรู้จักคิดออกแบบ ซึ่งไม่
   จำาเป็นต้องเป็นสิ่งของเครื่องใช้เสมอไป อาจเป็น วิธีการ
   ก็ได้ และการออกแบบไม่จำาเป็นต้องเขียนแบบเสมอไป
   อาจเป็นแค่ลำาดับความคิด หรือจินตนาการให้เป็นขั้นตอน
   ซึ่งรวมปฏิบัติการลงไปด้วย นั่นคือเมื่อออกแบบแล้วต้อง
   ลงมือทำา และลงมือปฏิบัติในสิ่งที่ ออกแบบไว้
5. ทดสอบ (Testing to see if it works) เป็นการนำา
   สิ่งประดิษฐ์หรือวิธีการนั้นทดลองใช้เพื่อทดสอบว่าใช้งาน
   หรือทำางานได้ หรือไม่มีข้อบกพร่องอย่างไร ถ้ายังไม่ได้ก็
   ไปสู่ขั้นตอนต่อไป คือ ปรับปรุง แก้ไข
6. การปรับ ปรุง แก้ไ ข (Modification and
   improvement) หลังจากการทดสอบผลแล้วพบว่า สิ่ง
   ประดิษฐ์ที่สร้างขึ้น หรือวิธีการที่คิดขึ้นไม่ทำางานมีข้อ
   บกพร่อง ก็ทำาการปรับปรุงแก้ไข โดยอาจเลือกวิธีการ
   ใหม่ก็ได้คือย้อนไปขั้นตอนที่ 3
7. ประเมิน ผล (Assessment) หลังจากปรับปรุงแก้ไข
   จนใช้งานได้ดีตามวิธีการที่ออกแบบแล้ว ก็นำามาประเมิน
   ผลโดยรวม โดยพิจารณาดังนี้ บางกิจกรรมอาจไม่ครบทั้ง
   7 ขั้นตอนก็ได้ บางกิจกรรมขั้นตอนอาจสลับกันไปบ้าง
   ก็ได้แต่เมื่อนำาไปใช้ แล้ว นักเรียนรู้จักที่จะทำางานเป็นขั้น
   ตอน เป็นระบบ ย้อนกลับมาดู หรือแก้ไขได้ตามขั้นตอนที่
   ทำาไปได้
3. หลัก การออกแบบผลิต ภัณ ฑ์ ประเภทเฟอร์น ิเ จอร์

  1. การออกแบบเฟอร์น ิเ จอร์ต ามรูป แบบดัง เดิม ที่ม ีอ ยู่
     เช่น การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ในรูปแบบไทย, แบบจีน, แบบ
     อังกฤษ, แบบฝรั่งเศส และแบบเมติเตอเรเนียน เป็นต้น ซึ่ง
     การออกแบบเฟอร์นิเจอร์รูปแบบนี้จะได้รับอิทธิพลหรือแรง
     บันดาลใจมาจากเฟอร์นิเจอร์รูปแบบดังเดิมที่มีการใช้งานอยู
     ในแต่ละยุคสมัย

  2. การออกแบบเฟอร์น ิเ จอร์ต ามรูป แบบท้อ งถิ่น ซึ่งจะ
     เป็นการออกแบบที่มีการนำาวัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่นนั้นๆ มาเป็น
     ส่วนประกอบหลักของชิ้นงาน เช่น ไม้ไผ่หรือหวาย รวมไป
     ถึงชีวิตและรูปแบบความเป็นอยู่ของท้องถิ่นนั้น เช่น ความ
     เรียบง่ายในชีวิต ความเป็นอยู่ ทำาให้ไม่ต้องการเฟอร์นิเจอร์
     ที่มีรายละเอียดหรือการตกแต่งมากนัก เป็นต้น

  3. การออกแบบเฟอร์น ิเ จอร์ต ามแบบสมัย นิย ม ซึ่ง
     เป็นการออกแบบตามนิยมของยุคสมัย เช่น รูปทรงหรือการ
     ใช้สีของเฟอร์นิเจอร์มีการนำาวัสดุอื่นๆ เช่น โลหะ เหล็ก
     พลาสติก กระจกสี มาใช้ในการตกแต่งเฟอร์นิเจอร์เพิ่มเติม
     เพื่อความสวยงาม เป็นต้น ซึ่งการออกแบบผลิตภัณฑ์งาน
     เหล็กอาจไม่ได้มีรูปแบบตายตัวหรือยึดตามแนวทางใดแบบ
     ร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่อาจจะต้องมีการประยุกต์เพื่อให้เข้ากับ
     ความต้องการชองลูกค้าและการใช้งานในชีวิตประจำาวัน
4. ความรู้เ กี่ย วกับ โปรแกรม Sketch Up

    โปรแกรมที่ใช้ในการออกแบบ Model 3 มิติ สามารถสร้าง
งานเขียนแบบหรือภาพจำาลองได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว แม้ว่าผู้
ที่ไม่มีประสบการณ์ในการทำางานโปรแกรม 3 มิติมาก่อน ก็
สามารถที่จะเรียนรู้ และลองหัดสร้าง Model 3 มิติด้วยเครื่องมือที่
มีให้ในโปรแกรมได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว Sketchup ถูก
พัฒนาขึ้นโดยบริษัท @Last ในปี ค.ศ.1999 ซึ่งมีเป้าหมายที่จะ
พัฒนาโปรแกรมออกแบบ Model 3 มิติ โดยมี Interface ที่เรียบ
ง่ายและใช้งานสะดวก ให้ผู้ใช้งานสนุกกับการสร้างและออกแบบ
ทำาให้ผู้ออกแบบมีลูกเล่นในส่วนของงานออกแบบและนำาเสนอ
โดยที่โปรแกรมอื่นๆ ไม่สามารถทำาได้

     ปัจจุบัน SketchUp ได้ถูกแบ่งออกเป็น 2 ระดับด้วยกันคือ
ระดับ Personal Use และแบบมือโปรที่เป็น Professional
Use ซึ่งก็คือ Google SketchUp และ SketchUp Pro นั่นเอง
โดยจุดที่แตกต่างกันของทั้งสองประเภทก็คือ การส่ง อ อ ก ไ ฟ ล์
ก า ร ส ร้า ง Interactive Presentations และการพิมพ์
(Print) ที่มีความละเอียด (Resolutions) ที่แตกต่าง
กัน SketchUp Pro ก็จะมีทุกอย่างที่สมบูรณ์แบบ แต่ใน Google
SketchUp ก็จะมีเท่าที่จำาเป็น

        ที่น่าสนใจก็คือ Sketch Up มีฟังก์ชั่นสำาหรับการ Get
Models และ Share Models โดยที่สามารถนำาไฟล์ชิ้นงานสาม
มิติที่มผู้อื่นได้ทำาไว้แล้ว หรือที่เราได้สร้างขึ้นนำาไปแบ่งปันกันผ่าน
        ี
ระบบเครือข่าย โดยสร้างระบบคลังข้อมูลขึ้นมาภายใต้ชื่อว่า 3D
Warehouse

      SketchUp นั้นสามารถนำาไปใช้งานได้หลากหลายรูปแบบ
เช่น งานออกแบบสถาปัตยกรรม วิศวกรรม ออกแบบภายใน การ
ออกแบบผลิตภัณฑ์ต่างๆ เกมส์คอมพิวเตอร์ ฯลฯ
1. งานออกแบบอาคาร ออกแบบและตกแต่งภายใน
     (Architecture & Interior Design)




ภาพที่ 2.1 งานออกแบบอาคาร ออกแบบและตกแต่งภายใน



  2. งานออกแบบทางวิศวกรรม ออกแบบชิ้นงานหรือ
     เครื่องจักร (Engineering)




ภาพที่ 2.2 งานออกแบบทางวิศวกรรม ออกแบบชิ้นงานหรือเครื่องจักร



  3. งานออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Gaming)
ภาพที่ 2.3 งานออกแบบเกมคอมพิวเตอร์

     เมื่อเทียบกับโปรแกรม 3 มิติอื่นๆ

         Google Sketchup มีขนาดเล็กกว่าหลายเท่า เมื่อเทียบกับ
          โปรแกรมออกแบบ Model 3 มิติอื่นๆ (เวอร์ชั่น Free มี
          ขนาดเพียง 31 MB)

        Spec ที่ใช้ไม่สูงมากนัก (มี Ram 128 MB และการ์ดแสดง
         ผล 3 มิติที่สนับสนุน OpenGL ก็สามารถทำางานได้)
        สามารถทำางานร่วมกับโปรแกรม 3 มิตอื่นๆได้ เช่น
                                         ิ
         3dsMax หรือ AutoCad
        สามารถอัพโหลดไฟล์ที่ได้ ขึ้นไปไว้บน Server ของ
         Google เพื่อให้ผอื่นติชมและโหลดไปใช้ได้ หรือจะไป
                         ู้
         ประดับไว้บนแผนที่โลกของ Google ได้อีกด้วย

                       บทที่ 3
    การเลือ กวิธ ีก าร / กรอบแนวคิด ในการ
                    ดำา เนิน งาน

    ในการจัดทำาโครงงาน กล่องอี้ ผู้จัดทำาได้มีกรอบแนวคิดหรือขั้น
ตอนในการดำาเนินงานดังนี้
3.1 กรอบแนวคิด ในการทำา โครงงาน กล่อ งอี้


          เริ่มต้น




       ศึกษาปัญหา /          ศึกษาหาปัญหาหรือความ

     ความต้องการของ          ต้องการของผู้บริโภคที่มีความ

                             ต้องการอยากจะใช้สิ่งประดิษฐ์

                             ไปช่วยเหลือชีวิตความเป็นอยู่




     คิดหาสิ่งประดิษฐ์       คิดหาสิ่งประดิษฐ์ที่ต้องการ เพื่อ

      ใหม่ๆ เพื่อตอบ         ตอบสนองกับปัญหาที่เราได้มา

        สนองความ             ศึกษามาก่อนหน้านี้ โดยคิดหา

                             หลายๆ สิ่งประดิษฐ์ เพื่อที่จะ




                             คิดหาสิ่งประดิษฐ์ที่ต้องการ เพื่อ

     คิดหาสิ่งประดิษฐ์       ตอบสนองกับปัญหาที่เราได้มา

      ใหม่ๆ เพื่อตอบ         ศึกษามาก่อนหน้านี้ โดยคิดหา

        สนองความ             หลายๆ สิ่งประดิษฐ์ เพื่อที่จะ
คัดเลือกสิ่ง        คัดเลือกสิ่งประดิษฐ์ที่ต้องคำานึง

