SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
ครูณาลัย รินฤทธิ์
ครู วิทยฐานะชานาญการพิเศษ
โรงเรียนเมืองปานพัฒนวิทย์ อาเภอเมืองปาน จังหวัดลาปาง
บทที่ 7
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
Projectile motion
อธิบาย วิเคราะห์และคานวณปริมาณต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์และทดลองการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนรู้และจาได้เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์
2. นักเรียนคิดคานวณเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ได้
3. นักเรียนคิดวิเคราะห์เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ได้
4. นักเรียนเข้าใจพร้อมอธิบายเกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ได้
ผลการเรียนรู้
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ (projectile motion)
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์หรือการเคลื่อนที่วิถีโค้ง เป็นการเคลื่อนที่ใน 2 มิติ ดังรูป
รูปจากการทดลองและบันทึกภาพอย่างต่อเนื่องพบว่า
1. วัตถุที่ตกในแนวดิ่งใช้เวลาเท่ากับวัตถุที่ตกในแนวโค้ง
2. การกระจัดของวัตถุ
2.1 วัตถุที่เคลื่อนที่ในแนวดิ่ง มีการกระจัดในแนวดิ่ง
2.2 วัตถุที่เคลื่อนที่แนวโค้ง มีการกระจัดในแนวดิ่งและการ
กระจัดในแนวระดับ
3. วัตถุทั้ง 2 อยู่ภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก
4. วัตถุที่เคลื่อนที่ในแนวดิ่งเรียกว่าการตกอิสระ วัตถุที่
เคลื่อนที่แนวโค้งเรียกว่า “การเคลื่อนที่โพรเจกไทล์”
การเคลื่อนที่ในแนวระดับของโพรเจกไทล์
เมื่อวัตถุถูกแรงกระทาให้เคลื่อนที่ไปตามแนวราบ
(แกน x) จะถูกแรงโน้มถ่วงของโลก (mറ
g) กระทาเพียง
แรงเดียว วัตถุจะเคลื่อนที่ไปตามแนวราบด้วย
ความเร็วคงตัว u และ u = ux
จะได้ว่า vx = ux ด้วยเช่นกัน
ดังนั้น (therefore) Sx = uxt
เมื่อ Sx คือ การกระจัดในแนวระดับ (m)
ux คือ ขนาดของความเร็วในแนวระดับ (m/s)
t คือ ช่วงเวลาของการเคลื่อนที่ (s)
วัตถุถูกแรงกระทาให้เคลื่อนที่ไป
ตามแนวราบ (แกน x) จะถูกแรงโน้ม
ถ่วงของโลก (mറ
g) กระทาเพียงแรง
เดียว ความเร่งของวัตถุในแนวดิ่ง จึง
เท่ากับ റ
g พบว่าวัตถุตกอย่างอิสระ
ดังนั้นสมการการเคลื่อนที่ของ
โพรเจกไทล์ในแนวดิ่งคือ
การเคลื่อนที่ในแนวดิ่งของโพรเจกไทล์
การหาความเร็ว v
ขนาดของความเร็วหาได้จาก
ทิศของความเร็วหาได้จาก
การหาการกระจัด s
ขนาดของการกระจัดหาได้จาก
ทิศของการกระจัดหาได้จาก
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ แบบทั่วไป (ความเร็วต้น u ไม่อยู่ในแนวระดับ)
