SlideShare a Scribd company logo
1 of 77
Download to read offline
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3
ครูนวพร ษัฏเสน
 การสื่อสารข้อมูล
 ทิศทางการสื่อสาร
 ชนิดของสัญญาณ
 อุปกรณ์สื่อสารข้อมูล
 ตัวกลางสื่อสารข้อมูล
 โปรโตคอล
 ชนิดของการเชื่อมต่อ
 การพิจารณาเลือกอุปกรณ์
และบริการในการสื่อสารข้อมูล
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 ประเภทของเครือข่าย
 สถาปัตยกรรมเครือข่าย
 เครือข่ายเฉพาะที่
 ชนิดของเครือข่ายเฉพาะที่
 อุปกรณ์พื้นฐานที่ใช้งานบน
เครือข่าย
 การประยุกต์ใช้เครือข่าย
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 ทาไมต้องสื่อสาร ?
 การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสองอุปกรณ์ผ่านตัวกลางส่งข้อมูล
ที่ใช้ในการสื่อสาร
 ส่วนประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล
Sender Receiver
Step 1:
Step 2:
Step 3:
……
Step 1:
Step 2:
Step 3:
……
Protocol Protocol
Media
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
Software
 การสื่อสารข้อมูล เป็นการส่งข้อมูลข่าวสารจากต้นทางไปยังปลายทางโดยผ่านช่องทางการ
สื่อสารทั้งสื่อแบบที่ต้องใช้สายและไม่ใช้สายนอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับชนิดของสัญญาณ
ประเภทของการส่งสัญญาณข้อมูล วิธีการสื่อสารข้อมูล ทิศทางการสื่อสารข้อมูล อุปกรณ์
แปลงสัญญาณ วิธีการแปลงสัญญาณ
 เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป เพื่อ
ติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน โดยทั่วไปจะประกอบด้วย ระบบคอมพิวเตอร์
ช่องทางการสื่อสารข้อมูล และอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อ นอกจากนั้นยังมีแบบจาลองไอเอสโอ
ซึ่งเป็นระบบเปิดเพื่อเป็นแนวทางมาตรฐาน เพื่อให้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ต่างระบบกัน
ทางานร่วมกันได้
การสื่อสารข้อมูล (Data communication) หมายถึง การ
ส่งข้อมูลหรือข่าวสาร จากผู้ส่งต้นทางไปยังผู้รับ
ปลายทางที่อยู่ห่างไกล โดยผ่านช่องทางการสื่อสารเพื่อ
เป็นสื่อกลางในการส่งข้อมูล ซึ่งอาจจะเป็นแบบใช้สาย
หรือไม่ใช้สายก็ได้ ส่วนข้อมูลหรือข่าวสารนั้นอาจจะ
เป็นข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว หรือข้อมูลที่เป็น
มัลติมีเดียก็ได้ ดังนั้นการสื่อสารข้อมูลจึงเป็นส่วนหนึ่ง
ของการสื่อสารโทรคมนาคม โดยเน้นการส่งผ่านข้อมูล
โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายเป็นหลัก
การสื่อสารข้อมูล (Data Communication)
องค์ประกอบพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้แก่ ผู้ส่ง (Sender)
ผู้รับ (Receiver) ข่าวสาร (Message) ตัวกลาง (Media) และโพรโท
คอล (Protocol) ซึ่งเป็นข้อตกลงร่วมกันในการสื่อสาร ตัวอย่างการ
สื่อสารข้อมูลเช่น การพูดคุยสื่อสารกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอนใน
ชีวิตประจาวัน ผู้ส่งคือผู้สอน ผู้รับคือนักเรียน ข่าวสารคือสิ่งที่ผู้สอน
บรรยาย ตัวกลางคืออากาศหรืออาจเป็นกระดานดา สาหรับโพรโท
คอล คือ ภาษาที่ใช้
ช่วงเวลา พัฒนาการของการสื่อสาร
สมัยโบราณ การส่งข้อความระยะไกลต้องอาศัยคนนาสาร สัญญาณ
ควันไฟ หรือนกพิราบสื่อสาร
พ.ศ. 2379 เซมมัวล์ มอร์ส (Samuel Morse) คิดค้นรหัสมอร์ส ซึ่ง
ถูกนามาใช้อย่างกว้างขวางและยังใช้ในการสื่อสารด้วย
โทรเลข
พ.ศ. 2419 อเล็กซานเดอร์ เกรแฮมเบล (Alexander Graham
Bell) ประดิษฐ์โทรศัพท์เพื่อการสื่อสารด้วยเสียงผ่านสาย
ตัวนา
ช่วงเวลา พัฒนาการของการสื่อสาร
พ.ศ. 2444
กูกลิโกโม มาร์โคนี (Gugligomo Marcon) ทดลองส่ง
รหัสมอร์สด้วยคลื่นวิทยุเพื่อการสื่อสารได้สาเร็จ
พ.ศ. 2501 สหรัฐอเมริกาส่งดาวเทียมเพื่อการสื่อสารขึ้นสู่อวกาศ
พ.ศ. 2512 อินเทอร์เน็ต
พ.ศ. 2513 การสื่อสารระหว่างเครื่องปลายทางที่อยู่ห่างไกลเข้ามายัง
คอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเพื่อประมวลผล
พ.ศ. 2516 การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ในระยะใกล้เพื่อทางาน
ร่วมกัน เช่น ระบบอีเทอร์เน็ต (Ethernet) โทเค็นริง
(Token Ring)
ช่วงเวลา พัฒนาการของการสื่อสาร
พ.ศ. 2522 ระบบโทรศัพท์เซลลูลาร์ (Cellular Phone) เริ่มมีใช้เป็ น
ครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุ่ น
พ.ศ. 2530 การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์แบบไร้สาย
 ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender)
 ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver)
 ข่าวสาร (Message)
 ตัวกลาง (Medium)
 โปรโตคอล (Protocol)
 ซอฟต์แวร์ (Software)
• ข้อมูล (Data)
• ข้อความ (Text)
• รูปภาพ (Image)
• เสียง (Voice)
การส่ง-รับข้อมูลเพื่อโอนถ่ายหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน
ระหว่างผู้ส่งและผู้รับจะสาเร็จขึ้นได้ต้องประกอบ ด้วย
ปัจจัยสาคัญ 2 ประการ คือคุณภาพของสัญญาณข้อมูลที่
ส่ง-รับกัน และคุณลักษณะของสายสื่อสาร สาหรับส่งผ่าน
ข้อมูล อย่างไรก็ตามเทคนิคการส่ง-รับข้อมูล ทั้งที่เป็น
สัญญาณอนาล็อกและดิจิตอล
 สัญญาณอนาล็อก (Analog Signal)
สัญญาณอนาล็อก คือ สัญญาณที่อยู่ในรูปแบบของคลื่น (Waveform)
ที่มีความต่อเนื่องกัน (Continuous) มีการเปลี่ยนแปลงระดับของ
สัญญาณขึ้น – ลงตามขนาดของสัญญาณ (Amplitude) และมีความถี่
(Frequency) ที่เรียกว่า Hertz (Hz) ตัวอย่างของสัญญาณอนาล็อก เช่น
เสียงพูด (Voice) กระแสไฟฟ้าสลับ เป็นต้น
 สัญญาณดิจิตอล (digital Signal)
สัญญาณดิจิตอล หรือเรียกว่า “สัญญาณพัลซ์ (Pulse Signal)”
สัญญาณที่มีระบบของสัญญาณเพียง 2 ระดับ คือ สูงและต่า การ
เปลี่ยนระดับสัญญาณจะไม่มีความต่อเนื่องกัน (Discrete) โดยปกติ
แล้วระดับสูงจะแทนด้วยตัวเลข 1 และระดับต่าจะแทนด้วย 0
 สัญญาณอนาล็อก (Analog signal)
◦ เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง เช่น สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์
◦ ข้อดี คือ ส่งในระยะไกลได้
◦ ข้อเสีย คือ สัญญาณถูกรบกวนได้ง่าย
ข้อมูลผิดพลาดได้
 สัญญาณดิจิตอล (Digital signal)
◦ สัญญาณอยู่ในรูปของตัวเลขฐานสอง คือ 0 และ 1
◦ ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์
◦ ข้อดี คือ แม่นยา มีความน่าเชื่อถือสูง
◦ ข้อเสีย คือ ผิดเพี้ยนได้ง่าย ถ้าเป็นการส่งในระยะไกล