ประดิษฐ์ที่มีความ      ถึงความเหมาะสมต่อผู้จัดทำา

เป็นไปได้ในการ         โครงงานและความเป็นไปได้ใน

                       การสร้างสิ่งประดิษฐ์ เพื่อที่จะ




                       เมื่อเลือกสิ่งประดิษฐ์ที่เหมาะสม
เลือกสิ่งประดิษฐ์ที่
                       ที่สุดได้แล้ว หลังจากนั้น จึง
  เป็นไปได้มาก
                       วางแผนการทำางานในการสร้าง
ที่สดมา 1 ผลงาน
    ุ




 ซือวัสดุอุปกรณ์
   ้                   จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการสร้าง

   และสร้างสิ่ง        ผลงาน และดำาเนินการสร้าง

  ประดิษฐ์ที่ได้       โดยการสร้างสิ่งประดิษฐ์ด้วย
ทดสอบการ          ใช้งานไม่ ปรับปรุงและแก้ไขผลงาน
 ทำางานและ                   ให้มีความสมบูรณ์พอที่จะ
 ความแข็งแรง

 ของผลงาน
      ผลงานดี



 นำาเสนอผลงาน       ต้องปรับปรุง
 กับครูที่ปรึกษา

 เพื่อให้คำา

 แนะนำาเพื่อนำา
       ใช้งานได้
 ไปปรับปรุง

 แก้ไข

                       นำาเสนอผลงานต่อหน้าชั้นเรียน

                       เปิดโอกาสให้เพื่อนๆร่วมชั้น
 นำาเสนอผลงาน
                       เรียนเปิดโอกาสได้ถาม รวมถึง


                       เขียนรายงานสรุปการทำางาน
เขียนรายงานสรุป
                       ของโครงงานตั้งแต่เริ่มต้น
 การทำางานของ
                       วางแผนการทำางานจนถึงสรุป

                       การทำางานและสิ้นสุดการ
รับเลือกนำาไป                        นำาไปประกวดในวัน
                           ได้รับเลือก
     ประกวดในวัน                         งานเปิดบ้านบานเย็น
     งาน Open

     House

             ไม่ได้รับ




                                นำาผลงานที่สร้างนั้นไป

      นำาผลงานที่เรา            ใช้ได้จริง โดยสามารถนำา

     สร้างนั้นไปใช้ได้          ไปใช้เองก่อน หรือ คิดต่อย

                                อดจากความคิดเดิม เพื่อนำา




            จบ




3.2 การนำา ความรู้จ ากสาระต่า งๆ มาบูร ณการในการทำา โครง
   งาน กล้อ งอี้
                                          สาระเศรษฐศาสตร์

                                         เรื่องในการหาความ
   สาระคณิต ศาสตร์
                                         ต้องการของมนุษย์ที่
 เรื่อง การวัดขนาดของ
                                         ปัญหาในการ
 สิ่งประดิษฐ์ ในการ
ออกแบบ
                                         ตลอดเวลา




                          โครงงาน กล่อ งอี้


                            สาระคอมพิว เตอร์

                           เรื่อง การใช้โปรแกรม

                            ในการออกแบบผ่าน

                           ทางคอมพิวเตอร์ เช่น

                           โปรแกรม Sketch Up




                        บทที่ 4
                    ผลการปฏิบ ัต ิง าน
    ในการดำาเนินงานโครงงาน ที่คั่นหนังสือไฟฉาย ผู้จดทำาได้ดำาเนิน
                                                   ั
การตามกระบวนการเทคโนโลยี 7 ขั้นตอน ของ สถาบันส่งเสริมการ
สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ดังนี้
ขั้น ตอนที่ 1 การกำา หนดปัญ หาและความต้อ งการ
(Identification the problem, need or preference)
                คนที่ติดหนังสือ ต้องอ่านหนังสืออยู่ตลอดเวลานั้น
     บางทีสถานที่เหล่านั้น ไม่เอื้ออำานวยในการอ่านหนังสือ เพราะ
     ความมืดนั้นเอง เช่น อ่านบนรถประจำาทางขณะเดินทางตอนกลาง
     คืน เพราะเราไม่สามารถเปิดอ่านหนังสือในที่มืดได้ และเราจะ
     รบกวนผู้โดยสารที่อยู่ข้างๆ เบาะที่นั่งของเราด้วย ถ้าเราเปิดไฟ
     ในรถประจำาทาง ดังนั้นจึงคิดหาวิธีในการสร้างสิ่งประดิษฐ์ ที่
     สามารถแก้ปัญหาและสามารถช่วยให้เหล่านอนหนังสือ หรือผู้ที่
     ได้อ่านหนังสือนั้น สามารถอ่านหนังสือได้อย่างสมใจ และไม่
     รบกวนผู้โดยสารที่นั่งอยู่ข้างๆ เราอีกด้วย
ขั้น ตอนที่ 2 รวบรวมข้อ มูล เพื่อ แสวงหาวิธ ีก ารแก้ป ัญ หาหรือ
สนองความต้อ งการ (Information)
            เมื่อได้ปัญหาและความต้องการของมนุษย์ที่ต้องการหาพื้นที่
     ในการเก็บของได้แล้ว ต้องมาหาวิธีการการตอบสนองความ
     ต้องการให้กับผู้ที่ต้องการสิ่งประดิษฐ์ที่เราก็สามารถในการ
     ประดิษฐ์ผลงานออกมา ซึ่งสามารถคิดออกมาได้อยู่ 2 ผลงาน
     ได้แก่
          1. โคมไฟอ่านหนังสือแบบตั้งโต๊ะ เป็นโคมไฟที่มีขนาดเล็ก
             กะทัดรัด สามรถใช้ตั้งโต๊ะในการอ่านหนังสือเตรียมสอบ
             ต่าง เพิ่มแสงสว่างในการอ่านหนังสือ สามารถอ่าน
             หนังสือได้ง่ายๆ และแสงสว่างในการอ่านนั้นมีมาก
          2. ที่คั่นหนังสือไฟฉาย เป็นที่คั่นหนังสือที่มีไฟฉาย ติดอยู่
             ข้างบนสิ่งประดิษฐ์เป็นดวงเล็กๆ และสามารถคั่นหนังสือ
             เมื่อเราอ่านไม่จบได้ ไฟฉายสามารถเปิดในเวลาที่มีแสง
             สว่างไม่พอในการอ่านหนังสือ และเป็นไฟฉายดวงเล็ก
             ไม่รบกวนผู้อื่นอีกด้วย
ขั้น ตอนที่ 3 เลือ กวิธ ีก ารแก้ป ัญ หาหรือ สนองความต้อ งการ
(Selection of the best possible solution)
      การคัดเลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการ ของผล
งานที่จะต้องใช้วิธีการในการแยกแยะออกมา ถือว่าเป็นการคิดวิธีการ
แก้ปัญหาอย่างรอบครอบ เพื่อเป็นการลดความเสียหายและความราบรื่น
การทำางานออกมาได้ เราสามารถแบ่งการเลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือ
ความตอบสนองความต้องการได้ 2 รูปแบบ ดังนี้
     1. การวิเคราะห์หลักการแบบหาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT)
     2. การวิเคราะห์การแยกแยะองค์ประกอบในการประดิษฐ์ผลงาน


  1. การวิเ คราะห์ห ลัก การแบบหาจุด แข็ง จุด อ่อ น (SWOT)

        หัว ข้อ ที่     โคมไฟอ่านหนังสือ      ที่คั่นหนังสือไฟฉาย
       วิเ คราะห์          แบบตั้งโต๊ะ
                      - ไฟสว่างกว่าที่คั่น   - สามารถพกพาได้
                        หนังสือไฟฉาย           สะดวกเฉพาะมีขนาด
     S=
                                               เล็ก
     Strengths      - สามารถใช้ส่อง
     จุดแข็งหรือจุด หนังสือได้ทุกขนาด        - ใช้ได้ทุกที่
     เด่น                                    - ใช้ถ่าน
                                             - ใช้คั่นหนังสือได้
     W=               -ใช้ได้เฉพาะสถานที่ที่ -ได้แสงสว่างน้อยกว่า
     Weaknesse
                       มีเต้าเสียบ            โคมไฟ
     s
     จุดอ่อนหรือจุด   -พกพาไม่สะดวก
     ด้อย
     O=               ทุกที่ที่มีเต้าเสียบ   ได้ทุกเมื่อ
     Opportunit
     ies
     โอกาสในการ
     ทำางาน
     T=               ถ้าไม่มีเตาเสียบ โคม   ใช้ได้กับหนังสือเล่มที่
Threats               ไฟก็ไม่สามารถใช้ได้            ไม่ใหญ่มาก
     อุปสรรคใน
     การทำางาน

                               ตารางที่ 4.1 ตารางการแยกแยะ SWOT




  2. การวิเ คราะห์ก ารแยกแยะองค์ป ระกอบในการประดิษ ฐ์ผ ล
     งาน

                                ความทด        ความ                      ความ
หัว ข้อ ใน         ขนาด                                    ต้นทุน
                                 ทาน         สวยงาม                    ต้องการ
   การ            สะดวก = 1     สะดวก = 1    สะดวก = 1    สะดวก = 1    สะดวก = 1    รวม
ประเมิน           ไม่สะดวก =    ไม่สะดวก =   ไม่สะดวก =   ไม่สะดวก =   ไม่สะดวก =
                  0             0            0            0            0
โคมไฟ
อ่าน                  0             1            1            0            0         2
หนังสือ
ที่คั่น
หนังสือ               1             0            0            1            1         3
ไฟฉาย
          ตารางที่ 4.2 ตารางแยกแยะองค์ประกอบในการประดิษฐ์ผลงาน
สรุปผลงานที่จะต้องนำามาออกแบบและสร้างผลงานในการทำางาน คือ ที่
คั่น หนัง สือ ไฟฉาย