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์แบบพื้นสู่พื้น
ขั้นที่ 1 แยกเวกเตอร์องค์ประกอบของ u เป็น
ux = u cos 
uy = u sin  : g เป็น บวก
โดยทั่วไป ใช้สมการ
หาเวลาทั้งหมดของการเคลื่อนที่ (คิดขาขึ้น) การกระจัดในแนวระดับ (sx) ถ้าโจทย์ไม่บอก t
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ของวัตถุที่ตกต่ากว่าจุดโยน
สรุปความรู้เรื่องโพรเจกไทล์
1. วัตถุที่ตกในแนวดิ่งใช้เวลาเท่ากับวัตถุที่ตกในแนวโค้ง
2. การกระจัดของวัตถุ
2.1 วัตถุที่เคลื่อนที่ในแนวดิ่ง มีการกระจัดในแนวดิ่ง
2.2 วัตถุที่เคลื่อนที่แนวโค้ง มีการกระจัดในแนวดิ่งและการ
กระจัดในแนวระดับ
3. วัตถุทั้ง 2 อยู่ภายใต้แรงโน้มถ่วงของโลก
4. วัตถุที่เคลื่อนที่ในแนวดิ่งเรียกว่าการตกอิสระ วัตถุที่
เคลื่อนที่แนวโค้งเรียกว่า “การเคลื่อนที่โพรเจกไทล์”
5. Sx = uxt
ความรู้เพิ่มเติม กรณีศึกษา
(ขออนุญาตเจ้าของข่าว เพื่อการศึกษาของนักเรียน)
10 ปียังไม่สาย! ปิดคดีหมอตกตึกดับ แม่ใจแกร่งเช่าหอพิสูจน์ถูกโยน จับแฟนรวมหัวฆ่า
เมื่อวันที่ 23 ธ.ค. ที่ห้องพิจารณาคดี 711 ศาลอาญา ถ.รัชดาภิเษก ศาลอ่านคาพิพากษาคดีอาญา
หมายเลขดา คดีระหว่างพนักงานอัยการสานักงานอัยการสูงสุดเป็นโจทก์ ยื่นฟ้อง นพ.ปราโมทย์ มั่นเมือง
จาเลยที่ 1 และ น.ส.จิตวิมล สุขสุวรรณ จาเลยที่ 2 ในข้อหาร่วมกันฆ่าผู้อื่นโดยเจตนา
โดยคดีนี้โจทก์ฟ้องจาเลยทั้งสองว่า เมื่อวันที่ 18 เม.ย. 2553 เวลากลางคืนก่อนเที่ยงจาเลยทั้งสองได้
ร่วมกันโยน นพ.ศรุต ทวีรุจจนะ จากชั้น 4 ซึ่งมีความสูงประมาณ 9.76 เมตรของอาคารที่พัก ในแขวง
คลองจั่น เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ ทาให้ร่างของ นพ.ศรุต กระทบพื้นคอนกรีตจนถึงแก่ความตาย
ศาลได้พิจารณาพยานหลักฐาน ทั้งพยานบุคคลและพยานหลักฐานทางนิติวิทยาศาสตร์มาประกอบแล้ว
เชื่อว่าจาเลยทั้งสองกระทาผิดจริง ศาลพิพากษาลงโทษจาเลยทั้ง 2 ร่วมกันฆ่าผู้ตายจริง ไม่ใช่กรณีที่
ผู้ตายฆ่าตัวตาย โดยมีสาเหตุจากเรื่องชู้สาว
แม่ของผู้ตาย กล่าวว่า เราต่อสู้มานานพอสมควร ทาให้รู้ว่าความยุติธรรมมีอยู่จริง เหมือนที่เห็นรับรู้
พิสูจน์มาว่าลูกไม่ได้ฆ่าตัวตาย ที่ผ่านมาตนเชื่อจากพยานหลักฐานไม่ได้คิดเอง เรื่องที่สงสัยว่าลูกคิดสั้นพอ
รู้ว่าพยานหลักฐานแสดงว่าเป็นไปไม่ได้ ตนจึงต้องหาความจริง ผลที่ออกมาก็เป็นที่พอใจกับคาตัดสิน
ความรู้เพิ่มเติม
การเคลื่อนที่ของวัตถุภายใต้แรงต้านอากาศ
จากสมการ พบว่า แรงต้านอากาศขึ้นอยู่กับ
ความเร็วของวัตถุยกกาลังสอง และพื้นที่ผิวของวัตถุ
กราฟของวัตถุที่ตกภายใต้แรงโน้มถ่วง
เมื่อคิดแรงต้านอากาศ ดังนี้
projectile motion