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 Hertz (Hz) : หน่วยวัดความถี่ของสัญญาณข้อมูลแบบ Analog โดย
นับจานวนรอบของสัญญาณที่เกิดขึ้นภายใน 1 วินาที (รอบ/วินาที)
 Bit Rate : อัตราความเร็วในการส่งข้อมูลแบบดิจิตอล วัดจานวนบิต
ข้อมูลที่ส่งได้ในช่วงระยะเวลา 1 วินาที มีหน่วยเป็น Bit Per Second
(bps)
 Bandwidth : ระยะความถี่ที่สามารถส่งสัญญาณผ่านระบบสื่อสาร
ระบบหนึ่ง ๆ ได้
 แบบทิศทางเดียว (Simplex Transmission)
ผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลได้เพียงทางเดียวเท่านั้น ผู้รับไม่สามารถส่งข้อมูลตอบ
กลับมาได้ เช่น การกระจายเสียงทางวิทยุและการแพร่ภาพทางโทรทัศน์ เป็น
 แบบทางใดทางหนึ่ง (Half-duplex Transmission)
แต่ละฝ่ายสามารถรับ – ส่งข้อมูลได้แต่จะไม่สามารถทาได้ในเวลาเดียวกัน เช
การใช้วิทยุสื่อสารของตารวจ กระดานสนทนา (Web board) อีเมล์ เป็นต้น
 แบบสองทิศทาง (Full-duplex Transmission)
สามารถรับส่ง – ข้อมูลได้พร้อมกันทั้งสองทาง ตัวอย่างเช่น การคุยโทรศัพท์
สนทนาออนไลน์ในห้องสนทนา(Chat Room) เป็นต้น
 ทิศทางของสัญญาณที่เดินทางระหว่างสองอุปกรณ์ เพื่อติดต่อสื่อสาร
รับส่งข้อมูล
◦ แบบทางเดียว
(Simplex)
◦ แบบสองทางครึ่งอัตรา
(Half-duplex)
◦ แบบสองทางเต็มอัตรา
(Full-duplex)
18โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 แบบขนาน (Parallel Transmission)
• รับส่งข้อมูลครั้งละหลาย ๆ บิตพร้อมกัน
• จานวนของสายสื่อสารเท่ากับจานวนบิตของ
ข้อมูลที่ ต้องการส่งไปแบบขนานกัน
• เสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการรับส่งข้อมูลแบบ
อนุกรม
•ไม่สามารถส่งไปในระยะทางที่ไกล ๆ ได้เนื่องจาก
ข้อมูลแต่ละบิตอาจจะไปถึงปลายทางไม่พร้อมกัน
เร็วกว่าการส่งแบบอนุกรม
• นิยมใช้ในการรับส่งเพียงใกล้ ๆ เช่นการส่งข้อมูล
ออกไปพิมพ์ที่เครื่องพิมพ์เป็นต้น
 แบบอนุกรม (Serial Transmission)
• รับส่งข้อมูลครั้งละ 1 บิตเรียงตามลาดับกันไป
• ใช้สายสื่อสารเพียงเส้นเดียวเท่านั้น
• สามารถส่งไปได้ในระยะทางที่ไกล ๆ
• นิยมใช้ในการสื่อสารข้อมูลผ่านทาง
สายโทรศัพท์ เมาส์ และ COM Port
ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะเชื่อมต่อ
ระหว่างอุปกรณ์เครือข่ายเข้าด้วยกัน โดยทาหน้าที่เป็นอุปกรณ์ที่ให้
ข้อมูลเดินทางผ่านจากผู้ส่งไปสู่ผู้รับ ตัวกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล
มีหลายประเภท แต่ละประเภทมีความแตกต่างกันในด้านของปริมาณ
ข้อมูลที่ผ่านไปได้ในช่วงเวลาขณะใดขณะหนึ่ง การวัดปริมาณหรือ
ความจุในการนาเข้าข้อมูลที่เรียกว่า แบนด์วิดธ์ (Bandwidth) มี
หน่วยเป็นบิตต่อวินาที (bit per second) ตัวกลางในการสื่อสารมีทั้ง
แบบมีสายและไร้สาย ดังนี้
สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair : TP) ประกอบด้วย
เส้นลวดทองแดงหุ้มด้วยฉนวนพลาสติก 2 เส้นพันบิดเป็นเกลียว
เพื่อลดผลกระทบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียงภายใน
เคเบิลเดียวกันหรือจากภายนอก ในปัจจุบันสายคู่บิดเกลียวได้รับการ
พัฒนาจนสามารถใช้ส่งข้อมูลได้ด้วยอัตราเร็วมากกว่า 1 กิกะบิตต่อ
วินาทีในระยะทางไม่เกิน 100 เมตร เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวมีราคา
ไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี จึงมีการใช้งานอย่างกว้างขวาง สายคู่บิด
เกลียวมี 2 ชนิด คือ
ก) สายคู่บิดเกลียวแบบป้องกันสัญญาณรบกวนหรือ
เอสทีพี (Shielded Twisted Pair : STP)
เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยลวดถักชั้นนอกอีกชั้นดังรูป เพื่อป้องกัน
การรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ดียิ่งขึ้น จึงนิยมใช้ในสถานที่ที่มี
สัญญาณรบกวนสูง แต่มีราคาแพงกว่าสายยูทีพี
ข) สายคู่บิดเกลียวแบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวนหรือยูที
พี (Unshielded Twisted Pair : UTP)
เป็นสายคู่บิดเกลียวที่ไม่มีลวดถักชั้นนอกอีกชั้นดังรูป ทาให้สะดวก
ในการเดินสายเพราะโค้งงอได้ดี แต่สามารถป้องกันการรบกวนของ
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าชนิดแรก และมีราคาต่ากว่า สายชนิด
นี้นิยมใช้ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ในเครือข่ายทั่วไป เช่น ใช้ในการ
เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับแลน
สายโคแอกซ์หรือสายแกนร่วม (Coaxial cable) เป็นสายสัญญาณที่มีสาย
ทองแดงเดี่ยวเป็นแกนกลางหุ้มด้วยฉนวนเพื่อป้องกันไฟรั่ว จากนั้นหุ้มด้วย
ลวดทองแดงถักเป็นร่างแหล้อมรอบเป็นตัวกั้นสัญญาณรบกวนอยู่ด้านนอก
และหุ้มชั้นนอกด้วยฉนวนพลาสติก ลักษณะของสายเป็นแบบกลมและใช้
สาหรับสัญญาณความถี่สูง สายโคแอกซ์ที่ใช้ในระบบเครือข่ายมีหลายแบบตาม
คุณลักษณะทางด้านความต้านทานของสาย สายโคแอกซ์ที่พบใน
ชีวิตประจาวัน เช่น สายอากาศโทรทัศน์ ปัจจุบันในระบบเครือข่ายไม่นิยมใช้
ในการสื่อสารข้อมูลแล้ว
4. สายไฟเบอร์ออปติกหรือเคเบิลเส้นใยนาแสง
(Fiber Optic Cable)
ทาจากแก้วหรือพลาสติกที่มีความบริสุทธิ์สูง ใช้แสงในการสื่อสารข้อมูลทา ให้
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่สามารถรบกวนได้ ปัจจุบันสายไฟเบอร์ออปติก เป็นตัวกลางนา
สัญญาณที่สาคัญในการสื่อสารข้อมูลดิจิทัล เนื่องจาก สามารถรับส่งข้อมูลได้
ในปริมาณมากกว่า 1 กิกะบิตต่อวินาที ใช้ได้ใน ระยะทางไกลถึงหลายกิโลเมตร
และเกิดความผิดพลาดในการส่งข้อมูลต่า สายไฟเบอร์ออปติกมักนิยมใช้ในการ
เชื่อมต่อกันระหว่างเครือข่าย
บิตต่อวินาที (bit per second : bps)
กิโลบิตต่อวินาที (kilobit per second : kbps)
เมกะบิตต่อวินาที (megabit per second : Mbps)
กิกะบิตต่อวินาที (gigabit per second : Gbps)
1 kbps = 1,000 bps
1 Mbps = 1,000,000 bps
1 Gbps = 1,000,000,000 bps
การสื่อสารไร้สายอาศัยการส่งสัญญาณไปกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ซึ่งทาหน้าที่เป็นตัวกลางนาสัญญาณไร้สาย (Wireless transmission
media) โดยมีวิธีการส่งสัญญาณหลายวิธี และยังสามารถใช้งานช่วง
คลื่นที่ความถี่แตกต่างกันได้ด้วย คลื่นแต่ละช่วงความถี่ก็จะมี
คุณสมบัติในการนาสัญญาณผ่านสิ่งกีดขวางต่างๆ ที่ไม่เหมือนกัน
ช่วงคลื่นที่นิยมใช้กัน เช่น
คือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่อยู่ในช่วง 10 กิโลเฮิร์ตซ์ ถึง 1
กิกะเฮิร์ตซ์ ใช้งานในการติดต่อสื่อสารในระบบแลนไร้สาย
คือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่าคลื่นวิทยุ มีการนามาใช้
งานทั้งในแบบการสื่อสารระหว่างสถานีบนพื้นโลกด้วยกัน และใช้
สื่อสารระหว่างสถานีบนพื้นโลกกับดาวเทียม โดยถ้าเป็นการใช้งาน
ระหว่างสถานีบนพื้นโลกจะใช้คลื่นความถี่ในช่วง 4-6 กิกะเฮิร์ตซ์
หรือ 21-23 กิกะเฮิร์ตซ์ ปัจจุบันไมโครเวฟใช้ในการสื่อสารข้อมูล
ระหว่างสถานีที่การติดตั้งสายสัญญาณทาได้ยาก
เช่น ใช้ในการสื่อสารระหว่างภูเขากับ
พื้นราบใช้ในการถ่ายทอด
สัญญาณผ่านดาวเทียม
การส่งสัญญาณข้อมูลไปกับคลื่นไมโครเวฟจะเป็นการส่ง
สัญญาณข้อมูลแบบรับช่วงต่อๆ กันจากหอ ( สถานี ) ส่ง - รับ
สัญญาณหนึ่งไปยังอีกหอ หนึ่ง แต่ละหอจะครอบคลุมพื้นที่รับ
สัญญาณประมาณ 30- 50 กม.
การส่งสัญญาณข้อมูลด้วยไมโครเวฟมักใช้กันในกรณีที่การ
ติดตั้งสายเคเบิลทาได้ไม่สะดวก เช่นในเขตเมืองใหญ่ๆ หรือ
ป่าเขา แต่ละสถานี ไมโครเวฟจะติดตั้งจานส่ง - รับสัญญาณ
ข้อมูลซึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 10 ฟุต
คือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่าไมโครเวฟแต่ต่ากว่า
ความถี่ของแสงที่ตามนุษย์มองเห็นได้ ใช้กับการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีสิ่ง
กีดขวางระหว่างผู้ส่งกับผู้รับ โดยทั่วไปมักใช้ในการสื่อสารระยะใกล้
ประมาณไม่เกิน 10 เมตร ลักษณะการใช้งาน เช่น การใช้รีโมท
ควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ
ที่จริงดาวเทียมคือสถานีไมโครเวฟลอยฟ้านั่นเอง ซึ่งทา
หน้าที่ขยายและทบทวนสัญญาณข้อมูล รับและส่ง
สัญญาณข้อมูลกับสถานีดาวเทียม บนพื้นโลก สถานี
ดาวเทียมภาคพื้นจะทาการส่งสัญญาณข้อมูลไปยัง
ดาวเทียมซึ่งจะหมุนไปตามการหมุนของโลกซึ่งมีตาแหน่ง
คงที่ เมื่อเทียบ กับตาแหน่งบนพื้นโลก ดาวเทียมจะถูกส่ง
ขึ้นให้ไปลอยอยู่สูงจากพื้นโลกประมาณ 36,000 กม.
ดาวเทียม ( Satellite )
 ช่องทางที่ใช้เป็นทางเดินข้อมูล (Media/Channel)
 ตัวกลางที่ใช้เพื่อส่งผ่านข้อมูล มี 2 ชนิด
◦ มีสาย
◦ ไร้สาย
 แต่ละชนิดมีความถี่ต่างกัน เรียกว่า แบนด์วิธ (Bandwidth)
 ความถี่ของช่องสัญญาณจะเป็นตัวกาหนดความจุของข้อมูลที่ส่งไปในช่วงเวลาหนึ่ง
มีหน่วยเป็น บิตต่อวินาที (Bits per second : bps)
 ถ้ามีแบนด์วิธสูงก็จะรับส่งข้อมูลได้มาก
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 สายคู่ตีเกลียว (Twisted-pair)
◦ คล้ายสายโทรศัพท์ เหมาะกับระยะสั้น
◦ แบบมีฉนวนหุ้มและไม่มีฉนวนหุ้ม
 สายโคแอกเชียล (Coaxial cable)
◦ คล้ายสายทีวี ราคาแพง
◦ ป้องกันคลื่นรบกวนได้ดี ความเร็วต่า
 สายไฟเบอร์ออปติก (Fiber-optic)
◦ ใช้แสงในการนาข้อมูลผ่านท่อนาแสง
◦ ส่งข้อมูลได้ไว ราคาแพง สัญญาณรบกวนต่า
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 อินฟราเรด
◦ ใช้ในการส่งข้อมูลระยะใกล้ๆ เช่น remote control วิทยุ/ทีวี
◦ ความถี่สั้น ช่องทางสื่อสารน้อย
◦ ความเร็วประมาณ 4-16 Mbps
◦ ทะลุผ่านวัตถุไม่ได้ ต้องวางแนวเส้นตรงไม่เกิน 1-2 เมตร
 คลื่นวิทยุ
◦ มีหลายชนิด เช่น Bluetooth, VHF, UHF
◦ ความถี่แตกต่างกันไป ใช้ในการสื่อสารระยะใกล้
◦ ความเร็วต่าประมาณ 2 Mbps
◦ ไม่จาเป็นต้องอยู่แนวเดียวกับจุดส่ง ผ่านวัตถุขวางกั้นได้
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 คลื่นไมโครเวฟ
◦ เป็นคลื่นวิทยุชนิดหนึ่งที่มีความถี่สูงระดับ GHz
◦ เป็นคลื่นเส้นตรงในระดับสายตา
◦ ต้องมีจานรับส่งตามยอดตึก/เขาเพื่อส่งต่อสัญญาณ
◦ ความเร็วสูง ติดตั้งง่าย ประหยัด
◦ สภาวะอากาศมีผลต่อสัญญาณ
 ดาวเทียม
◦ คือสถานีไมโครเวฟลอยฟ้า รับสัญญาณจากโลก
◦ ดาวเทียม 3 ดวงก็ครอบคลุมโลกได้หมด
◦ ค่าอุปกรณ์ ติดตั้ง บริการแพง
◦ ความเร็วในส่งข้อมูลค่อนข้างช้า (166-400 Kbps)
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 กลุ่มของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน
 สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันภายในเครือข่ายได้
 ข้อดีของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
◦ สะดวกในการสื่อสาร
◦ ใช้ฮาร์ดแวร์ร่วมกัน
◦ ใช้ซอฟต์แวร์ร่วมกัน
◦ ใช้ข้อมูลและสารสนเทศร่วมกัน
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งตามขนาดบริเวณพื้นที่การ
บริการ
 เครือข่ายส่วนบุคคล (Personal Area Network : PAN)
 เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area Network : LAN)
 เครือข่ายนครหลวง (Metropolitan Area Network : MAN)
 เครือข่ายบริเวณกว้าง (Wide Area Network : WAN)
 ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งตามลักษณะการให้บริการ
 เครือข่ายแบบรับ-ให้บริการ (Client-Server Network)
 เครือข่ายระดับเดียวกัน (Peer to Peer Network : P2P)
เครือข่ายส่วนบุคคลหรือแพน (Personal Area Network : PAN) เป็น
การเชื่อมโยงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ใช้งาน แพนที่ใช้ในปัจจุบันคือ
แพนไร้สาย (Wireless PAN : WPAN) มีการใช้งานอย่างแพร่หลายซึ่งการ
เชื่อมต่อแบบนี้จะใช้ในระยะไม่เกิน 10 เมตร เช่น ใช้เทคโนโลยีบลูทูธ
(Bluetooth Technology) เชื่อมต่อโทรศัพท์เคลื่อนที่เข้ากับหูฟังและไมโครโฟน
ไร้สาย ใช้คลื่นวิทยุเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์กับเมาส์หรือคีย์บอร์ดแบบไร้สาย
ใช้อินฟราเรดหรือบลูทูธเชื่อมต่อพีดีเอกับเครื่องพิมพ์เข้าด้วยกัน
เครือข่ายเฉพาะที่หรือแลน (Local Area Network : LAN) เป็นการ
เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงกันหรือพื้นที่
เดียวกัน เช่น ภายในบ้าน ภายในอาคาร หรือภายในองค์กรที่มีระยะทางไม่ไกล
มากนัก แลนเป็นเครือข่ายที่แต่ละองค์กรดูแลและบริหารจัดการด้วยตนเอง
ขอบเขตของแลนมีตั้งแต่เครือข่ายขนาดเล็กที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ภายในห้อง
เดียวกันไปจนถึงเครือข่ายขนาดปานกลางที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ระหว่างห้อง
หรือระหว่างอาคาร เช่น ระบบเครือข่ายภายในโรงเรียนหรือบริษัท
นอกจากแลนแบบที่ต้องใช้สายนาสัญญาณแล้ว ปัจจุบันแลนแบบไร้สาย (Wireless
LAN : WLAN) ได้รับความนิยมในการใช้งานมากขึ้น เนื่องจากความสะดวกในการจัดวาง
ระบบที่ไม่ต้องอาศัยสายนาสัญญาณ ทาให้เหมาะสมกับการใช้งานในอาคารที่การเดิน
สายสัญญาณทาได้ยากหรือไม่สามารถเดินสายสัญญาณได้ เช่น การนาเทคโนโลยีไวไฟ