ขั้น ตอนที่   4   ทดสอบ (Testing to see if it works)
อยู่ในที่มืดแล้วลองเปิดไฟว่าสว่างเพียงพอ ที่สายตาเราจะ
     มองเห็นได้อย่างชัดเจนหรือไม่ หลังจากทดลอง หลอดไฟสว่าง
     เพียงพอ


ขั้น ตอนที่ 6 การปรับ ปรุง แก้ไ ข (Modification and
improvement)
          เปลี่ยนหลอดไฟให้แสงไฟพอดี
ขั้น ตอนที่ 7 ประเมิน ผล (Assessment)

           ประเด็น ในการประเมิน                      เกณฑ์
1. สิ่งประดิษฐ์สามารถแก้ปัญหาหรือสนองความ              ดี
   ต้องการที่ระบุได้หรือไม่
2. สวยงาม ดึงดูดใจผู้ใช้หรือไม่                         ดี
3. แข็งแรงทนทานต่อการใช้งานหรือไม่                      ดี
4. ต้นทุนสูงเกินไปหรือไม่                               ดี
บทที่ 5
      สรุป ผล อภิป รายผล และข้อ เสนอแนะ

สรุป ผลการทำา โครงงาน ที่ค ั่น หนัง สือ ไฟฉาย
           คนที่ติดหนังสือ ต้องอ่านหนังสืออยู่ตลอดเวลานั้น บางที
สถานที่เหล่านั้น ไม่เอื้ออำานวยในการอ่านหนังสือ เพราะความมืดนั้นเอง
เช่น อ่านบนรถประจำาทางขณะเดินทางตอนกลางคืน เพราะเราไม่
สามารถเปิดอ่านหนังสือในที่มืดได้ และเราจะรบกวนผู้โดยสารที่อยู่
ข้างๆ เบาะที่นั่งของเราด้วย ถ้าเราเปิดไฟ ในรถประจำาทาง ดังนั้นจึงคิด
หาวิธีในการสร้างสิ่งประดิษฐ์ ที่สามารถแก้ปัญหาและสามารถช่วยให้
เหล่านอนหนังสือ หรือผู้ที่ได้อ่านหนังสือนั้น สามารถอ่านหนังสือได้
อย่างสมใจ และไม่รบกวนผู้โดยสารที่นั่งอยู่ข้างๆ เราอีกด้วย
     เมื่อได้ปัญหาและความต้องการของมนุษย์ที่ต้องการหาพื้นที่ใน
การเก็บของได้แล้ว ต้องมาหาวิธีการการตอบสนองความต้องการ ซึ่ง
สามารถคิดออกมาได้อยู่ 2 ผลงาน ได้แก่
          1. โคมไฟอ่านหนังสือแบบตั้งโต๊ะ

          2. ที่คั่นหนังสือไฟฉาย

      การคัดเลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการ ของผล
งานที่จะต้องใช้วิธีการในการแยกแยะออกมา ถือว่าเป็นการคิดวิธีการ
แก้ปัญหาอย่างรอบครอบ เพื่อเป็นการลดความเสียหายและความราบรื่น
การทำางานออกมาได้ เราสามารถแบ่งการเลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือ
ความตอบสนองความต้องการได้ 2 รูปแบบ ดังนี้
     1. การวิเคราะห์หลักการแบบหาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT)
     2. การวิเคราะห์การแยกแยะองค์ประกอบในการประดิษฐ์ผลงาน
สรุปผลงานที่จะต้องนำามาออกแบบและสร้างผลงานในการทำางาน คือ ที่
คั่น หนัง สือ ไฟฉาย




อภิป รายผลการทำา โครงงาน ที่ค ั่น หนัง สือ ไฟฉาย
      จะการที่ได้ทำาโครงงานเล่มนี้มา ถือว่ารับประสบการณ์ต่างๆ
มากมาย หลากหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นองค์ความรู้ใหม่ๆ ที่ได้รับจาก
การศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลด้านเกี่ยวกับความรู้ และความเป็นมิตรภาพระ
ว่างสมาชิกในกลุ่มในการทำางานนั้น ถือว่าเป็นการรับรู้นิสัยซึ่งกันและ
กัน ทำาให้เกิดมิตรภาพที่ดี ความมีนำ้าใจซึ่งกันและกันในสมาชิกในกลุ่ม
อีกด้วย
      ความรู้ใหม่ที่ได้รับจากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลความรู้ทั้งหมด ที่ได้
จากการเริ่มต้นวางแผนในการทำาโครงงานนั้น เหมือนกับเราได้เป็นผู้
สำารวจหาความต้องการในตลาดความต้องการ ของผู้บริโภคส่วนใหญ่
ว่าจะต้องการสินค้า หรือสิ่งประดิษฐ์อะไรใหม่ๆ อีกหรือไม่ ในลำาดับถัด
ไปเราได้รู้ถึงการใช้ความรู้ใหม่ๆ ในการใช้โปรแกรมในการออกแบบ
สิ่งประดิษฐ์ที่เราได้คิดค้นมาผ่านทางโปรแกรมไว้ ซึ่งโปรแกรมที่คณะผู้
จัดทำานั้น ได้จัดทำาขึ้นนั้น ถือว่าเป็นความรู้สิ่งใหม่ เพราะเนื่องจากว่า
โปรแกรมที่ได้นำามาออกแบบนั้น คณะผู้จัดทำานั้น ไม่เคยมีประสบการณ์
ในการใช้โปรแกรมนี้มาก่อน ก็ถือว่าเป็นความรู้ใหม่ที่ได้รับ
      ส่วนเรื่องที่นอกเหนือสิ่งอื่นใดๆ คือความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก
ในกลุ่ม เราได้เห็นความถึงลักษณะนิสัยที่มีความช่วยเหลือกันต่อคนใน
กลุ่ม ทุกคนในสมาชิกในกลุ่มต่างช่วยเหลือกันเป็นอย่างดี และคอยให้
กำาลังใจกันอยู่ตลอดมา ถือว่าเป็นพลังเล็กๆ ที่เราจะสร้างสิ่งประดิษฐ์
หรือผลงานชิ้นหนึ่งที่มีความยากในขั้นตอนการสร้างอยู่แล้ว ใครที่มี
ความถนัดในเรื่องใด ก็จะทำาตามสิ่งที่ตนเองนั้น ใครถนัดในเรื่องของ
การสร้างผลงานก็ สร้างผลงาน ส่วนใครที่ถนัดในการวางแผน การสรุป
ผลนั้น ก็ทำา ต่างคนต่างทำางานในสิ่งที่ตนเองถนัด ผลงานนั้น ก็จะสำาเร็จ
ลุล่วงไปได้ด้วยดี
ดังนั้นการทำาโครงงานในครั้งนี้ ถือว่าเป็นประโยชน์ต่อทุกฝ่าย
อย่างยิ่ง นอกจากได้ประสบการณ์อะไรใหม่ๆ ที่ไม่เคยทำามาก่อนเพิ่ม
เติมและยังได้มิตรภาพที่ดีในการทำางาน ถือว่าเป็นรากฐานสำาคัญที่เรา
จะทำางานที่เป็นลักษณะโครงการแบบนี้ต่อไปในภายภาคหน้าอีกด้วย




ข้อ เสนอแนะของโครงงาน
       จากการที่ได้นำาเสนอโครงการไปนั้น ได้มีผู้ชมและผู้ฟังในการนำา
เสนอ ถือว่าเป็นสิ่งตอบรับค่อนข้างดีและมีผู้ที่มีความสนใจกับโครงงาน
ชิ้นนี้มาก แต่ก็ยังมีข้อเสนอแนะการทำางานให้มีการปรับปรุงต่อไปใน
ภายภาคหน้า และสามารถให้ผู้ที่สนใจที่จะต่อยอดจากผลงานสิ่ง
ประดิษฐ์ครั้งนี้
  1. เพิ่มความน่าสนใจของผลงาน
  2. เพิ่มลูกเล่นในการทำางานของสิ่งประดิษฐ์นี้
  3. เพิ่มลักษณะรูปร่างของผลงาน ให้มีความแตกต่าง
ภาค
ผนวก
สรุป ผลการประเมิน ผลการทำา โครงงาน
            เรื่อ งทีค ั่น หนัง สือ ไฟฉาย
                     ่
ประเภทของผู้ป ระเมิน
หัว ข้อ ในการประเมิน
บรรณานุก รม

การุณ จงกิจณะ. การออกแบบและเทคโนโลยี . : สถาบันส่งเสริม
     การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ปีที่พิมพ์ 2554


ณัฐนิช มณีวรรณกุล. ความรู้เ กี่ย วกับ โปรแกรม Sketch Up
     [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
     www.slideshare.net/piyaboon/sketchup-13232415
     วันที่สืบค้นข้อมูล : 21 ธันวาคม 2555


ไม่ปรากฏชื่อ. ไอเดีย ในการออกแบบ [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
     www.xn- - 13c2a5a7a3cwa.com วันที่สืบค้นข้อมูล : 21
     ธันวาคม 2555
ไม่ปรากฏชื่อ. Yourideaforjapan [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
     www.yourideaforjapan.com วันที่สืบค้นข้อมูล : 21
     ธันวาคม 2555
ไม่ปรากฏชื่อ. Yourideaforjapan [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
     www.yourideaforjapan.com วันที่สืบค้นข้อมูล : 21
     ธันวาคม 2555
ไม่ปรากฏชื่อ. Yourideaforjapan [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
     www.yourideaforjapan.com วันที่สืบค้นข้อมูล : 21
     ธันวาคม 2555

More Related Content

What's hot

โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติโครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติsiriyakorn saratho
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมthunchanok
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์Jiraporn
 
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมโรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมRoongroeng
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)Guntima NaLove
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมีjirat266
 
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คWpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คkrupornpana55
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีPhakawat Owat
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนda priyada
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยawirut
 

What's hot (20)

โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติโครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
โครงงานคณิตศาสตร์ออนไลน์เรื่อง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
ตัวอย่างชื่อโครงงานวิทยาศาสตร์
 
P08
P08P08
P08
 
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรมโรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
โรคไคลน์เฟลเตอร์ ซินโดรม
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)โครงงานเคมีกัญ (1)
โครงงานเคมีกัญ (1)
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
เทคโนโลยีชีวภาพ (Biotechnology)
 