More Related Content

Similar to projectile motion

สื่อประสมปก
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปก
krupornpana55
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
krupornpana55
 
แผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิแผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิ
krupornpana55
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ss
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ss
 
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย... ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
riyanma
 
โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52
Dmath Danai
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
krupornpana55
 
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑
kroosomsri
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
supphawan
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
supphawan
 

Similar to projectile motion (20)

สื่อประสมปก
สื่อประสมปกสื่อประสมปก
สื่อประสมปก
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
แผนการสอน โมเมนตั้มและการชน หลักสูตร 2551
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์ หลักสูตรแกนกลาง 51
 
แผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิแผน 3 อุณหภูมิ
แผน 3 อุณหภูมิ
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
 
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพเด็กพิการทางการเคลื่อนไหว4
 
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย... ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์  เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์  สำหรับนักเรีย...
 ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง แสงและทัศนอุปกรณ์ สำหรับนักเรีย...
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52โครงการลูกเสือ 52
โครงการลูกเสือ 52
 
5.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 35.ตอนที่ 3
5.ตอนที่ 3
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑
คำนำโคลงโลกนิติ๓.๑
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.3
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
 
แผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็กแผน1สนามแม่เหล็ก
แผน1สนามแม่เหล็ก
 
09chap7
09chap709chap7
09chap7
 

More from Nalai Rinrith

More from Nalai Rinrith (13)

การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องเสียง
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องเสียงการเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องเสียง
การเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องเสียง
 
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียงพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
 
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียงพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องเสียง
 
บทคัดย่อการพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง
บทคัดย่อการพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้งบทคัดย่อการพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง
บทคัดย่อการพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง
 
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้งพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง
พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง
 
circular motion.pdf
circular motion.pdfcircular motion.pdf
circular motion.pdf
 
การเคลื่อนที่แบบวงกลม.pdf
การเคลื่อนที่แบบวงกลม.pdfการเคลื่อนที่แบบวงกลม.pdf
การเคลื่อนที่แบบวงกลม.pdf
 
abstract.pdf
abstract.pdfabstract.pdf
abstract.pdf
 
SWOT analysis
SWOT analysisSWOT analysis
SWOT analysis
 
Development of learning on Momentum and Collision for Mathayomsuksa 4/1 stude...
Development of learning on Momentum and Collision for Mathayomsuksa 4/1 stude...Development of learning on Momentum and Collision for Mathayomsuksa 4/1 stude...
Development of learning on Momentum and Collision for Mathayomsuksa 4/1 stude...
 
สื่อประสมชุดที่ 1 โมเมนตัมและการดล : Momentum and impulse
สื่อประสมชุดที่ 1 โมเมนตัมและการดล : Momentum and impulseสื่อประสมชุดที่ 1 โมเมนตัมและการดล : Momentum and impulse
สื่อประสมชุดที่ 1 โมเมนตัมและการดล : Momentum and impulse
 
แบบทดสอบประจำชุดที่ 2 การอนุรักษ์โมเมนตัมและการชนในหนึ่งมิติ
แบบทดสอบประจำชุดที่ 2 การอนุรักษ์โมเมนตัมและการชนในหนึ่งมิติแบบทดสอบประจำชุดที่ 2 การอนุรักษ์โมเมนตัมและการชนในหนึ่งมิติ
แบบทดสอบประจำชุดที่ 2 การอนุรักษ์โมเมนตัมและการชนในหนึ่งมิติ
 
โมเมนตัมและการดล (momentum and collision)
โมเมนตัมและการดล (momentum and collision)โมเมนตัมและการดล (momentum and collision)
โมเมนตัมและการดล (momentum and collision)
 

projectile motion