(WiFi technology) ไปใช้ในอาคารเก่าที่ได้รับการอนุรักษ์ ซึ่ง
ใช้แลนไร้สายสะดวกมากกว่า แลนไร้สายที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น
ไวไฟ ซึ่งรองรับความเร็วในการ
สื่อสารได้สูงกว่า 10 เมกะบิตต่อวินาที และครอบคลุมบริเวณ
ภายในรัศมี 100 เมตรในอาคาร หรือรัศมี 500 เมตรภายนอกอาคาร
ขึ้นอยู่กับความแรงของสัญญาณและสิ่งกีดขวาง
เครือข่ายนครหลวงหรือแมน (Metropolitan Area Network : MAN) เป็น
การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์หรือแลนหลายเครือข่าย ที่ตั้งอยู่ในบริเวณไม่ไกลกันนัก
หรือภายในอาณาเขตของเมืองเดียวกันเข้าด้วยกัน เช่น แลนของหน่วยงานเดียวกันที่
ตั้งอยู่ในบริเวณต่างๆ ของเมือง แมนอาจสร้างขึ้นจากเครือข่ายเฉพาะขององค์กรเอง
หรือใช้บริการสายวงจรสื่อสารที่เช่าจากผู้ให้บริการสัญญาณสื่อสารก็ได้ โดยที่
เทคโนโลยีที่ใช้ในแมนอาจใช้สายนาสัญญาณ เช่น ไฟเบอร์ออปติก หรือแบบไร้สาย
เช่น การใช้คลื่นไมโครเวฟ ในปัจจุบันมีการใช้เทคโนโลยีไวแมกซ์ (WiMax) ใน
แมน ตัวอย่างของแมนเช่น การเชื่อมโยงแลนระหว่างหลายๆ วิทยาเขตของ
สถานศึกษาที่อยู่ใกล้เคียงกันเข้าด้วยกัน
เครือข่ายบริเวณกว้างหรือแวน (Wide Area Network : WAN) เป็น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะห่างไกล เช่น
เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด ระหว่างประเทศ หรือระหว่างทวีป การสร้างแวนจึง
ต้องพึ่งพาระบบบริการเครือข่ายสาธารณะ เช่น วงจรเช่าจากผู้ให้บริการ
สัญญาณสื่อสารข้ามทวีป วงจรสื่อสารผ่านดาวเทียม แวนจึงเป็นเครือข่ายที่ใช้
กับองค์กรที่มีสาขาห่างไกล
และต้องการเชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น
ธนาคารที่มีสาขาทั่วประเทศใช้งานแวนเชื่อมโยง
บริการต่างๆ ระหว่างสาขา
เครือข่ายแบบรับ-ให้บริการ (Client-server Network) เป็นเครือข่ายที่มี
เครื่องบริการ (Server) ที่มีประสิทธิภาพและความเร็วสูงรองรับการขอใช้
บริการจากเครื่องรับบริการ สามารถให้บริการเครื่องรับบริการหลายครั้งในเวลา
เดียวกัน ทาให้สะดวกในการบริหารจัดการ บารุงรักษาทรัพยากรของระบบ
ตัวอย่างเช่น เครื่องบริการไฟล์ (File Server) เครื่องบริการงานพิมพ์ (Print
Server) เครื่องบริการเมล์ (Mail Server)
2) เครือข่ายระดับเดียวกัน
เครือข่ายระดับเดียวกัน (Peer to Peer Network : P2P) เป็นเครือข่ายที่
คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถทาหน้าที่ได้ทั้งเป็นเครื่องรับและให้บริการได้ใน
ขณะเดียวกัน และสามารถใช้งานทรัพยากรของเครื่องอื่นได้อย่างเท่าเทียมกัน
โดยที่ไม่มีเครื่องใดเครื่องหนึ่งทาหน้าที่เป็นเครื่องบริการโดยเฉพาะ จึงทาให้
เปรียบเสมือนกับว่าเครือข่ายเป็นแหล่งรวมของทรัพยากรเหล่านี้สามารถแบ่งกัน
ใช้ได้
แบ่งตามสถาปัตยกรรมของเครือข่าย
เป็นการกาหนดลักษณะและวิธีการรับส่งข้อมูลของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ในเครือข่าย โดยในแต่ ละ
สถาปัตยกรรมจะมีฮาร์ดแวร์ และ ซอร์ฟแวร์ ที่เป็นมาตรฐานของตนเอง โดยเฉพาะเพื่อให้สามารถใช้
งานร่วมกันได้อย่างไม่มีปัญหา
1. โทเค็นริง(Token Ring) เป็นสถาปัตยกรรมที่ไม่นิยมแล้วในปัจจุบันเนื่องจากใช้งานยาก มี
ค่าใช้จ่ายมากและมีความเร็วที่ไม่เพียงพอสาหรับการรับส่งข้อมูลในปัจจุบันซึ่งข้อมูลในระบบมี
แนวโน้มว่าจะมีขนาด ใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ โดยมีความเร็วสูงสุดประมาณ 16 Mbps
2. อีเทอร์เน็ต (Ethernet ) เป็นสถาปัตยกรรมหรือาจเรียกว่า เป็นเทคโนโลยีของเครือข่ายที่
ได้รับความนิยม ในทุกวันนี้เวลาที่ เราพูดถึง LAN เครือข่ายขนาดเล็กหรือโฮมเน็ตเวิร์คเราก็จะ
หมายถึงเครือข่าย แบบ Ethernet ในปัจจุบันมีอุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ ซอร์ฟแวร์ สายสัญญาณต่าง ๆ
มากมาย ที่สนับสนุนสถาปัตย กรรมแบบนี้อุปกรณ์ต่าง ๆ ก็มีราคาถูกและสามารถทางานได้กับ
วินโดวส์ทุกรุ่น
แบ่งตามโครงสร้างของระบบเครือข่าย (Network Topology)
เครือข่ายโทโพโลยีเป็นวิธีในการจัดวางสายสัญญาณ วางตาแหน่งของ
คอมพิวเตอร์ให้ทางานตามที่เราได้วางแผนไว้ซึ่งโครงสร้างเครือข่ายของแต่ละ
แบบ ก็จะมีการใช้อุปกรณ์ที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งจะแบ่งได้เป็น 4 รูปแบบ คือ
แบบบัส ( Bus )
แบบดาว ( Star)
แบบวงแหวน (Ring)
แบบผสมผสาน (Hybrid)
 เริ่มต้นจากการเชื่อมต่อในระบบเมนเฟรม
 เทอร์มินัลเชื่อมต่อกับเมนเฟรมเพื่อขอใช้ทรัพยากร
 มีคอมพิวเตอร์ตรงกลางเป็นตัวควบคุมการรับส่งข้อมูล เรียกว่า ฮับ (Hub)
 เครื่องอื่นๆ เชื่อมต่อไปยังฮับ ลักษณะคล้ายรูปดาว
 เป็นการสื่อสารแบบ 2 ทิศทาง
 ไม่มีการชนกันของข้อมูล เพราะส่งได้ทีละเครื่อง
 ข้อดี ติดตั้งและดูแลง่าย ถ้าเครื่องลูกข่ายเสีย
ก็ตรวจสอบได้ง่าย เครื่องอื่นยังติดต่อกันได้
 ข้อเสีย ถ้าฮับเสีย เครือข่ายล่ม
ใช้สัญญาณมากกว่าแบบอื่น
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 เชื่อมต่อกันแบบวงกลม
 รับส่งแบบทิศทางเดียว
 ตรวจสอบข้อมูลที่ส่งมาว่าใช่ของตนหรือไม่
ถ้าใช่ก็รับไว้ ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อ
 ข้อดี ส่งข้อมูลไปยังผู้รับหลายเครื่องๆ
พร้อมกันได้ ไม่เกิดการชนกันของข้อมูล
 ข้อเสีย ถ้าเครื่องใดมีปัญหา เครือข่ายล่ม
การติดตั้งทาได้ยาก และใช้สายสัญญาณมากกว่าแบบบัส
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 เชื่อมต่อเป็นเส้นตรง
 มีสายหนึ่งทาหน้าที่เป็นแกนหลัก (backbone)
 ทุกเครื่องจะเชื่อมต่อเข้าสู่แกนนี้
 ข้อดี ประหยัดสายสัญญาณ เครื่องหนึ่งเสียก็ไม่กระทบกับเครือข่าย
 ข้อเสีย อาจเกิดการชนกันของ
ข้อมูลได้ ต้องมีการส่งใหม่
ถ้าสายหลักเสีย เครือข่ายล่ม
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 เป็นการเชื่อมต่อที่เอาแบบดาว แบบวงแหวนและแบบบัส มาผสมผสานกัน
 เพื่อลดจุดอ่อนและเพิ่มจุดแข็งให้กับเครือข่าย
 เหมาะสาหรับบางหน่วยงานที่มีเครือข่ายเก่าและใหม่ให้สามารถทางานร่วมกันได้ ซึ่งระบบ
Hybrid Network นี้จะมีโครงสร้างแบบ Hierarchical หรือ Tre ที่มีลาดับ
ชั้นในการทางาน
 ข้อดี
1. ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายเคเบิลมากนัก
2. สามารถขยายระบบได้ง่าย
3. เสียค่าใช้จ่ายน้อย
 ข้อเสีย
1. อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว
ดังนั้นหากมีการขาดที่ตาแหน่งใดตาแหน่งหนึ่ง ก็จะทาให้เครื่องอื่นส่วนใหญ่หรือทั้งหมดในระบบไม่
สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย
2. การตรวจหาโหนดเสีย ทาได้ยากเนื่องจากขณะใดขณะหนึ่งจะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียว
เท่านั้นที่สามารถส่งข้อความออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จานวนมากๆ
อาจทาให้เกิดการคับคั่งของเนตเวิร์ก ซึ่งจะทาให้ระบบช้าลงได้
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 Client/Server
◦ ประกอบด้วยเครื่องที่ทาหน้าที่ให้บริการ (Server) และเครื่องที่ทาหน้าที่ขอใช้
บริการ (Client)
◦ Server จะทาหน้าที่ควบคุมการทางานของเครือข่าย การเข้าถึงอุปกรณ์
ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ รวมถึงข้อมูลบนเครือข่าย
◦ Client เป็นเครื่องลูกข่าย จะร้องขอความต้องการไปยัง server
 Peer-to-peer
◦ ให้ความสาคัญกับเครื่องในเครือข่ายเท่ากัน
◦ ไม่ต้องมีตัวควบคุม แต่ละตัวเป็นได้ทั้งเครื่องลูกข่ายและเครื่องบริการ
◦ สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ ต้นทุนต่า ไม่คานึงถึงความปลอดภัยมากนัก
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 Client/Server
 Peer-to-peer
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
โมเด็ม : Modem (Modulator/Demodulator)
 Modulator ตัวแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นอนาล็อก
 Demodulator ตัวแปลงสัญญาณอนาล็อกเป็นดิจิตอล
 อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อติดต่อสื่อสารระหว่าคอมพิวเตอร์ผ่านสายโทรศัพท์
 มีสองแบบ คือ แบบภายนอก และภายใน
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
โมเด็ม (Modem) ย่อมาจากคาว่า “Modulator-Demodulator” เป็นอุปกรณ์ที่ทาให้
คอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารผ่านโครงข่ายโทรศัพท์ ตัวอย่างโมเด็มที่ใช้งานในปัจจุบัน เช่น
โมเด็มแบบหมุนโทรศัพท์ (Dial-Up Modem) การเชื่อมต่อใช้วิธีการหมุนโทรศัพท์ติดต่อ
ไปยังผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลต่าประมาณ 56 กิโลบิตต่อ
วินาที นอกจากนี้ยังมีโมเด็มเอดีเอสแอล (Asymmetric Digital Subscriber Line :
ADSL) เป็นโมเด็มที่ใช้รับและส่งข้อมูลที่มีความเร็วสูง โดยจะทาการเชื่อมต่อการใช้งาน
ตลอดเวลา สามารถส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงตั้งแต่ 128 กิโลบิตต่อวินาทีขึ้นไป ใน
ปัจจุบันมีการพัฒนาโมเด็มที่ใช้เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โดยอาศัยเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่
เช่น จีพีอาร์เอส (GPRS), เอจ (EDGE), สามจี (3G) ส่งข้อมูลด้วยความเร็ว 286.8
กิโลบิตต่อวินาที
โมเด็ม (Modem) คือ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่แปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ให้สามารถเชื่อม
คอมพิวเตอร์ที่อยู่ระยะไกลเข้าหากันได้ด้วยการผ่านสายโทรศัพท์ โดยโมเด็มจะทาหน้าที่
แปลงสัญญาณ ซึ่งแบ่งออกเป็นทั้งภาคส่งและภาครับ โดยภาคส่งจะทาการแปลงสัญญาณ
คอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณโทรศัพท์ (Digital to Analog) ในขณะที่ภาครับนั้นจะ
ทาการแปลงสัญญาณโทรศัพท์กลับมาเป็นสัญญาณคอมพิวเตอร์ (Analog to
Digital) ดังนั้น ในการเชื่อมต่อเครือข่ายระยะไกลๆ เช่น อินเทอร์เน็ต จึงจาเป็นต้องใช้
โมเด็ม โดยโมเด็มมีทั้งแบบภายใน (Internal Modem) ที่มีลักษณะเป็นการ์ด โมเด็ม
ภายนอก (External Modem) ที่มีลักษณะเป็นกล่องแยกออกต่างหาก และรวมถึง
โมเด็มที่เป็น PCMCIA ที่มักใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก
โมเด็ม
การ์ดแลน (Network card) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมระหว่าง
คอมพิวเตอร์กับสายนาสัญญาณ การ์ดแลนทาให้คอมพิวเตอร์สามารถ
รับและส่งข้อมูลกับระบบเครือข่ายได้ มีลักษณะการติดตั้งทั้งแบบ
ติดตั้งภายในและภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ในปัจจุบันเมนบอร์ด
มักจะติดตั้งอุปกรณ์นี้มาพร้อมแล้ว
ฮับ (Hub) คือ อุปกรณ์ที่รวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์รับส่งหลาย ๆ
สถานีเข้าด้วยกัน ฮับเปรียบเสมือนเป็นบัสที่รวมอยู่ที่จุดเดียวกัน ฮับที่ใช้งานอยู่
ภายใต้มาตรฐานการรับ-ส่งแบบอีเทอร์เน็ต หรือ IEEE802.3 ข้อมูลที่รับ-ส่ง
ผ่านฮับจากเครื่องหนึ่งกระจายไปยังทุกสถานีที่ติดต่ออยู่บนฮับนั้น ดังนั้นทุก
สถานีจะรับสัญญาณข้อมูลที่กระจายมาได้ทั้งหมดแต่จะเลือกคัดลอกเฉพาะ
ข้อมูลที่ส่งมาถึงตนเท่านั้น การตรวจสอบข้อมูลจึงต้องดูที่แอดเดรส
(address) ที่กากับมาในกลุ่มของข้อมูลหรือแพ็กเกจ
สวิตช์ (Switch) คือ อุปกรณ์รวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์รับ-ส่ง
หลายสถานีเช่นเดียวกับฮับ แต่มีข้อแตกต่างจากฮับ คือ การฮับ-ส่งข้อมูล
จากสถานีหรืออุปกรณ์ตัวหนึ่งจะไม่กระจายไปยังทุกสถานีเหมือนฮับ ทั้งนี้
เพราะสวิตช์จะรับกลุ่มข้อมูลหรือแพ็กเกจมาตรวจสอบก่อน แล้วดูว่า
แอดเดรสของสถานีหลายทางไปที่ใด สวิตช์จะลดปัญหาการชนกันของ
ข้อมูลเพราะ ไม่ต้องกระจายข้อมูลไปทุกสถานี และยังมีข้อดีในเรื่องการ
ป้องกันการดักจับข้อมูลที่กระจายไปในเครือข่าย
สวิตซ์(switch)
เราเตอร์ (Router) ในการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมีการเชื่อมโยงหลายๆ
เครือข่าย หรืออุปกรณ์หลายอย่างเข้าด้วยกัน ดังนั้น จึงมีเส้นทางเข้า – ออกของข้อมูลได้
หลาย
เส้นทาง และแต่ละเส้นทางอาจใช้เทคโนโลยีเครือข่ายที่ต่างกัน อุปกรณ์จัดเส้นทางจะทา
หน้าที่
หาเส้นทางที่เหมาะสมเพื่อให้การส่งข้อมูลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ การที่อุปกรณ์จัดหา
เส้นทางต้องรับรู้ตาแหน่งและสามารถนาข้อมูลออกเส้นทางได้ถูกต้องตามตาแหน่งแอดเดรส
ที่กากับอยู่เส้นทางนั้น
ในปัจจุบันมีการพัฒนาอุปกรณ์ที่รวมเราเตอร์ สวิตซ์ โมเด็ม และตัว
กระจายสัญญาณไร้สายไว้ด้วยกัน ดังรูป
เกตเวย์ (Gateway) คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ช่วยในการสื่อสารข้อมูล
หน้าที่หลักของเกตเวย์ คือ ช่วยทาให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครือข่าย หรือมากกว่า
ที่มีลักษณะไม่เหมือนกัน คือ ลักษณะของการเชื่อต่อ (Connectivity) ของ
เครือข่ายที่แตกต่างกัยน และมีโพรโตคอลสาหรับการส่ง - รับข้อมูลต่างกัน เช่น