EKG in ACLS
EKG in ACLSEKG in ACLS
EKG in ACLS
 
Bio
BioBio
Bio
 
สมดุลเคมี
สมดุลเคมีสมดุลเคมี
สมดุลเคมี
 
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คWpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมีปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
ปฏิบัติการเซลล์ไฟฟ้าเคมี
 
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอนกลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
กลไกการคลอดปกติ 8 ขั้นตอน
 
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลยโจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
โจทย์อัตราการเกิดปฎิกิริยา พร้อมเฉลย
 

Similar to รายงาน (20)

เก้าอี้หวงห้าม
เก้าอี้หวงห้ามเก้าอี้หวงห้าม
เก้าอี้หวงห้าม
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
 
ออกแบบ
ออกแบบออกแบบ
ออกแบบ
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
608 112126
608 112126608 112126
608 112126
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 
project
projectproject
project
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8ใบงานที่ 2 8
ใบงานที่ 2 8
 
K02
K02K02
K02
 
โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3โครงงานคอม 3
โครงงานคอม 3
 
K02
K02K02
K02
 
K02
K02K02
K02
 

More from NuTty Quiz

โครงงานเต ยงเก บผ_าห_ม
โครงงานเต ยงเก บผ_าห_มโครงงานเต ยงเก บผ_าห_ม
โครงงานเต ยงเก บผ_าห_มNuTty Quiz
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6NuTty Quiz
 
ใบงานถึง 4 7
ใบงานถึง 4   7ใบงานถึง 4   7
ใบงานถึง 4 7NuTty Quiz
 
โครงงานประภทพัฒนาเอการสื่อสาร
โครงงานประภทพัฒนาเอการสื่อสารโครงงานประภทพัฒนาเอการสื่อสาร
โครงงานประภทพัฒนาเอการสื่อสารNuTty Quiz
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 ใบงานสำรวจตนเอง M6 ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6NuTty Quiz
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 ใบงานสำรวจตนเอง M6 ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6NuTty Quiz
 

More from NuTty Quiz (6)

โครงงานเต ยงเก บผ_าห_ม
โครงงานเต ยงเก บผ_าห_มโครงงานเต ยงเก บผ_าห_ม
โครงงานเต ยงเก บผ_าห_ม
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
ใบงานถึง 4 7
ใบงานถึง 4   7ใบงานถึง 4   7
ใบงานถึง 4 7
 
โครงงานประภทพัฒนาเอการสื่อสาร
โครงงานประภทพัฒนาเอการสื่อสารโครงงานประภทพัฒนาเอการสื่อสาร
โครงงานประภทพัฒนาเอการสื่อสาร
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 ใบงานสำรวจตนเอง M6 ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 ใบงานสำรวจตนเอง M6 ใบงานสำรวจตนเอง M6
ใบงานสำรวจตนเอง M6
 

