SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
Download to read offline
โครงสร้างรายวิชา
ที่ ชื่อหน่วยการ
เรียนรู้
ผลการเรียนเรียนรู้ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา
(ชั่วโมง)
น้าหนัก
คะแนน
1 การวัดค่ากลาง
ของข้อมูล
1. มีความรู้ความเข้าใจ
และแปลความหมาย
การวัดค่ากลางของ
ข้อมูล
ค่ากลางของข้อมูลมีวิธีหาได้หลายวิธีแต่ละ
วิธีมีความเหมาะสมต่างกัน ขึ้นอยู่กับ
ลักษณะของข้อมูลและวัตถุประสงค์ของผู้ใช้
ข้อมูล ค่ากลางที่นิยมใช้มี 3 ชนิดคือ
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม
6 3
2 การวัด
ตาแหน่งที่ของ
ข้อมูล
2. มีความรู้ความ
เข้าใจเกี่ยวกับการวัด
ตาแหน่งที่ของข้อมูล
การบอกลาดับที่ของคะแนนที่สอบได้โดย
ใช้ ควอไทล์ เดไซล์ เปอร์เซ็นไทล์ ทาให้
ทราบว่าได้ตาแหน่งที่ดีหรือไม่ดี
6 3
3 การวัดการ
กระจายของ
ข้อมูล
3. มีความรู้ความ
เข้าใจเกี่ยวกับการวัด
การกระจายของข้อมูล
การวัดการกระจายสัมบูรณ์บอกให้ทราบว่า
ข้อมูลชุดเดียวกันมีความแตกต่างกันมาก
น้อยเพียงใด ส่วนการเปรียบเทียบข้อมูลแต่
ละชุดว่าชุดใดกระจายมากกว่ากันต้องใช้การ
วัดการกระจายสัมพัทธ์
8 5
4 การแจกแจง
ปกติ
4. นาความรู้เรื่องค่า
มาตรฐานไปใช้ในการ
เปรียบเทียบข้อมูลได้
การเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ของ
นักเรียนต้องนาคะแนนมาเปลี่ยนเป็น
ค่ามาตรฐานจึงจะเปรียบเทียบกันได้
4 1
การทดสอบกลางภาค ครั้งที่ 1 2 11
4 การแจกแจง
ปกติ
5. หาพื้นที่ใต้เส้นโค้ง
ปกติ และนาความรู้
เกี่ยวกับพื้นที่ใต้เส้นโค้ง
ปกติไปใช้
เส้นโค้งของความถี่ที่มีการแจกแจงความถี่
ของข้อมูลปกติ เรียกว่า เส้นโค้งปกติการ
แก้ปัญหาโจทย์โดยใช้พื้นที่ใต้เส้นโค้ง
ปกติต้องใช้ตารางแสดงพื้นที่ใต้เส้นโค้ง
ปกติ
10 4
5 ความสัมพันธ์
เชิงฟังก์ชัน
ระหว่างข้อมูล
6. เข้าใจความหมาย
ของการสร้าง ความ
สัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของ
ข้อมูลที่ประกอบ
ด้วยสองตัวแปร
ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลเป็น
การนาสถิติไปใช้ในการทานายค่าตัวแปร
โดยข้อมูลที่นามาต้องมีสองตัวแปรและมี
ความเกี่ยวข้องกัน
2 1
โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค33201 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
ภาคเรียนที่ 1 เวลา 80 คาบ /ภาคเรียน จานวน 2.0 หน่วย
ที่ ชื่อหน่วยการ
เรียนรู้
ผลการเรียนเรียนรู้ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา
(ชั่วโมง)
น้าหนัก
คะแนน
5 ความสัมพันธ์
เชิงฟังก์ชัน
ระหว่างข้อมูล
7. สร้างความสัมพันธ์
เชิงฟังก์ชันของข้อมูลที่
ประกอบด้วยสองตัว
แปรและใช้ความ
สัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของ
ข้อมูลทานายค่าตัวแปร
ตามเมื่อกาหนดตัวแปร
อิสระให้
การสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่าง
ข้อมูลจะต้องใช้ข้อมูลจานวนมา
พอสมควร เพื่อให้ผลการทานายค่าตัวแปร
ตามไม่คลาดเคลื่อนจากที่ควรจะเป็นจริง
เมื่อกาหนดตัวแปรอิสระให้
6 2
8. สร้างความสัมพันธ์
เชิงฟังก์ชันของข้อมูลที่
ประกอบด้วยสองตัว
แปรที่อยู่ในรูปของ
อนุกรมเวลาโดยใช้
เครื่องคานวณ
การสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของ
ข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา จะกาหนด
ช่วงเวลาที่อยู่ตรงกลางเป็น 0หรือสอง
ช่วงเวลาที่อยู่ตรงกลางเป็น -1 และ 1
ขึ้นอยู่กับจานวนช่วงเวลาที่นามาสร้างเป็น
จานวนคี่หรือจานวนคู่
4 2
การทดสอบกลางภาค ครั้งที่ 2 2 9
6 ลาดับอนันต์
และอนุกรม
อนันต์
9. หาลิมิตของลาดับ
อนันต์โดยอาศัยทฤษฎี
เกี่ยวกับลิมิต
การหาลิมิตของลาดับอนันต์อาจหาได้โดย
พิจารณาจากกราฟหรืออาศัยทฤษฎี
เกี่ยวกับลิมิต
11 4
10. หาผลบวกของ
อนุกรมอนันต์ได้และนา
ความรู้เรื่องลาดับและ
อนุกรมไปใช้แก้ปัญหา
ผลบวกของอนุกรมอนันต์คือลิมิตของ
ลาดับผลบวกย่อยของอนุกรมอนันต์นั้น
อนุกรมอนันต์ที่หาผลบวกได้เรียกว่า
อนุกรมลู่เข้า อนุกรมอนันต์ที่หาผลบวก
ไม่ได้เรียกว่าอนุกรมลู่ออก
12 5
การทดสอบปลายภาค 2 30
ภาระงาน/การปฏิบัติ 5 20
รวม 80 100

