SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
ก
เรื่อง พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง
โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ และใช้ทฤษฎีการเรียนรู้เป็นฐาน
สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565
ชื่อผู้วิจัย นางณาลัย รินฤทธิ์
สถานที่ทำวิจัยโรงเรียนเมืองปานพัฒนวิทย์
ปีที่วิจัย 2565
บทคัดย่อ
การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อพัฒนาการให้เหตุผลประกอบ
ในการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้งของนักเรียน 2) เพื่อให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
เรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ
ของนักเรียนที่เรียนรู้ โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง กลุ่มเป้าหมาย
คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนเมืองปานพัฒนวิทย์
อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปาง ที่เรียนวิชา ว31202 ฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง จำนวน 1 ห้อง
12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลประกอบด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่
แนวโค้ง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง แบบสอบถามความพึงพอใจ
ของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง
และแผนการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง ค่า t ตามวิธีของวิลคอกซอน
ผลการวิจัยพบว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง มีประสิทธิภาพ
ของกระบวนการกับประสิทธิภาพของผลลัพธ์เท่ากับ 82.31/70.83 นักเรียนเรียนรู้ที่จะอ้างอิง
การคิดคำนวณ การใช้กฎ ทฤษฎี หลักการหรือผลการทดลองในการอธิบายเพื่อการตอบคำถาม
ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 4/1 ที่เรียนรู้ โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ความพึงพอใจ
ของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง
มีค่าเฉลี่ย 4.18 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก การสะท้อนผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากแบบบันทึก
ผลการสอน พบว่านักเรียนมีความสุขเมื่อได้ปฏิบัติการทดลองและนักเรียนใช้กฎ ทฤษฎี หลักการ
เป็นเหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้งเพิ่มขึ้นมากกว่าการใช้ผลการทดลอง
และผลการคำนวณ
ข
Title Develop reasoning to answer curved motion questions Using a package
of learning activities and learning theories as a foundation
for 4/1 student in the second semester of 2022 academic year.
Researcher Mrs. Nalai Rinrith
Research facility Muangpanpattanawit School.
Year of Research 2022
ABSTRACT
This classroom action research aimed to: 1) To develop students' reasoning to answer
questions about curved motion. 2) For students to have higher academic achievement at the
.01 level. 3) To study the satisfaction of students learning by using curved motion learning
activities package. The target group is students in Mathayomsuksa 4/1, where studied the
subject ว31202 Physics on curved motion. in the second semester of 2022 academic year,
Muangpanpattanawit School, Muangpan district, Lampang province, there are 12 students who
are studying about curved motion. The research instruments were the curved motion learning
activities package, the achievement on curved motion learning activities package, the satisfaction
assessment form on studying and the learning plan. The statistics used in the data analysis
were percentage, mean, standard deviation, efficiency of curved motion learning activities
package, and t value (t-test, the Wilcoxon matched-pairs signed-rang test).
The results of the research showed that efficiency of process and outcome were
82.31/70.83. Students learn to refer to calculations, rules, theories, principles or experimental
results in explanations to answer questions. The achievement means of the post-test scores of
the students taught by using the curved motion learning activities package were higher than
the mean of the pre-test scores at the .01 level of significant. Student satisfaction with
learning activities by using curved motion learning activities package, the mean was 4.18
which in the very satisfied level. Reflection on the results of learning activities from the
teaching record form It was found that the students were happy when doing the experiment.
Students use rules, theories, principles as rationale to answer the question of curved motion
increasing rather than experimental and computational results.

More Related Content

Similar to บทคัดย่อการพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง

เกมฟิเคชั่น.pdf
เกมฟิเคชั่น.pdfเกมฟิเคชั่น.pdf
เกมฟิเคชั่น.pdfssuser1c4d65
 
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57Aphitsada Phothiklang
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...omsnooo
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินsuwat Unthanon
 
ครูปฏิบัติการ1
ครูปฏิบัติการ1ครูปฏิบัติการ1
ครูปฏิบัติการ1Aekapong Hemathulin
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะโรงเรียนเดชอุดม
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนsalinkarn sampim
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างsomdetpittayakom school
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างsomdetpittayakom school
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีWichai Likitponrak
 
Chapter 1
Chapter 1 Chapter 1
Chapter 1 pyukyik
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตkrunum11
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02Wes Yod
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรpaween
 

Similar to บทคัดย่อการพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง (20)

เกมฟิเคชั่น.pdf
เกมฟิเคชั่น.pdfเกมฟิเคชั่น.pdf
เกมฟิเคชั่น.pdf
 
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
โครงร่างวิจัย+Reserch complete57
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
รายงานผลประเมินโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ โรงเรียนวัดโพธิ์ทอง(วิศิษฐ์ประชา...
 
บทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานินบทคัดย่อทานิน
บทคัดย่อทานิน
 
ครูปฏิบัติการ1
ครูปฏิบัติการ1ครูปฏิบัติการ1
ครูปฏิบัติการ1
 
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
ชุดกิจกรรมเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง พันธะโลหะ
 
960447
960447960447
960447
 
2222
22222222
2222
 
การวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
 
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่างBest practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
Best practice ครูยุภาพร ผลสว่าง
 
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมีวิจัยในชั้นเรียนเคมี
วิจัยในชั้นเรียนเคมี
 
Chapter 1
Chapter 1 Chapter 1
Chapter 1
 
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิตงานเดี่ยวโครงร่างคณิต
งานเดี่ยวโครงร่างคณิต
 
Best practice
Best practiceBest practice
Best practice
 
สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02สารนิพนธ์02
สารนิพนธ์02
 
ประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตรประเมินหลักสูตร
ประเมินหลักสูตร
 
R wichuta
R wichutaR wichuta
R wichuta
 

More from Nalai Rinrith

การเคลื่อนที่แบบวงกลม.pdf
การเคลื่อนที่แบบวงกลม.pdfการเคลื่อนที่แบบวงกลม.pdf
การเคลื่อนที่แบบวงกลม.pdfNalai Rinrith
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์Nalai Rinrith
 
Development of learning on Momentum and Collision for Mathayomsuksa 4/1 stude...
Development of learning on Momentum and Collision for Mathayomsuksa 4/1 stude...Development of learning on Momentum and Collision for Mathayomsuksa 4/1 stude...
Development of learning on Momentum and Collision for Mathayomsuksa 4/1 stude...Nalai Rinrith
 
สื่อประสมชุดที่ 1 โมเมนตัมและการดล : Momentum and impulse
สื่อประสมชุดที่ 1 โมเมนตัมและการดล : Momentum and impulseสื่อประสมชุดที่ 1 โมเมนตัมและการดล : Momentum and impulse
สื่อประสมชุดที่ 1 โมเมนตัมและการดล : Momentum and impulseNalai Rinrith
 
แบบทดสอบประจำชุดที่ 2 การอนุรักษ์โมเมนตัมและการชนในหนึ่งมิติ
แบบทดสอบประจำชุดที่ 2 การอนุรักษ์โมเมนตัมและการชนในหนึ่งมิติแบบทดสอบประจำชุดที่ 2 การอนุรักษ์โมเมนตัมและการชนในหนึ่งมิติ
แบบทดสอบประจำชุดที่ 2 การอนุรักษ์โมเมนตัมและการชนในหนึ่งมิติNalai Rinrith
 
โมเมนตัมและการดล (momentum and collision)
โมเมนตัมและการดล (momentum and collision)โมเมนตัมและการดล (momentum and collision)
โมเมนตัมและการดล (momentum and collision)Nalai Rinrith
 

More from Nalai Rinrith (9)

circular motion.pdf
circular motion.pdfcircular motion.pdf
circular motion.pdf
 
การเคลื่อนที่แบบวงกลม.pdf
การเคลื่อนที่แบบวงกลม.pdfการเคลื่อนที่แบบวงกลม.pdf
การเคลื่อนที่แบบวงกลม.pdf
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่โพรเจกไทล์
 
projectile motion
projectile motionprojectile motion
projectile motion
 
SWOT analysis
SWOT analysisSWOT analysis
SWOT analysis
 
Development of learning on Momentum and Collision for Mathayomsuksa 4/1 stude...
Development of learning on Momentum and Collision for Mathayomsuksa 4/1 stude...Development of learning on Momentum and Collision for Mathayomsuksa 4/1 stude...
Development of learning on Momentum and Collision for Mathayomsuksa 4/1 stude...
 