รายงาน

  • 1. รายงาน โครงงานเทคโนโลยี “ทีค ั่น หนัง สือ ไฟฉาย” ่ จัด ทำา โดย 1.นายธวัช ชัย ไหวแก้ว เลขที่ 16 2.นางสาวชลดา บัน ลือ ศรีส กุล เลขที่ 25 ห้อ ง มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 6/13 เสนอ ครูเ ขือ นทอง ่ มูล วรรณ์ รายงานนี้เ ป็น ส่ว นหนึ่ง ของการเรีย นรายวิช า การ งานอาชีพ และเทคโนโลยี ภาคเรีย นที่ 2 ปีก ารศึก ษา 2555 โรงเรีย นยุพ ราชวิท ยาลัย จัง หวัด เชีย งใหม่ คำา นำา
  • 2. รายงานเล่มนี้เป็นรายงานที่สรุปถึงขั้นตอนการวางแผนจนไปถึง การดำาเนินงานใน โครงงานการงานอาชีพและเทคโนโลยี ซึ่งออกมา เสร็จสมบูรณ์ด้วยดี รายงานเล่มนี้ถือว่าเป็นแหล่งและแนวทางให้กับผู้ที่ สนใจในการทำางานโครงงานการงานและเทคโนโลยี ในการค้นคว้า หาความรู้ เพื่อไปพัฒนาความสามารถหรือแนวทางของตนเองในการ สร้างผลงานในภายภาคหน้า เพื่อผลงานของผู้ที่ได้ศึกษานั้นมีความถูก ต้อง ความสมบูรณ์มากขึ้นต่อๆ ไปอีก หรือ ต่อยอดความคิดกับผลงานที่ มีอยู่เดิม สามารถเพิ่มสิ่งแปลกใหม่ หรือ สิ่งที่ทำาให้น่าสนใจมากยิ่งขึ้น ขอขอบคุณผู้ที่ให้สนับสนุนในการทำาโครงงานและรายงานเล่มนี้ มาโดยตลอด อาทิเช่น คุณครูผู้ที่ปรึกษาโครงงานที่คอยช่วยให้ความ เห็นและแนะแนวทางในการประดิษฐ์ผลงานออกมาได้ ขอขอบคุณ เพื่อนๆ ที่ให้กำาลังใจและช่วยร่วมมือร่วมแรงในการสร้างประดิษฐ์ผล งานขึ้นมา และที่สำาคัญผู้ปกครองที่ช่วยสนับสนุนกำาลังทรัพย์ในการ สร้างผลงานขึ้น หากขาดกำาลังทรัพย์ในการสร้างผลงานนั้น ผลงานชิ้น นี้คงไม่มีวันเสร็จสมบูรณ์อย่างแน่นอน สุดท้ายนี้ รายงานเล่มนี้หวังว่ามีประโยชน์ให้กับผู้ที่สนใจอย่างมี ประโยชน์สูงสุด และรายงานเล่มนี้หวังว่าจะนำาไปใช้ประโยชน์และเป็น แนวทางในการสร้างสิ่งประดิษฐ์สิ่งที่เป็นนวัตกรรมใหม่หรือต่อยอดจาก ชิ้นงานที่ประดิษฐ์นั้นดังเดิม ผู้จ ัด ทำา
  • 3. สารบัญ หน้า คำานำา สารบัญ บทที่ 1 บทนำา บทที่ 2 การรวบรวมข้อมูล บทที่ 3 การเลือกวิธีการ / กรอบแนวคิดในการดำาเนินงาน บทที่ 4 ผลการปฏิบัติงาน บทที่ 5 สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ภาคผนวก บรรณานุกรม บทที่ 1
  • 4. บทนำา 1. ชื่อ โครงงานเทคโนโลยี ที่คั่นหนังสือไฟฉาย 2. ชื่อ ผู้ท ำา โครงงานเทคโนโลยี นายธวัชชัย ไหวแก้ว นางสาวชลดา บันลือศรี 3. ชื่อ ครูท ี่ป รึก ษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ 4. ที่ม าและความสำา คัญ ของโครงงาน ในสังคมยุคปัจจุบันนั้นมีการรณรงค์ให้อ่านหนังสือกันมาก ขึน ซึ่งมีผลการสำารวจมาว่า เด็กในประเทศอ่านหนังสือน้อยมากๆ ้ เพียงปีละ 8 บรรทัดเท่านั้น ซึ่งถือว่าเป็นตัวเลขที่น้อยไม่สำาหรับใน ประเทศไทย ประโยชน์ของหนังสือนั้นมีอยู่มากมาย นอกจากจะ ได้ความรู้ในเรื่องที่อ่านแล้ว ยังได้ฝึกทักษะในการอ่านเช่น การ ย่อความจากในหนังสือ การอ่านจับใจความ การอ่านวิเคราะห์เนื้อ เรื่อง ทักษะในการอ่านหนังสือ สามารถอ่านคำาศัพท์ยากๆได้ ซึ่ง ทักษะเหล่านี้มีประโยชน์มากในการอ่าน นอกเหนือสิ่งอื่นใด ยังได้ ความบันเทิง สิ่งจรรโลงใจต่างๆ ที่สามารถให้เราผ่อนคลาย ความเครียดได้ ซึ่งหนังสือในอ่านนั้นก็มีหนังสืออยู่หลากหลาย ประเภทให้เลือกเช่น หนังสือแนวนวนิยาย แนวประวัติศาสตร์ แนวอิงวิชาการ แนวชีวประวัติ เป็นต้น ซึ่งหนังแนวเหล่านี้เป็น หนังสือที่ให้ประโยชน์ในด้านความรู้แก่ผู้อ่าน และ หนังสือบาง ประเภทนั้น ให้ความบันเทิงแก่ผู้อ่าน เช่น หนังสือการ์ตูน หนังสือ บันเทิง นิตยสารต่างๆ เป็นต้น เหล่านี้ก็เป็นหนังสือด้วยกันทั้งนั้น การอ่านหนังสือในถือว่าเป็นประโยชน์อย่างมากให้กับตัวเอง นอกจากได้ประโยชน์ต่อตนเองในการได้ความรู้มาประดับสมอง แล้ว ยังสามารถฝึกทักษะในการอ่านเช่นเดียวกัน แต่ในบางที สำาหรับคนที่ติดหนังสือ ต้องอ่านหนังสืออยู่ตลอดเวลานั้น บางที สถานที่เหล่านั้น ไม่เอื้ออำานวยในการอ่านหนังสือ เพราะความมืด นั้นเอง เช่น อ่านบนรถประจำาทางขณะเดินทางตอนกลางคืน
  • 5. เพราะเราไม่สามารถเปิดอ่านหนังสือในที่มืดได้ และเราจะรบกวน ผู้โดยสารที่อยู่ข้างๆ เบาะที่นั่งของเราด้วย ถ้าเราเปิดไฟ ในรถ ประจำาทาง ดังนั้นจึงคิดหาวิธีในการสร้างสิ่งประดิษฐ์ ที่สามารถแก้ ปัญหาและสามารถช่วยให้เหล่านอนหนังสือ หรือผู้ที่ได้อ่าน หนังสือนั้น สามารถอ่านหนังสือได้อย่างสมใจ และไม่รบกวนผู้ โดยสารที่นั่งอยู่ข้างๆเราอีกด้วย 5. จุด มุ่ง หมายในการออกแบบ คนที่ติดหนังสือ ต้องอ่านหนังสืออยู่ตลอดเวลานั้น บางที สถานที่เหล่านั้น ไม่เอื้ออำานวยในการอ่านหนังสือ เพราะความมืด นั้นเอง เช่น อ่านบนรถประจำาทางขณะเดินทางตอนกลางคืน เพราะเราไม่สามารถเปิดอ่านหนังสือในที่มืดได้ และเราจะรบกวน ผู้โดยสารที่อยู่ข้างๆ เบาะที่นั่งของเราด้วย ถ้าเราเปิดไฟ ในรถ ประจำาทาง ดังนั้นจึงคิดหาวิธีในการสร้างสิ่งประดิษฐ์ ที่สามารถแก้ ปัญหาและสามารถช่วยให้เหล่านอนหนังสือ หรือผู้ที่ได้อ่าน หนังสือนั้น สามารถอ่านหนังสือได้อย่างสมใจ และไม่รบกวนผู้ โดยสารที่นั่งอยู่ข้างๆ เราอีกด้วย 6. นิย ามศัพ ท์เ ฉพาะ (Definition) เรา หมายถึง ผู้ที่ใช้สิ่งประดิษฐ์นี้ ผู้โดยสาร หมายถึง ผู้โดยสารที่นั่งอยู่ข้างๆ สิ่งประดิษฐ์ หมายถึง ที่คั่นหนังสือไฟฉาย 7. ประโยชน์ท ี่ค าดว่า จะได้ร ับ 1. สามารถอ่านหนังสือในที่มืดได้ 2. ไม่ไปรบกวนผู้อื่นๆ ในการใช้แสงสว่างในการอ่านหนังสือ 3. ตอบสนองความต้องการของผู้บริโภค
  • 6. 4. ได้ฝึกทักษะในการทำาโครงงาน บทที่ 2 การรวบรวมข้อ มูล การจัดทำาโครงงานที่คั่นหนังสือไฟฉาย รายวิชาการงานและ เทคโนโลยี ผู้จดทำาได้ศึกษาและรวบรวมข้อมูลจาก เอกสาร และ ั บทความรู้ทางอินเตอร์เน็ต ที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย 1. หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ 4 (มัธยมศึกษาปีที่ 4-6) สาระการออกแบบและ เทคโนโลยี 2. ความรู้เกี่ยวกับโครงงานเทคโนโลยี 3. หลักการออกแบบผลิตภัณฑ์ ประเภทเฟอร์นิเจอร์ 4. ความรู้เกี่ยวกับโปรแกรม Sketchup 1. หลัก สูต รการศึก ษาขั้น พื้น ฐานพุท ธศัก ราช 2551 กลุ่ม สาระการงานอาชีพ และเทคโนโลยี ช่ว ง ชั้น ที่ 4 (มัธ ยมศึก ษาปีท ี่ 4-6) สาระการออกแบบและ เทคโนโลยี หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ช่วงชั้นที่ 4 (มัธยมศึกษาปีที่ 4-6)
  • 7. ประกอบด้วย มาตรฐานการเรียน รู้ ตัวชี้วัด และสาระการเรียน รู้ดังนี้(กรมวิชาการ,2551) 1.1 มาตรฐานการเรีย นรู้ มีด ัง นี้ ง 2. 1 เข้าใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสร้างสิ่งของเครื่องใช้ หรือวิธีการ ตาม กระบวนการเทคโนโลยีอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ เลือก ใช้เทคโนโลยีในทางสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่ง แวดล้อม และมีส่วนร่วมในการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืน 1.2 ตัว ชี้ว ัด มีด ัง นี้ ง 2.1.1 อธิบายและเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่าง เทคโนโลยีกับศาสตร์อื่นๆ ง 2.1.2 วิเคราะห์ระบบเทคโนโลยี ง 2.1.3 การสร้างชิ้นงาน หรือถ่ายทอดความคิด ของวิธี การเป็นแบบจำาลองความคิดและการรายงานผลโดยใช้ ซอฟท์แวร์ช่วย ในการออกแบบหรือนำาเสนอผลงาน ง 2.1.5 วิเคราะห์และเลือกใช้เทคโนโลยี ที่เหมาะสมกับ ชีวิตประจำาวัน อย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม และสิ่ง แวดล้อม และมีการจัดการเทคโนโลยีที่ยั่งยืนด้วยวิธีการ ของเทคโนโลยีสะอาด 1.3 สาระการเรีย นรู้ มีด ัง นี้ 1.3.1 เทคโนโลยีมีความสัมพันธ์กับศาสตร์อื่นๆโดย เฉพาะวิทยาศาสตร์ 1.3.2 ระบบเทคโนโลยีประกอบด้วย ตัวป้อน (Input) กระบวนการ (Process) ผลลัพธ์ (Output) ทรัพยากร ทางเทคโนโลยี (Resources) ปัจจัยที่เอื้อหรือขัดขวาง ต่อเทคโนโลยี (Consideration)