LAN เครือหนึ่งเป็นแบบ Ethernet และ โพรโตคอลแบบอะซิงโครนัส ส่วน
LAN อีกเครือข่ายหนึ่งเป็นแบบ Token Ring และใช้โพรโตคอลแบบ
ซิงโครนัสเพื่อให้สามารถติดต่อกันได้เสมือนเป็นเครือข่ายเดียวกัน เพื่อกาจัดวงให้
แคบลงมา เกตเวย์โดยทั่วไปจะใช้เป็นเครื่องมือส่ง - รับข้อมูลกันระหว่าง LAN 2
เครือข่ายหรือ LAN กับเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม หรือระหว่าง LAN กับ
WAN โดยผ่านเครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ เช่น X.25 แพ็กเกจสวิตซ์ เครือข่าย
ISDN เทเล็กซ์ หรือเครือข่ายทางไกลอื่น
เกตเวย์ (Gateway)
บริดจ์ (Bridge)
บริดจ์ (Bridge) คือ อุปกรณ์ที่เหมาะสมกับเครือข่ายหลาย ๆ กลุ่มที่
เชื่อมต่อกันเนื่องจากสามารถแบ่งเครือข่ายที่เชื่อมต่อกันหลาย ๆ เซ็กเมนต์แยก
ออกจากกันได้ ทาให้ข้อมูลในแต่ละเซ็กเมนต์ไม่ต้องวิ่งไปทั่วทั้งเครือข่าย
กล่าวคือ บริดจ์สามารถอ่านเฟรมข้อมูลที่ส่งมาได้ว่ามาจากเครื่องในเซ็กเมนต์
ใด จากนั้นจะทาการส่งข้อมูลไปยังเครื่องซึ่งอาจอยู่ในเซ็กเมนต์เดียวกันหรือ
ต่างเซ็กเมนต์ก็ได้ ซึ่งความสามารถดังกล่าวทาให้ช่วยลดปัญหาความคับคั่ง
ของข้อมูลในระบบได้
รีพีตเตอร์ (Repeater)
รีพีตเตอร์ (Repeater) คือ อุปกรณ์ทวนสัญญาณ
เพื่อให้สามารถส่งข้อมูลถึงกันได้ระยะไกลขึ้น คือ รีพีตเตอร์จะ
ปรับรูปแบบเดิม เพื่อได้สัญญาณสามารถส่งต่อไปได้อีก เช่น
การเชื่อมต่อเครือข่ายแลนหลาย ๆ เซ็กเมนต์ ซึ่งความยาวของ
แต่ละเซ็กเมนต์นั้นจะมีระยะทางที่จากัด ดังนั้น อุปกรณ์อย่าง
รีพีตเตอร์จะช่วยแก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้
 Dial up
◦ ส่งสัญญาณผ่านระบบโทรศัพท์พื้นฐาน โดยใช้ Modem เป็นตัวแปลงสัญญาณ
◦ ความเร็วต่าระดับ 56 Kbps
 DSL, xDSL
◦ ผ่านสายโทรศัพท์พื้นฐานและใช้ DSL modem
◦ สัญญาณดิจิตอลความเร็วสูง เข้ารหัสในย่านความถี่สูงกว่าโทรศัพท์ทั่วไป
◦ ใช้กับอินเทอร์เน็ตและเครือข่ายระยะไกล
◦ ความเร็วตั้งแต่ 256 Kbps – 2 Mbps
 ISDN
◦ เทคโนโลยีแบบดิจิตอลใช้กับอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง
◦ ความเร็วสูงกว่าระบบโทรศัพท์พื้นฐาน ประมาณ 1 Mbps
◦ รับส่งข้อมูลได้หลายรูปแบบ โดยไม่รบกวนกัน
◦ สามารถใช้โทรศัพท์ได้ขณะใช้งานอินเทอร์เน็ต
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 Cable
◦ นิยมใช้ร่วมกับระบบเคเบิลทีวี โดยใช้โมเด็มต่อกับสายเคเบิลทีวี
◦ ความเร็วประมาณ 10 Mbps
◦ ค่าใช้จ่ายไม่แพง ติดตั้งง่าย ใช้โทรศัพท์ได้พร้อมกับอินเทอร์เน็ต
 Cellular
◦ ติดต่อผ่านเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ
◦ ใช้ cellular modem ที่มีในเครื่องติดต่อ
◦ ความเร็วต่ากว่าโทรศัพท์พื้นฐานครึ่งหนึ่ง
◦ ระบบ 3G พัฒนาขึ้นใหม่ ความเร็วสูงขึ้น
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 มาตรฐาน/ข้อตกลงในการสื่อสารข้อมูล
 ครอบคลุมถึง
◦ วิธีการและรูปแบบการส่งข้อมูล
◦ จังหวะเวลาในการส่งข้อมูล
◦ ลาดับการรับส่งข้อมูล
◦ วิธีจัดการป้องกันความผิดพลาด
 เปรียบเสมือนภาษาที่ใช้สื่อสารในระบบเครือข่าย
 โปรโตคอลต่างกันก็คุยกันไม่รู้เรื่อง
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 สายสัญญาณ
 ซอฟต์แวร์
 การ์ดแลน
 อุปกรณ์ในการเชื่อมเครือข่าย
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสื่อสาร
 โปรแกรมระบบปฏิบัติการเครือข่าย (Network operating system)
◦ จัดการไฟล์ข้อมูล
◦ ติดต่อกับผู้ใช้งานในเครือข่าย
◦ บริการในการใช้งานทรัพยากรร่วมกัน
◦ เลือกใช้ให้ตรงกับลักษณะการใช้งานของเครือข่าย
◦ Window NT, Novell Netware, Appleshare, Unix, Linux
 โปรแกรมประยุกต์ที่ใช้งานบนเครือข่าย
◦ สามารถรันข้ามเครื่องได้
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 โมเด็ม (Modem) อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ที่อยู่ระยะไกล โดยผ่าน
สายโทรศัพท์
 การ์ดเน็ตเวิร์ก (Network interface card) หรือการ์ดแลน เชื่อมต่อ
คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานเข้ากับระบบเครือข่าย อาจเป็นแบบมีสาย/ไร้สาย
 แอคเซสพอยต์ (Wireless access point) เป็นตัวเชื่อมระหว่างระบบ
เครือข่ายแบบใช้สาย กับเครื่องลูกข่ายแบบไร้สาย
 ตัวทวนสัญญาณ (Repeater) ใช้ปรับปรุงสัญญาณที่อ่อนลงให้กลับมา
เป็นรูปแบบเดิม และส่งต่อไปยังเครื่องในเครือข่ายที่อยู่ไกลได้
 ฮับ (Hub) ใช้กระจายสัญญาณในเครือข่ายแลน จะเฉลี่ยความเร็วให้กับ
เครื่องทุกเครื่องเท่าๆ กัน
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 บริดจ์ (Bridge) ใช้ในการเชื่อมต่อหลายเครือข่ายเข้าด้วยกัน สามารถแยกได้ว่า
ข้อมูลที่ส่งอยู่ในเครือข่ายใด ลดความคับคั่งของข้อมูลในระบบ
 สวิตช์ (Switches) นาความสามารถของฮับกับบริดจ์มารวมกัน การส่งข้อมูลจะไม่
ไปรบกวนพอร์ตอื่น ไม่เกิดการชนกันหรือความคับคั่งของข้อมูลในระบบ
 เราเตอร์ (Router) คล้ายบริดจ์แต่สามารถจัดหาเส้นทางส่งข้อมูลได้ฉลาดกว่า ใช้
เชื่อมต่อเครือข่ายย่อยๆ ที่ซับซ้อนเข้าไว้ด้วยกัน
 เกตเวย์ (Gateway) ทาให้เชื่อมโยงเครือข่ายที่มีมาตรฐานหรือสถาปัตยกรรม
ต่างกันเข้าไว้ด้วยกันได้
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 ติดตั้งอุปกรณ์
◦ LAN card
◦ wireless card
◦ สาย LAN
 การตั้งค่าต่างๆ ของเครื่อง
◦ ชื่อเครื่อง/IP
◦ TCP/IP
◦ แชร์ไฟล์และอุปกรณ์เชื่อมต่อ
◦ ตั้งค่า VPN
◦ Remote desktop
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
 แฟกซ์ (Fax)
 จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)
 การรวมกลุ่มของการทางาน (Groupware)
 การประชุมระยะไกล (Teleconference)
 การทางานระยะไกล (computer community)
 Electronic Data Interchange (EDI)
 Electronic Fund Transfer (EFT)
 อินเทอร์เน็ต (Internet)
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
การสื่อสารข้อมูล
ทิศทางการสื่อสาร
 Simplex
 Half duplex
 Full duplex
ชนิดของ
สัญญาณ
 Digital
 Analog
อุปกรณ์สื่อสาร
 เครื่องรับ/ส่ง
 ตัวกลางเชื่อมต่อ
 โปรโตคอล
 อุปกรณ์เชื่อมต่อ
ชนิดของการเชื่อมต่อ
 Dial up
 DSL
 ISDN
 Cable
 Cellular
แบบไร้สาย
- อินฟาเรด
- คลื่นวิทยุ
- ไมโครเวฟ
- ดาวเทียม
แบบมีสาย
- Twisted
pair
- Coax
- Fiber optic
Modem
- Internal
- External
- PCMCIA
โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง

More Related Content

What's hot

ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8Nuttapat Sukcharoen
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์GRimoho Siri
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์nipaporn333
 
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์Manas Panjai
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3Nattapon
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Supicha Ploy
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)supatra2011
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลNattapon
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1Nattapon
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2Nattapon
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์Rungnapa Tamang
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ Sirinat Sansom
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์KachonsakBunchuai41
 
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์Khunakon Thanatee
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์Warayut Pakdee
 
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีKhunakon Thanatee
 
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารสื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารKhunakon Thanatee
 

What's hot (20)

ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ม.5/8
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลของเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3ใบความรู้ที่ 3
ใบความรู้ที่ 3
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
การสื่อสารและระบบเครือข่าย (Communication and Network)
 
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูลบทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
บทที่ 3 การสื่อสารข้อมูล
 
ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1ใบความรู้ที่ 1
ใบความรู้ที่ 1
 
ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2ใบความรู้ที่ 2
ใบความรู้ที่ 2
 
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
รายงาน เรื่องเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
Datacom
DatacomDatacom
Datacom
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
สื่อการเรียน เรื่อง ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ระบบสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสื่อการเรียน  เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
สื่อการเรียน เรื่อง ชนิดของเครือข่ายคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยี
 
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสารสื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
สื่อการเรียน เรื่อง พัฒนาการของการติดต่อสื่อสาร
 

Similar to หน่วยที่ 3-การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่าย

การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลMareeyalosocity
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลchukiat008
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลKanokwan Kanjana
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลnamfonsatsin
 
อุปกรณ์สื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์สื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์Chinaphop Viriyakit
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์อยู่ไหน เหงา
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ธีรภัฎ คำปู่
 
สื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขายสื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขายDuangsuwun Lasadang
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์Por Oraya
 

Similar to หน่วยที่ 3-การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่าย (20)

Data communication and network
Data communication and networkData communication and network
Data communication and network
 
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลการสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
การสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
Computer 1
Computer 1Computer 1
Computer 1
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
Datacommunication
DatacommunicationDatacommunication
Datacommunication
 
Communication
CommunicationCommunication
Communication
 
การสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูลการสื่อสารข้อมูล
การสื่อสารข้อมูล
 
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูลเครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
เครือข่ายคอมพิวเตอร์และการสื่อสารข้อมูล
 
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศหน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
หน่วยที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
 
อุปกรณ์สื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์อุปกรณ์สื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ การสื่อสารข้อมูลสำหรับเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
บทบาทการสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 
สื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขายสื่อสารผ่านเครือขาย
สื่อสารผ่านเครือขาย
 
Network
NetworkNetwork
Network
 
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 2 การสื่อสารข้อมูล และเครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