More Related Content

What's hot

เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยChamada Rinzine
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณSaiiew
 
คณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรคณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรJiraprapa Suwannajak
 
Bloomstaxonomytesttha 141014001654-conversion-gate01
Bloomstaxonomytesttha 141014001654-conversion-gate01Bloomstaxonomytesttha 141014001654-conversion-gate01
Bloomstaxonomytesttha 141014001654-conversion-gate01Vincent Valentine
 

What's hot (7)

เอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูลเอกสารค่ากลางของข้อมูล
เอกสารค่ากลางของข้อมูล
 
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยวิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
วิชาโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัย
 
บทที่ 5
บทที่ 5 บทที่ 5
บทที่ 5
 
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณวิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
วิธีการสำคัญในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ
 
คณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไรคณิตศาสตร์คืออะไร
คณิตศาสตร์คืออะไร
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
Bloomstaxonomytesttha 141014001654-conversion-gate01
Bloomstaxonomytesttha 141014001654-conversion-gate01Bloomstaxonomytesttha 141014001654-conversion-gate01
Bloomstaxonomytesttha 141014001654-conversion-gate01
 

Similar to โครงสร้างรายวิชาค33201

เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2ben_za
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1arm_2010
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)Pochchara Tiamwong
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8Tsheej Thoj
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์ไชยยา มะณี
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1fa_o
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลwisnun
 
ค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอนค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอนothanatoso
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบNona Khet
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionarepingkung
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงkruteerapol
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงkruteerapol
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำsliderubtumproject.com
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8Nat Thida
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้องPochchara Tiamwong
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยsudaphud
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศThank Chiro
 

Similar to โครงสร้างรายวิชาค33201 (20)

เบญ2
เบญ2เบญ2
เบญ2
 
อาม1
อาม1อาม1
อาม1
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
42มาตรฐาน(ครูพื้นฐาน)
 
สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8สรุปบทที่ 8
สรุปบทที่ 8
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
ฟ้า1
ฟ้า1ฟ้า1
ฟ้า1
 
การวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผลการวัดผลและประเมินผล
การวัดผลและประเมินผล
 
ค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอนค32203 โครงการสอน
ค32203 โครงการสอน
 
การเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบการเขียนข้อสอบ
การเขียนข้อสอบ
 
Questionare
QuestionareQuestionare
Questionare
 
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
ดร.จิตติมาภรณ์ ส่วน 1
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุงการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ปรับปรุง
 
ตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslideตัวอย่างการทำslide
ตัวอย่างการทำslide
 
บทที่8
บทที่8บทที่8
บทที่8
 
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
15ตย.ตารางวิเคราะห์ความสอดคล้อง
 
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัยการวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
การวิจัยแบบง่ายสู่ครูนักวิจัย
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศเทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