  • 8. 1.3.3 การวิเคราะห์ระบบเทคโนโลยีทำาให้ทราบเกี่ยวกับ ปัจจัยในด้านต่างๆ ที่มีผลต่อการ แก้ปัญหาหรือสนอง ความต้องการ 1.3.4 การสร้างสิ่งของเครื่องใช้หรือวิธีการ ตาม กระบวนการเทคโนโลยี จะทำาให้ผู้เรียน ทำางานอย่างเป็น ระบบ สามารถย้อนกลับมาแก้ไขได้ง่าย 1.3.5 การใช้ซอฟท์แวร์ช่วยในการออกแบบหรือนำา เสนอผลงาน มีประโยชน์ในการช่วย ร่างภาพ ทำาภาพ 2 มิติ และ 3 มิติ 1.3.6 การพัฒนาสิ่งของเครื่องใช้ ต้องคำานึงถึง หลักการ วิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น 1.3.7 หลักการวิเคราะห์ผลิตภัณฑ์เบื้องต้น เป็นการ วิเคราะห์จุดมุ่งหมายของ การ ออกแบบประกอบด้วย ชิ้น งานนี้ใช้ทำาอะไร ทำาไมถึงต้องมีชิ้นงานนี้ ใครเป็นผู้ใช้ ใช้ที่ไหน เมื่อไรจึงใช้ วิธีการ ที่ทำาให้ชิ้นงานนี้ทำางานได้ ตามวัตถุประสงค์ 1.3.8 ภาพฉาย เป็นภาพแสดงรายละเอียด ของชิ้นงาน ประกอบด้วยภาพด้านหน้า ด้านข้าง ด้านบน แสดงขนาด และหน่วยวัด เพื่อนำาไปสร้างชิ้นงาน 1.3.9 ความคิดสร้างสรรค์มี 4 ลักษณะ ประกอบด้วย ความคิดริเริ่ม ความคล่องในการคิด ความยืดหยุ่นในการ คิด และความคิดละเอียดลออ 1.3.10 ความคิดแปลกใหม่ที่ได้ ต้องไม่ละเมิดความคิดผู้ อื่น 1.3.11 ความคิดแปลกใหม่เป็นการสร้างนวัตกรรมที่อาจ นำาไปสู่การจดลิขสิทธิ์ หรือสิทธิบัตร การวิเคราะห์ผลดี ผลเสีย การประเมิน และการตัดสินใจเพื่อเลือกใช้ เทคโนโลยี ที่เหมาะสม
  • 9. 1.3.12 การเลือกใช้สิ่งของเครื่องใช้อย่างสร้างสรรค์ โดยการเลือกสิ่งของ เครื่องใช้ที่เป็นมิตรกับชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อม 1.3.13 เทคโนโลยีสะอาดเป็นการจัดการเทคโนโลยีที่ ยั่งยืนแบบหนึ่ง 2. ความรู้เ กี่ย วกับ โครงงานเทคโนโลยี (Technology Project Work) โครงงานเทคโนโลยี จัดเป็นโครงงานที่เกี่ยวกับการนำาความ รู้ ทักษะ และทรัพยากรมาสร้างหรือประดิษฐ์ เครื่องมือ เครื่อง ใช้ อุปกรณ์หรือวิธีการเพื่อใช้แก้ปัญหาหรือสนองความ ต้องการซึ่งอาจเป็นการสร้างหรือประดิษฐ์ของใหม่ ๆ ปรับปรุง หรือพัฒนาของเดิมที่มีอยู่แล้วให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้น นอกจาก นี้ยังรวมถึงการสร้างแบบจำาลองเพื่ออธิบายวิธีการแก้ปัญหา หรือสนองความต้องการหรือแนวความคิดต่าง ๆ โครงงาน เทคโนโลยีจึงมีส่วนคล้ายกับโครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์ แต่ โครงงานเทคโนโลยีมีความแตกต่างจากโครงงานประเภทสิ่ง ประดิษฐ์ที่ไม่มีการกำาหนดตัวแปรที่จะศึกษา ในการดำาเนินการ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง โครงงานเทคโนโลยีได้ใช้ กระบวนการเทคโนโลยีของ สถาบันส่งเสริมการสอน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งมี 7 ขันตอนดังนี้ ้ 1. กำาหนดปัญหาหรือความต้องการ (Identification the problem , need or preference) 2. รวบรวมข้อมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแก้ปัญหาหรือสนอง ความต้องการ (Information) 3. เลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือสนองความต้องการ (Selection of the best possible
  • 10. solution) 4. ออกแบบและปฏิบัติการ (Design and making) 5. ทดสอบ (Testing to see if it works) 6. การปรับปรุงแก้ไข (Modification and improvement) 7. ประเมินผล (Assessment) 1. กำา หนดปัญ หาหรือ ความต้อ งการ (Identification the problem , need or preference) เมื่อมนุษย์ เกิดปัญหาหรือความต้องการ ขันแรกคือ การทำาความ ้ เข้าใจปัญหานั้น ๆ อย่างละเอียด หรือกำาหนดขอบเขต การแก้ปัญหา ระบุความต้องการให้ชัดเจนว่าต้องการ อะไร โดยเขียนเป็นข้อความสั้น ๆ ให้ได้ใจความชัดเจน 2. รวบรวมข้อ มูล เพื่อ แสวงหาวิธ ีก ารแก้ป ัญ หาหรือ สนองความต้อ งการ (Information) เมื่อกำาหนด ปัญหาหรือความต้องการแล้ว ขั้นตอนต่อไป คือ เก็บ รวบรวมข้อมูลและความรู้ทุกด้านที่ เกี่ยวข้องกับปัญหา หรือความต้องการเพื่อหาวิธีการที่เหมาะสมสำาหรับแก้ ปัญหา หรือสนองความต้องการที่กำาหนดไว้ ทำาได้หลาย วิธี เช่น ข้อมูลเหล่านี้จะนำาไปสู่การได้วิธีการแก้ปัญหา หรือสนองความต้องการในหลายแบบ ขั้นตอนนี้เป็น ขัน ้ ตอนที่สำาคัญมาก ซึ่งจะเป็นช่องทางที่สามารถใส่เนื้อหาที่ เราต้องการให้นักเรียนได้เรียนรู้ และถือว่าเป็นช่องทาง ของการบูรณการได้ดีที่สุด 3. เลือ กวิธ ีก ารแก้ป ัญ หาหรือ สนองความต้อ งการ (Selection of the best possible solution)ใน ขั้นนี้ เป็นการตัดสินใจเลือกแนวคิดที่ดีที่สุดสำาหรับแก้
  • 11. ปัญหา โดยนำาข้อมูล และความรู้ที่รวบรวมได้ มาประกอบ กันจนได้ข้อสรุปว่า จะเลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือวิธีการ สนองความต้องการเป็นแบบใด โดยวิธีการที่เลือกอาจยึด แนวที่ว่า เมื่อเลือกแล้วจะทำาให้สิ่งนั้นดีขึ้น (Better) สะดวกสบายหรือรวดเร็วขึ้น(Faster speed) ประหยัด ขึ้น (Cheaper) รวมทั้งวิธีการเหล่านี้ จะต้องสอดคล้อง กับทรัพยากร (Resource) ที่มีอยู่ 4. ออกแบบและปฏิบ ัต ิก าร (Design and making) ขั้นตอนนี้ต้องการให้นักเรียนรู้จักคิดออกแบบ ซึ่งไม่ จำาเป็นต้องเป็นสิ่งของเครื่องใช้เสมอไป อาจเป็น วิธีการ ก็ได้ และการออกแบบไม่จำาเป็นต้องเขียนแบบเสมอไป อาจเป็นแค่ลำาดับความคิด หรือจินตนาการให้เป็นขั้นตอน ซึ่งรวมปฏิบัติการลงไปด้วย นั่นคือเมื่อออกแบบแล้วต้อง ลงมือทำา และลงมือปฏิบัติในสิ่งที่ ออกแบบไว้ 5. ทดสอบ (Testing to see if it works) เป็นการนำา สิ่งประดิษฐ์หรือวิธีการนั้นทดลองใช้เพื่อทดสอบว่าใช้งาน หรือทำางานได้ หรือไม่มีข้อบกพร่องอย่างไร ถ้ายังไม่ได้ก็ ไปสู่ขั้นตอนต่อไป คือ ปรับปรุง แก้ไข 6. การปรับ ปรุง แก้ไ ข (Modification and improvement) หลังจากการทดสอบผลแล้วพบว่า สิ่ง ประดิษฐ์ที่สร้างขึ้น หรือวิธีการที่คิดขึ้นไม่ทำางานมีข้อ บกพร่อง ก็ทำาการปรับปรุงแก้ไข โดยอาจเลือกวิธีการ ใหม่ก็ได้คือย้อนไปขั้นตอนที่ 3 7. ประเมิน ผล (Assessment) หลังจากปรับปรุงแก้ไข จนใช้งานได้ดีตามวิธีการที่ออกแบบแล้ว ก็นำามาประเมิน ผลโดยรวม โดยพิจารณาดังนี้ บางกิจกรรมอาจไม่ครบทั้ง 7 ขั้นตอนก็ได้ บางกิจกรรมขั้นตอนอาจสลับกันไปบ้าง ก็ได้แต่เมื่อนำาไปใช้ แล้ว นักเรียนรู้จักที่จะทำางานเป็นขั้น ตอน เป็นระบบ ย้อนกลับมาดู หรือแก้ไขได้ตามขั้นตอนที่ ทำาไปได้
  • 12. 3. หลัก การออกแบบผลิต ภัณ ฑ์ ประเภทเฟอร์น ิเ จอร์ 1. การออกแบบเฟอร์น ิเ จอร์ต ามรูป แบบดัง เดิม ที่ม ีอ ยู่ เช่น การออกแบบเฟอร์นิเจอร์ในรูปแบบไทย, แบบจีน, แบบ อังกฤษ, แบบฝรั่งเศส และแบบเมติเตอเรเนียน เป็นต้น ซึ่ง การออกแบบเฟอร์นิเจอร์รูปแบบนี้จะได้รับอิทธิพลหรือแรง บันดาลใจมาจากเฟอร์นิเจอร์รูปแบบดังเดิมที่มีการใช้งานอยู ในแต่ละยุคสมัย 2. การออกแบบเฟอร์น ิเ จอร์ต ามรูป แบบท้อ งถิ่น ซึ่งจะ เป็นการออกแบบที่มีการนำาวัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่นนั้นๆ มาเป็น ส่วนประกอบหลักของชิ้นงาน เช่น ไม้ไผ่หรือหวาย รวมไป ถึงชีวิตและรูปแบบความเป็นอยู่ของท้องถิ่นนั้น เช่น ความ เรียบง่ายในชีวิต ความเป็นอยู่ ทำาให้ไม่ต้องการเฟอร์นิเจอร์ ที่มีรายละเอียดหรือการตกแต่งมากนัก เป็นต้น 3. การออกแบบเฟอร์น ิเ จอร์ต ามแบบสมัย นิย ม ซึ่ง เป็นการออกแบบตามนิยมของยุคสมัย เช่น รูปทรงหรือการ ใช้สีของเฟอร์นิเจอร์มีการนำาวัสดุอื่นๆ เช่น โลหะ เหล็ก พลาสติก กระจกสี มาใช้ในการตกแต่งเฟอร์นิเจอร์เพิ่มเติม เพื่อความสวยงาม เป็นต้น ซึ่งการออกแบบผลิตภัณฑ์งาน เหล็กอาจไม่ได้มีรูปแบบตายตัวหรือยึดตามแนวทางใดแบบ ร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่อาจจะต้องมีการประยุกต์เพื่อให้เข้ากับ ความต้องการชองลูกค้าและการใช้งานในชีวิตประจำาวัน