สื่อประสมชุดที่ 1 โมเมนตัมและการดล : Momentum and impulse
สื่อประสมชุดที่ 1 โมเมนตัมและการดล : Momentum and impulseสื่อประสมชุดที่ 1 โมเมนตัมและการดล : Momentum and impulse
สื่อประสมชุดที่ 1 โมเมนตัมและการดล : Momentum and impulse
 
แบบทดสอบประจำชุดที่ 2 การอนุรักษ์โมเมนตัมและการชนในหนึ่งมิติ
แบบทดสอบประจำชุดที่ 2 การอนุรักษ์โมเมนตัมและการชนในหนึ่งมิติแบบทดสอบประจำชุดที่ 2 การอนุรักษ์โมเมนตัมและการชนในหนึ่งมิติ
แบบทดสอบประจำชุดที่ 2 การอนุรักษ์โมเมนตัมและการชนในหนึ่งมิติ
 
โมเมนตัมและการดล (momentum and collision)
โมเมนตัมและการดล (momentum and collision)โมเมนตัมและการดล (momentum and collision)
โมเมนตัมและการดล (momentum and collision)
 

บทคัดย่อการพัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง

  • 1. ก เรื่อง พัฒนาการให้เหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ และใช้ทฤษฎีการเรียนรู้เป็นฐาน สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 ชื่อผู้วิจัย นางณาลัย รินฤทธิ์ สถานที่ทำวิจัยโรงเรียนเมืองปานพัฒนวิทย์ ปีที่วิจัย 2565 บทคัดย่อ การวิจัยในชั้นเรียนครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อพัฒนาการให้เหตุผลประกอบ ในการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้งของนักเรียน 2) เพื่อให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 3) เพื่อศึกษาความพึงพอใจ ของนักเรียนที่เรียนรู้ โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง กลุ่มเป้าหมาย คือนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4/1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 โรงเรียนเมืองปานพัฒนวิทย์ อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปาง ที่เรียนวิชา ว31202 ฟิสิกส์ เรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง จำนวน 1 ห้อง 12 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวมรวมข้อมูลประกอบด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่ แนวโค้ง แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง แบบสอบถามความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง และแผนการจัดการเรียนรู้ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง ค่า t ตามวิธีของวิลคอกซอน ผลการวิจัยพบว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง มีประสิทธิภาพ ของกระบวนการกับประสิทธิภาพของผลลัพธ์เท่ากับ 82.31/70.83 นักเรียนเรียนรู้ที่จะอ้างอิง การคิดคำนวณ การใช้กฎ ทฤษฎี หลักการหรือผลการทดลองในการอธิบายเพื่อการตอบคำถาม ผลการเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียนและหลังเรียน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4/1 ที่เรียนรู้ โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้ง มีค่าเฉลี่ย 4.18 อยู่ในระดับพึงพอใจมาก การสะท้อนผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้จากแบบบันทึก ผลการสอน พบว่านักเรียนมีความสุขเมื่อได้ปฏิบัติการทดลองและนักเรียนใช้กฎ ทฤษฎี หลักการ เป็นเหตุผลประกอบการตอบคำถามเรื่องการเคลื่อนที่แนวโค้งเพิ่มขึ้นมากกว่าการใช้ผลการทดลอง และผลการคำนวณ
  • 2. ข Title Develop reasoning to answer curved motion questions Using a package of learning activities and learning theories as a foundation for 4/1 student in the second semester of 2022 academic year. Researcher Mrs. Nalai Rinrith Research facility Muangpanpattanawit School. Year of Research 2022 ABSTRACT This classroom action research aimed to: 1) To develop students' reasoning to answer questions about curved motion. 2) For students to have higher academic achievement at the .01 level. 3) To study the satisfaction of students learning by using curved motion learning activities package. The target group is students in Mathayomsuksa 4/1, where studied the subject ว31202 Physics on curved motion. in the second semester of 2022 academic year, Muangpanpattanawit School, Muangpan district, Lampang province, there are 12 students who are studying about curved motion. The research instruments were the curved motion learning activities package, the achievement on curved motion learning activities package, the satisfaction assessment form on studying and the learning plan. The statistics used in the data analysis were percentage, mean, standard deviation, efficiency of curved motion learning activities package, and t value (t-test, the Wilcoxon matched-pairs signed-rang test). The results of the research showed that efficiency of process and outcome were 82.31/70.83. Students learn to refer to calculations, rules, theories, principles or experimental results in explanations to answer questions. The achievement means of the post-test scores of the students taught by using the curved motion learning activities package were higher than the mean of the pre-test scores at the .01 level of significant. Student satisfaction with learning activities by using curved motion learning activities package, the mean was 4.18 which in the very satisfied level. Reflection on the results of learning activities from the teaching record form It was found that the students were happy when doing the experiment. Students use rules, theories, principles as rationale to answer the question of curved motion increasing rather than experimental and computational results.