โครงสร้างรายวิชาค33201

  • 1. โครงสร้างรายวิชา ที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ ผลการเรียนเรียนรู้ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก คะแนน 1 การวัดค่ากลาง ของข้อมูล 1. มีความรู้ความเข้าใจ และแปลความหมาย การวัดค่ากลางของ ข้อมูล ค่ากลางของข้อมูลมีวิธีหาได้หลายวิธีแต่ละ วิธีมีความเหมาะสมต่างกัน ขึ้นอยู่กับ ลักษณะของข้อมูลและวัตถุประสงค์ของผู้ใช้ ข้อมูล ค่ากลางที่นิยมใช้มี 3 ชนิดคือ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม 6 3 2 การวัด ตาแหน่งที่ของ ข้อมูล 2. มีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับการวัด ตาแหน่งที่ของข้อมูล การบอกลาดับที่ของคะแนนที่สอบได้โดย ใช้ ควอไทล์ เดไซล์ เปอร์เซ็นไทล์ ทาให้ ทราบว่าได้ตาแหน่งที่ดีหรือไม่ดี 6 3 3 การวัดการ กระจายของ ข้อมูล 3. มีความรู้ความ เข้าใจเกี่ยวกับการวัด การกระจายของข้อมูล การวัดการกระจายสัมบูรณ์บอกให้ทราบว่า ข้อมูลชุดเดียวกันมีความแตกต่างกันมาก น้อยเพียงใด ส่วนการเปรียบเทียบข้อมูลแต่ ละชุดว่าชุดใดกระจายมากกว่ากันต้องใช้การ วัดการกระจายสัมพัทธ์ 8 5 4 การแจกแจง ปกติ 4. นาความรู้เรื่องค่า มาตรฐานไปใช้ในการ เปรียบเทียบข้อมูลได้ การเปรียบเทียบคะแนนผลสัมฤทธิ์ของ นักเรียนต้องนาคะแนนมาเปลี่ยนเป็น ค่ามาตรฐานจึงจะเปรียบเทียบกันได้ 4 1 การทดสอบกลางภาค ครั้งที่ 1 2 11 4 การแจกแจง ปกติ 5. หาพื้นที่ใต้เส้นโค้ง ปกติ และนาความรู้ เกี่ยวกับพื้นที่ใต้เส้นโค้ง ปกติไปใช้ เส้นโค้งของความถี่ที่มีการแจกแจงความถี่ ของข้อมูลปกติ เรียกว่า เส้นโค้งปกติการ แก้ปัญหาโจทย์โดยใช้พื้นที่ใต้เส้นโค้ง ปกติต้องใช้ตารางแสดงพื้นที่ใต้เส้นโค้ง ปกติ 10 4 5 ความสัมพันธ์ เชิงฟังก์ชัน ระหว่างข้อมูล 6. เข้าใจความหมาย ของการสร้าง ความ สัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของ ข้อมูลที่ประกอบ ด้วยสองตัวแปร ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของข้อมูลเป็น การนาสถิติไปใช้ในการทานายค่าตัวแปร โดยข้อมูลที่นามาต้องมีสองตัวแปรและมี ความเกี่ยวข้องกัน 2 1 โครงสร้างรายวิชา รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม ค33201 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 80 คาบ /ภาคเรียน จานวน 2.0 หน่วย
  • 2. ที่ ชื่อหน่วยการ เรียนรู้ ผลการเรียนเรียนรู้ สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก คะแนน 5 ความสัมพันธ์ เชิงฟังก์ชัน ระหว่างข้อมูล 7. สร้างความสัมพันธ์ เชิงฟังก์ชันของข้อมูลที่ ประกอบด้วยสองตัว แปรและใช้ความ สัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของ ข้อมูลทานายค่าตัวแปร ตามเมื่อกาหนดตัวแปร อิสระให้ การสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่าง ข้อมูลจะต้องใช้ข้อมูลจานวนมา พอสมควร เพื่อให้ผลการทานายค่าตัวแปร ตามไม่คลาดเคลื่อนจากที่ควรจะเป็นจริง เมื่อกาหนดตัวแปรอิสระให้ 6 2 8. สร้างความสัมพันธ์ เชิงฟังก์ชันของข้อมูลที่ ประกอบด้วยสองตัว แปรที่อยู่ในรูปของ อนุกรมเวลาโดยใช้ เครื่องคานวณ การสร้างความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันของ ข้อมูลที่อยู่ในรูปอนุกรมเวลา จะกาหนด ช่วงเวลาที่อยู่ตรงกลางเป็น 0หรือสอง ช่วงเวลาที่อยู่ตรงกลางเป็น -1 และ 1 ขึ้นอยู่กับจานวนช่วงเวลาที่นามาสร้างเป็น จานวนคี่หรือจานวนคู่ 4 2 การทดสอบกลางภาค ครั้งที่ 2 2 9 6 ลาดับอนันต์ และอนุกรม อนันต์ 9. หาลิมิตของลาดับ อนันต์โดยอาศัยทฤษฎี เกี่ยวกับลิมิต การหาลิมิตของลาดับอนันต์อาจหาได้โดย พิจารณาจากกราฟหรืออาศัยทฤษฎี เกี่ยวกับลิมิต 11 4 10. หาผลบวกของ อนุกรมอนันต์ได้และนา ความรู้เรื่องลาดับและ อนุกรมไปใช้แก้ปัญหา ผลบวกของอนุกรมอนันต์คือลิมิตของ ลาดับผลบวกย่อยของอนุกรมอนันต์นั้น อนุกรมอนันต์ที่หาผลบวกได้เรียกว่า อนุกรมลู่เข้า อนุกรมอนันต์ที่หาผลบวก ไม่ได้เรียกว่าอนุกรมลู่ออก 12 5 การทดสอบปลายภาค 2 30 ภาระงาน/การปฏิบัติ 5 20 รวม 80 100