  • 13. 4. ความรู้เ กี่ย วกับ โปรแกรม Sketch Up โปรแกรมที่ใช้ในการออกแบบ Model 3 มิติ สามารถสร้าง งานเขียนแบบหรือภาพจำาลองได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว แม้ว่าผู้ ที่ไม่มีประสบการณ์ในการทำางานโปรแกรม 3 มิติมาก่อน ก็ สามารถที่จะเรียนรู้ และลองหัดสร้าง Model 3 มิติด้วยเครื่องมือที่ มีให้ในโปรแกรมได้อย่างง่ายดายและรวดเร็ว Sketchup ถูก พัฒนาขึ้นโดยบริษัท @Last ในปี ค.ศ.1999 ซึ่งมีเป้าหมายที่จะ พัฒนาโปรแกรมออกแบบ Model 3 มิติ โดยมี Interface ที่เรียบ ง่ายและใช้งานสะดวก ให้ผู้ใช้งานสนุกกับการสร้างและออกแบบ ทำาให้ผู้ออกแบบมีลูกเล่นในส่วนของงานออกแบบและนำาเสนอ โดยที่โปรแกรมอื่นๆ ไม่สามารถทำาได้ ปัจจุบัน SketchUp ได้ถูกแบ่งออกเป็น 2 ระดับด้วยกันคือ ระดับ Personal Use และแบบมือโปรที่เป็น Professional Use ซึ่งก็คือ Google SketchUp และ SketchUp Pro นั่นเอง โดยจุดที่แตกต่างกันของทั้งสองประเภทก็คือ การส่ง อ อ ก ไ ฟ ล์ ก า ร ส ร้า ง Interactive Presentations และการพิมพ์ (Print) ที่มีความละเอียด (Resolutions) ที่แตกต่าง กัน SketchUp Pro ก็จะมีทุกอย่างที่สมบูรณ์แบบ แต่ใน Google SketchUp ก็จะมีเท่าที่จำาเป็น ที่น่าสนใจก็คือ Sketch Up มีฟังก์ชั่นสำาหรับการ Get Models และ Share Models โดยที่สามารถนำาไฟล์ชิ้นงานสาม มิติที่มผู้อื่นได้ทำาไว้แล้ว หรือที่เราได้สร้างขึ้นนำาไปแบ่งปันกันผ่าน ี ระบบเครือข่าย โดยสร้างระบบคลังข้อมูลขึ้นมาภายใต้ชื่อว่า 3D Warehouse SketchUp นั้นสามารถนำาไปใช้งานได้หลากหลายรูปแบบ เช่น งานออกแบบสถาปัตยกรรม วิศวกรรม ออกแบบภายใน การ ออกแบบผลิตภัณฑ์ต่างๆ เกมส์คอมพิวเตอร์ ฯลฯ
  • 14. 1. งานออกแบบอาคาร ออกแบบและตกแต่งภายใน (Architecture & Interior Design) ภาพที่ 2.1 งานออกแบบอาคาร ออกแบบและตกแต่งภายใน 2. งานออกแบบทางวิศวกรรม ออกแบบชิ้นงานหรือ เครื่องจักร (Engineering) ภาพที่ 2.2 งานออกแบบทางวิศวกรรม ออกแบบชิ้นงานหรือเครื่องจักร 3. งานออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ (Gaming)
  • 15. ภาพที่ 2.3 งานออกแบบเกมคอมพิวเตอร์ เมื่อเทียบกับโปรแกรม 3 มิติอื่นๆ  Google Sketchup มีขนาดเล็กกว่าหลายเท่า เมื่อเทียบกับ โปรแกรมออกแบบ Model 3 มิติอื่นๆ (เวอร์ชั่น Free มี ขนาดเพียง 31 MB)  Spec ที่ใช้ไม่สูงมากนัก (มี Ram 128 MB และการ์ดแสดง ผล 3 มิติที่สนับสนุน OpenGL ก็สามารถทำางานได้)  สามารถทำางานร่วมกับโปรแกรม 3 มิตอื่นๆได้ เช่น ิ 3dsMax หรือ AutoCad  สามารถอัพโหลดไฟล์ที่ได้ ขึ้นไปไว้บน Server ของ Google เพื่อให้ผอื่นติชมและโหลดไปใช้ได้ หรือจะไป ู้ ประดับไว้บนแผนที่โลกของ Google ได้อีกด้วย บทที่ 3 การเลือ กวิธ ีก าร / กรอบแนวคิด ในการ ดำา เนิน งาน ในการจัดทำาโครงงาน กล่องอี้ ผู้จัดทำาได้มีกรอบแนวคิดหรือขั้น ตอนในการดำาเนินงานดังนี้
  • 16. 3.1 กรอบแนวคิด ในการทำา โครงงาน กล่อ งอี้ เริ่มต้น ศึกษาปัญหา / ศึกษาหาปัญหาหรือความ ความต้องการของ ต้องการของผู้บริโภคที่มีความ ต้องการอยากจะใช้สิ่งประดิษฐ์ ไปช่วยเหลือชีวิตความเป็นอยู่ คิดหาสิ่งประดิษฐ์ คิดหาสิ่งประดิษฐ์ที่ต้องการ เพื่อ ใหม่ๆ เพื่อตอบ ตอบสนองกับปัญหาที่เราได้มา สนองความ ศึกษามาก่อนหน้านี้ โดยคิดหา หลายๆ สิ่งประดิษฐ์ เพื่อที่จะ คิดหาสิ่งประดิษฐ์ที่ต้องการ เพื่อ คิดหาสิ่งประดิษฐ์ ตอบสนองกับปัญหาที่เราได้มา ใหม่ๆ เพื่อตอบ ศึกษามาก่อนหน้านี้ โดยคิดหา สนองความ หลายๆ สิ่งประดิษฐ์ เพื่อที่จะ
  • 17. คัดเลือกสิ่ง คัดเลือกสิ่งประดิษฐ์ที่ต้องคำานึง ประดิษฐ์ที่มีความ ถึงความเหมาะสมต่อผู้จัดทำา เป็นไปได้ในการ โครงงานและความเป็นไปได้ใน การสร้างสิ่งประดิษฐ์ เพื่อที่จะ เมื่อเลือกสิ่งประดิษฐ์ที่เหมาะสม เลือกสิ่งประดิษฐ์ที่ ที่สุดได้แล้ว หลังจากนั้น จึง เป็นไปได้มาก วางแผนการทำางานในการสร้าง ที่สดมา 1 ผลงาน ุ ซือวัสดุอุปกรณ์ ้ จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการสร้าง และสร้างสิ่ง ผลงาน และดำาเนินการสร้าง ประดิษฐ์ที่ได้ โดยการสร้างสิ่งประดิษฐ์ด้วย
  • 18. ทดสอบการ ใช้งานไม่ ปรับปรุงและแก้ไขผลงาน ทำางานและ ให้มีความสมบูรณ์พอที่จะ ความแข็งแรง ของผลงาน ผลงานดี นำาเสนอผลงาน ต้องปรับปรุง กับครูที่ปรึกษา เพื่อให้คำา แนะนำาเพื่อนำา ใช้งานได้ ไปปรับปรุง แก้ไข นำาเสนอผลงานต่อหน้าชั้นเรียน เปิดโอกาสให้เพื่อนๆร่วมชั้น นำาเสนอผลงาน เรียนเปิดโอกาสได้ถาม รวมถึง เขียนรายงานสรุปการทำางาน เขียนรายงานสรุป ของโครงงานตั้งแต่เริ่มต้น การทำางานของ วางแผนการทำางานจนถึงสรุป การทำางานและสิ้นสุดการ
  • 19. รับเลือกนำาไป นำาไปประกวดในวัน ได้รับเลือก ประกวดในวัน งานเปิดบ้านบานเย็น งาน Open House ไม่ได้รับ นำาผลงานที่สร้างนั้นไป นำาผลงานที่เรา ใช้ได้จริง โดยสามารถนำา สร้างนั้นไปใช้ได้ ไปใช้เองก่อน หรือ คิดต่อย อดจากความคิดเดิม เพื่อนำา จบ 3.2 การนำา ความรู้จ ากสาระต่า งๆ มาบูร ณการในการทำา โครง งาน กล้อ งอี้ สาระเศรษฐศาสตร์ เรื่องในการหาความ สาระคณิต ศาสตร์ ต้องการของมนุษย์ที่ เรื่อง การวัดขนาดของ ปัญหาในการ สิ่งประดิษฐ์ ในการ
  • 20. ออกแบบ ตลอดเวลา โครงงาน กล่อ งอี้ สาระคอมพิว เตอร์ เรื่อง การใช้โปรแกรม ในการออกแบบผ่าน ทางคอมพิวเตอร์ เช่น โปรแกรม Sketch Up บทที่ 4 ผลการปฏิบ ัต ิง าน ในการดำาเนินงานโครงงาน ที่คั่นหนังสือไฟฉาย ผู้จดทำาได้ดำาเนิน ั การตามกระบวนการเทคโนโลยี 7 ขั้นตอน ของ สถาบันส่งเสริมการ สอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ดังนี้
  • 21. ขั้น ตอนที่ 1 การกำา หนดปัญ หาและความต้อ งการ (Identification the problem, need or preference) คนที่ติดหนังสือ ต้องอ่านหนังสืออยู่ตลอดเวลานั้น บางทีสถานที่เหล่านั้น ไม่เอื้ออำานวยในการอ่านหนังสือ เพราะ ความมืดนั้นเอง เช่น อ่านบนรถประจำาทางขณะเดินทางตอนกลาง คืน เพราะเราไม่สามารถเปิดอ่านหนังสือในที่มืดได้ และเราจะ รบกวนผู้โดยสารที่อยู่ข้างๆ เบาะที่นั่งของเราด้วย ถ้าเราเปิดไฟ ในรถประจำาทาง ดังนั้นจึงคิดหาวิธีในการสร้างสิ่งประดิษฐ์ ที่ สามารถแก้ปัญหาและสามารถช่วยให้เหล่านอนหนังสือ หรือผู้ที่ ได้อ่านหนังสือนั้น สามารถอ่านหนังสือได้อย่างสมใจ และไม่ รบกวนผู้โดยสารที่นั่งอยู่ข้างๆ เราอีกด้วย ขั้น ตอนที่ 2 รวบรวมข้อ มูล เพื่อ แสวงหาวิธ ีก ารแก้ป ัญ หาหรือ สนองความต้อ งการ (Information) เมื่อได้ปัญหาและความต้องการของมนุษย์ที่ต้องการหาพื้นที่ ในการเก็บของได้แล้ว ต้องมาหาวิธีการการตอบสนองความ ต้องการให้กับผู้ที่ต้องการสิ่งประดิษฐ์ที่เราก็สามารถในการ ประดิษฐ์ผลงานออกมา ซึ่งสามารถคิดออกมาได้อยู่ 2 ผลงาน ได้แก่ 1. โคมไฟอ่านหนังสือแบบตั้งโต๊ะ เป็นโคมไฟที่มีขนาดเล็ก กะทัดรัด สามรถใช้ตั้งโต๊ะในการอ่านหนังสือเตรียมสอบ ต่าง เพิ่มแสงสว่างในการอ่านหนังสือ สามารถอ่าน หนังสือได้ง่ายๆ และแสงสว่างในการอ่านนั้นมีมาก 2. ที่คั่นหนังสือไฟฉาย เป็นที่คั่นหนังสือที่มีไฟฉาย ติดอยู่ ข้างบนสิ่งประดิษฐ์เป็นดวงเล็กๆ และสามารถคั่นหนังสือ เมื่อเราอ่านไม่จบได้ ไฟฉายสามารถเปิดในเวลาที่มีแสง สว่างไม่พอในการอ่านหนังสือ และเป็นไฟฉายดวงเล็ก ไม่รบกวนผู้อื่นอีกด้วย
  • 22. ขั้น ตอนที่ 3 เลือ กวิธ ีก ารแก้ป ัญ หาหรือ สนองความต้อ งการ (Selection of the best possible solution) การคัดเลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการ ของผล งานที่จะต้องใช้วิธีการในการแยกแยะออกมา ถือว่าเป็นการคิดวิธีการ แก้ปัญหาอย่างรอบครอบ เพื่อเป็นการลดความเสียหายและความราบรื่น การทำางานออกมาได้ เราสามารถแบ่งการเลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือ ความตอบสนองความต้องการได้ 2 รูปแบบ ดังนี้ 1. การวิเคราะห์หลักการแบบหาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) 2. การวิเคราะห์การแยกแยะองค์ประกอบในการประดิษฐ์ผลงาน 1. การวิเ คราะห์ห ลัก การแบบหาจุด แข็ง จุด อ่อ น (SWOT) หัว ข้อ ที่ โคมไฟอ่านหนังสือ ที่คั่นหนังสือไฟฉาย วิเ คราะห์ แบบตั้งโต๊ะ - ไฟสว่างกว่าที่คั่น - สามารถพกพาได้ หนังสือไฟฉาย สะดวกเฉพาะมีขนาด S= เล็ก Strengths - สามารถใช้ส่อง จุดแข็งหรือจุด หนังสือได้ทุกขนาด - ใช้ได้ทุกที่ เด่น - ใช้ถ่าน - ใช้คั่นหนังสือได้ W= -ใช้ได้เฉพาะสถานที่ที่ -ได้แสงสว่างน้อยกว่า Weaknesse มีเต้าเสียบ โคมไฟ s จุดอ่อนหรือจุด -พกพาไม่สะดวก ด้อย O= ทุกที่ที่มีเต้าเสียบ ได้ทุกเมื่อ Opportunit ies โอกาสในการ ทำางาน T= ถ้าไม่มีเตาเสียบ โคม ใช้ได้กับหนังสือเล่มที่
  • 23. Threats ไฟก็ไม่สามารถใช้ได้ ไม่ใหญ่มาก อุปสรรคใน การทำางาน ตารางที่ 4.1 ตารางการแยกแยะ SWOT 2. การวิเ คราะห์ก ารแยกแยะองค์ป ระกอบในการประดิษ ฐ์ผ ล งาน ความทด ความ ความ หัว ข้อ ใน ขนาด ต้นทุน ทาน สวยงาม ต้องการ การ สะดวก = 1 สะดวก = 1 สะดวก = 1 สะดวก = 1 สะดวก = 1 รวม ประเมิน ไม่สะดวก = ไม่สะดวก = ไม่สะดวก = ไม่สะดวก = ไม่สะดวก = 0 0 0 0 0 โคมไฟ อ่าน 0 1 1 0 0 2 หนังสือ ที่คั่น หนังสือ 1 0 0 1 1 3 ไฟฉาย ตารางที่ 4.2 ตารางแยกแยะองค์ประกอบในการประดิษฐ์ผลงาน สรุปผลงานที่จะต้องนำามาออกแบบและสร้างผลงานในการทำางาน คือ ที่ คั่น หนัง สือ ไฟฉาย ขั้น ตอนที่ 4 ทดสอบ (Testing to see if it works)
  • 24. อยู่ในที่มืดแล้วลองเปิดไฟว่าสว่างเพียงพอ ที่สายตาเราจะ มองเห็นได้อย่างชัดเจนหรือไม่ หลังจากทดลอง หลอดไฟสว่าง เพียงพอ ขั้น ตอนที่ 6 การปรับ ปรุง แก้ไ ข (Modification and improvement) เปลี่ยนหลอดไฟให้แสงไฟพอดี ขั้น ตอนที่ 7 ประเมิน ผล (Assessment) ประเด็น ในการประเมิน เกณฑ์ 1. สิ่งประดิษฐ์สามารถแก้ปัญหาหรือสนองความ ดี ต้องการที่ระบุได้หรือไม่ 2. สวยงาม ดึงดูดใจผู้ใช้หรือไม่ ดี 3. แข็งแรงทนทานต่อการใช้งานหรือไม่ ดี 4. ต้นทุนสูงเกินไปหรือไม่ ดี
  • 25. บทที่ 5 สรุป ผล อภิป รายผล และข้อ เสนอแนะ สรุป ผลการทำา โครงงาน ที่ค ั่น หนัง สือ ไฟฉาย คนที่ติดหนังสือ ต้องอ่านหนังสืออยู่ตลอดเวลานั้น บางที สถานที่เหล่านั้น ไม่เอื้ออำานวยในการอ่านหนังสือ เพราะความมืดนั้นเอง เช่น อ่านบนรถประจำาทางขณะเดินทางตอนกลางคืน เพราะเราไม่ สามารถเปิดอ่านหนังสือในที่มืดได้ และเราจะรบกวนผู้โดยสารที่อยู่ ข้างๆ เบาะที่นั่งของเราด้วย ถ้าเราเปิดไฟ ในรถประจำาทาง ดังนั้นจึงคิด หาวิธีในการสร้างสิ่งประดิษฐ์ ที่สามารถแก้ปัญหาและสามารถช่วยให้ เหล่านอนหนังสือ หรือผู้ที่ได้อ่านหนังสือนั้น สามารถอ่านหนังสือได้ อย่างสมใจ และไม่รบกวนผู้โดยสารที่นั่งอยู่ข้างๆ เราอีกด้วย เมื่อได้ปัญหาและความต้องการของมนุษย์ที่ต้องการหาพื้นที่ใน การเก็บของได้แล้ว ต้องมาหาวิธีการการตอบสนองความต้องการ ซึ่ง สามารถคิดออกมาได้อยู่ 2 ผลงาน ได้แก่ 1. โคมไฟอ่านหนังสือแบบตั้งโต๊ะ 2. ที่คั่นหนังสือไฟฉาย การคัดเลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือตอบสนองความต้องการ ของผล งานที่จะต้องใช้วิธีการในการแยกแยะออกมา ถือว่าเป็นการคิดวิธีการ แก้ปัญหาอย่างรอบครอบ เพื่อเป็นการลดความเสียหายและความราบรื่น การทำางานออกมาได้ เราสามารถแบ่งการเลือกวิธีการแก้ปัญหาหรือ ความตอบสนองความต้องการได้ 2 รูปแบบ ดังนี้ 1. การวิเคราะห์หลักการแบบหาจุดอ่อน จุดแข็ง (SWOT) 2. การวิเคราะห์การแยกแยะองค์ประกอบในการประดิษฐ์ผลงาน
  • 26. สรุปผลงานที่จะต้องนำามาออกแบบและสร้างผลงานในการทำางาน คือ ที่ คั่น หนัง สือ ไฟฉาย อภิป รายผลการทำา โครงงาน ที่ค ั่น หนัง สือ ไฟฉาย จะการที่ได้ทำาโครงงานเล่มนี้มา ถือว่ารับประสบการณ์ต่างๆ มากมาย หลากหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นองค์ความรู้ใหม่ๆ ที่ได้รับจาก การศึกษาค้นคว้าหาข้อมูลด้านเกี่ยวกับความรู้ และความเป็นมิตรภาพระ ว่างสมาชิกในกลุ่มในการทำางานนั้น ถือว่าเป็นการรับรู้นิสัยซึ่งกันและ กัน ทำาให้เกิดมิตรภาพที่ดี ความมีนำ้าใจซึ่งกันและกันในสมาชิกในกลุ่ม อีกด้วย ความรู้ใหม่ที่ได้รับจากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลความรู้ทั้งหมด ที่ได้ จากการเริ่มต้นวางแผนในการทำาโครงงานนั้น เหมือนกับเราได้เป็นผู้ สำารวจหาความต้องการในตลาดความต้องการ ของผู้บริโภคส่วนใหญ่ ว่าจะต้องการสินค้า หรือสิ่งประดิษฐ์อะไรใหม่ๆ อีกหรือไม่ ในลำาดับถัด ไปเราได้รู้ถึงการใช้ความรู้ใหม่ๆ ในการใช้โปรแกรมในการออกแบบ สิ่งประดิษฐ์ที่เราได้คิดค้นมาผ่านทางโปรแกรมไว้ ซึ่งโปรแกรมที่คณะผู้ จัดทำานั้น ได้จัดทำาขึ้นนั้น ถือว่าเป็นความรู้สิ่งใหม่ เพราะเนื่องจากว่า โปรแกรมที่ได้นำามาออกแบบนั้น คณะผู้จัดทำานั้น ไม่เคยมีประสบการณ์ ในการใช้โปรแกรมนี้มาก่อน ก็ถือว่าเป็นความรู้ใหม่ที่ได้รับ ส่วนเรื่องที่นอกเหนือสิ่งอื่นใดๆ คือความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก ในกลุ่ม เราได้เห็นความถึงลักษณะนิสัยที่มีความช่วยเหลือกันต่อคนใน กลุ่ม ทุกคนในสมาชิกในกลุ่มต่างช่วยเหลือกันเป็นอย่างดี และคอยให้ กำาลังใจกันอยู่ตลอดมา ถือว่าเป็นพลังเล็กๆ ที่เราจะสร้างสิ่งประดิษฐ์ หรือผลงานชิ้นหนึ่งที่มีความยากในขั้นตอนการสร้างอยู่แล้ว ใครที่มี ความถนัดในเรื่องใด ก็จะทำาตามสิ่งที่ตนเองนั้น ใครถนัดในเรื่องของ การสร้างผลงานก็ สร้างผลงาน ส่วนใครที่ถนัดในการวางแผน การสรุป ผลนั้น ก็ทำา ต่างคนต่างทำางานในสิ่งที่ตนเองถนัด ผลงานนั้น ก็จะสำาเร็จ ลุล่วงไปได้ด้วยดี
  • 27. ดังนั้นการทำาโครงงานในครั้งนี้ ถือว่าเป็นประโยชน์ต่อทุกฝ่าย อย่างยิ่ง นอกจากได้ประสบการณ์อะไรใหม่ๆ ที่ไม่เคยทำามาก่อนเพิ่ม เติมและยังได้มิตรภาพที่ดีในการทำางาน ถือว่าเป็นรากฐานสำาคัญที่เรา จะทำางานที่เป็นลักษณะโครงการแบบนี้ต่อไปในภายภาคหน้าอีกด้วย ข้อ เสนอแนะของโครงงาน จากการที่ได้นำาเสนอโครงการไปนั้น ได้มีผู้ชมและผู้ฟังในการนำา เสนอ ถือว่าเป็นสิ่งตอบรับค่อนข้างดีและมีผู้ที่มีความสนใจกับโครงงาน ชิ้นนี้มาก แต่ก็ยังมีข้อเสนอแนะการทำางานให้มีการปรับปรุงต่อไปใน ภายภาคหน้า และสามารถให้ผู้ที่สนใจที่จะต่อยอดจากผลงานสิ่ง ประดิษฐ์ครั้งนี้ 1. เพิ่มความน่าสนใจของผลงาน 2. เพิ่มลูกเล่นในการทำางานของสิ่งประดิษฐ์นี้ 3. เพิ่มลักษณะรูปร่างของผลงาน ให้มีความแตกต่าง
  • 29. สรุป ผลการประเมิน ผลการทำา โครงงาน เรื่อ งทีค ั่น หนัง สือ ไฟฉาย ่ ประเภทของผู้ป ระเมิน
  • 31.
  • 32.
  • 33.
  • 34.
  • 35. บรรณานุก รม การุณ จงกิจณะ. การออกแบบและเทคโนโลยี . : สถาบันส่งเสริม การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ปีที่พิมพ์ 2554 ณัฐนิช มณีวรรณกุล. ความรู้เ กี่ย วกับ โปรแกรม Sketch Up [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.slideshare.net/piyaboon/sketchup-13232415 วันที่สืบค้นข้อมูล : 21 ธันวาคม 2555 ไม่ปรากฏชื่อ. ไอเดีย ในการออกแบบ [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.xn- - 13c2a5a7a3cwa.com วันที่สืบค้นข้อมูล : 21 ธันวาคม 2555
  • 36. ไม่ปรากฏชื่อ. Yourideaforjapan [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.yourideaforjapan.com วันที่สืบค้นข้อมูล : 21 ธันวาคม 2555
  • 37. ไม่ปรากฏชื่อ. Yourideaforjapan [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.yourideaforjapan.com วันที่สืบค้นข้อมูล : 21 ธันวาคม 2555
  • 38. ไม่ปรากฏชื่อ. Yourideaforjapan [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: www.yourideaforjapan.com วันที่สืบค้นข้อมูล : 21 ธันวาคม 2555