หน่วยที่ 3-การสื่อสารข้อมูลและระบบเครือข่าย

  • 2.  การสื่อสารข้อมูล  ทิศทางการสื่อสาร  ชนิดของสัญญาณ  อุปกรณ์สื่อสารข้อมูล  ตัวกลางสื่อสารข้อมูล  โปรโตคอล  ชนิดของการเชื่อมต่อ  การพิจารณาเลือกอุปกรณ์ และบริการในการสื่อสารข้อมูล  เครือข่ายคอมพิวเตอร์  ประเภทของเครือข่าย  สถาปัตยกรรมเครือข่าย  เครือข่ายเฉพาะที่  ชนิดของเครือข่ายเฉพาะที่  อุปกรณ์พื้นฐานที่ใช้งานบน เครือข่าย  การประยุกต์ใช้เครือข่าย โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 3.  ทาไมต้องสื่อสาร ?  การแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างสองอุปกรณ์ผ่านตัวกลางส่งข้อมูล ที่ใช้ในการสื่อสาร  ส่วนประกอบของระบบสื่อสารข้อมูล Sender Receiver Step 1: Step 2: Step 3: …… Step 1: Step 2: Step 3: …… Protocol Protocol Media โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง Software
  • 4.  การสื่อสารข้อมูล เป็นการส่งข้อมูลข่าวสารจากต้นทางไปยังปลายทางโดยผ่านช่องทางการ สื่อสารทั้งสื่อแบบที่ต้องใช้สายและไม่ใช้สายนอกจากนั้นยังเกี่ยวข้องกับชนิดของสัญญาณ ประเภทของการส่งสัญญาณข้อมูล วิธีการสื่อสารข้อมูล ทิศทางการสื่อสารข้อมูล อุปกรณ์ แปลงสัญญาณ วิธีการแปลงสัญญาณ  เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เป็นการเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ตั้งแต่สองเครื่องขึ้นไป เพื่อ ติดต่อสื่อสารแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่างกัน โดยทั่วไปจะประกอบด้วย ระบบคอมพิวเตอร์ ช่องทางการสื่อสารข้อมูล และอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมต่อ นอกจากนั้นยังมีแบบจาลองไอเอสโอ ซึ่งเป็นระบบเปิดเพื่อเป็นแนวทางมาตรฐาน เพื่อให้ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ต่างระบบกัน ทางานร่วมกันได้
  • 5. การสื่อสารข้อมูล (Data communication) หมายถึง การ ส่งข้อมูลหรือข่าวสาร จากผู้ส่งต้นทางไปยังผู้รับ ปลายทางที่อยู่ห่างไกล โดยผ่านช่องทางการสื่อสารเพื่อ เป็นสื่อกลางในการส่งข้อมูล ซึ่งอาจจะเป็นแบบใช้สาย หรือไม่ใช้สายก็ได้ ส่วนข้อมูลหรือข่าวสารนั้นอาจจะ เป็นข้อความ เสียง ภาพเคลื่อนไหว หรือข้อมูลที่เป็น มัลติมีเดียก็ได้ ดังนั้นการสื่อสารข้อมูลจึงเป็นส่วนหนึ่ง ของการสื่อสารโทรคมนาคม โดยเน้นการส่งผ่านข้อมูล โดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่ายเป็นหลัก การสื่อสารข้อมูล (Data Communication)
  • 6. องค์ประกอบพื้นฐานของการสื่อสารข้อมูลได้แก่ ผู้ส่ง (Sender) ผู้รับ (Receiver) ข่าวสาร (Message) ตัวกลาง (Media) และโพรโท คอล (Protocol) ซึ่งเป็นข้อตกลงร่วมกันในการสื่อสาร ตัวอย่างการ สื่อสารข้อมูลเช่น การพูดคุยสื่อสารกันระหว่างผู้เรียนและผู้สอนใน ชีวิตประจาวัน ผู้ส่งคือผู้สอน ผู้รับคือนักเรียน ข่าวสารคือสิ่งที่ผู้สอน บรรยาย ตัวกลางคืออากาศหรืออาจเป็นกระดานดา สาหรับโพรโท คอล คือ ภาษาที่ใช้
  • 7. ช่วงเวลา พัฒนาการของการสื่อสาร สมัยโบราณ การส่งข้อความระยะไกลต้องอาศัยคนนาสาร สัญญาณ ควันไฟ หรือนกพิราบสื่อสาร พ.ศ. 2379 เซมมัวล์ มอร์ส (Samuel Morse) คิดค้นรหัสมอร์ส ซึ่ง ถูกนามาใช้อย่างกว้างขวางและยังใช้ในการสื่อสารด้วย โทรเลข พ.ศ. 2419 อเล็กซานเดอร์ เกรแฮมเบล (Alexander Graham Bell) ประดิษฐ์โทรศัพท์เพื่อการสื่อสารด้วยเสียงผ่านสาย ตัวนา
  • 8. ช่วงเวลา พัฒนาการของการสื่อสาร พ.ศ. 2444 กูกลิโกโม มาร์โคนี (Gugligomo Marcon) ทดลองส่ง รหัสมอร์สด้วยคลื่นวิทยุเพื่อการสื่อสารได้สาเร็จ พ.ศ. 2501 สหรัฐอเมริกาส่งดาวเทียมเพื่อการสื่อสารขึ้นสู่อวกาศ พ.ศ. 2512 อินเทอร์เน็ต พ.ศ. 2513 การสื่อสารระหว่างเครื่องปลายทางที่อยู่ห่างไกลเข้ามายัง คอมพิวเตอร์ศูนย์กลางเพื่อประมวลผล พ.ศ. 2516 การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ในระยะใกล้เพื่อทางาน ร่วมกัน เช่น ระบบอีเทอร์เน็ต (Ethernet) โทเค็นริง (Token Ring)
  • 9. ช่วงเวลา พัฒนาการของการสื่อสาร พ.ศ. 2522 ระบบโทรศัพท์เซลลูลาร์ (Cellular Phone) เริ่มมีใช้เป็ น ครั้งแรกที่ประเทศญี่ปุ่ น พ.ศ. 2530 การสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์แบบไร้สาย
  • 10.  ผู้ส่งหรืออุปกรณ์ส่งข้อมูล (Sender)  ผู้รับหรืออุปกรณ์รับข้อมูล (Receiver)  ข่าวสาร (Message)  ตัวกลาง (Medium)  โปรโตคอล (Protocol)  ซอฟต์แวร์ (Software) • ข้อมูล (Data) • ข้อความ (Text) • รูปภาพ (Image) • เสียง (Voice)
  • 11.
  • 12. การส่ง-รับข้อมูลเพื่อโอนถ่ายหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกัน ระหว่างผู้ส่งและผู้รับจะสาเร็จขึ้นได้ต้องประกอบ ด้วย ปัจจัยสาคัญ 2 ประการ คือคุณภาพของสัญญาณข้อมูลที่ ส่ง-รับกัน และคุณลักษณะของสายสื่อสาร สาหรับส่งผ่าน ข้อมูล อย่างไรก็ตามเทคนิคการส่ง-รับข้อมูล ทั้งที่เป็น สัญญาณอนาล็อกและดิจิตอล
  • 13.  สัญญาณอนาล็อก (Analog Signal) สัญญาณอนาล็อก คือ สัญญาณที่อยู่ในรูปแบบของคลื่น (Waveform) ที่มีความต่อเนื่องกัน (Continuous) มีการเปลี่ยนแปลงระดับของ สัญญาณขึ้น – ลงตามขนาดของสัญญาณ (Amplitude) และมีความถี่ (Frequency) ที่เรียกว่า Hertz (Hz) ตัวอย่างของสัญญาณอนาล็อก เช่น เสียงพูด (Voice) กระแสไฟฟ้าสลับ เป็นต้น
  • 14.  สัญญาณดิจิตอล (digital Signal) สัญญาณดิจิตอล หรือเรียกว่า “สัญญาณพัลซ์ (Pulse Signal)” สัญญาณที่มีระบบของสัญญาณเพียง 2 ระดับ คือ สูงและต่า การ เปลี่ยนระดับสัญญาณจะไม่มีความต่อเนื่องกัน (Discrete) โดยปกติ แล้วระดับสูงจะแทนด้วยตัวเลข 1 และระดับต่าจะแทนด้วย 0
  • 15.  สัญญาณอนาล็อก (Analog signal) ◦ เป็นสัญญาณแบบต่อเนื่อง เช่น สัญญาณเสียงในสายโทรศัพท์ ◦ ข้อดี คือ ส่งในระยะไกลได้ ◦ ข้อเสีย คือ สัญญาณถูกรบกวนได้ง่าย ข้อมูลผิดพลาดได้  สัญญาณดิจิตอล (Digital signal) ◦ สัญญาณอยู่ในรูปของตัวเลขฐานสอง คือ 0 และ 1 ◦ ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ ◦ ข้อดี คือ แม่นยา มีความน่าเชื่อถือสูง ◦ ข้อเสีย คือ ผิดเพี้ยนได้ง่าย ถ้าเป็นการส่งในระยะไกล โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 16.  Hertz (Hz) : หน่วยวัดความถี่ของสัญญาณข้อมูลแบบ Analog โดย นับจานวนรอบของสัญญาณที่เกิดขึ้นภายใน 1 วินาที (รอบ/วินาที)  Bit Rate : อัตราความเร็วในการส่งข้อมูลแบบดิจิตอล วัดจานวนบิต ข้อมูลที่ส่งได้ในช่วงระยะเวลา 1 วินาที มีหน่วยเป็น Bit Per Second (bps)  Bandwidth : ระยะความถี่ที่สามารถส่งสัญญาณผ่านระบบสื่อสาร ระบบหนึ่ง ๆ ได้
  • 17.  แบบทิศทางเดียว (Simplex Transmission) ผู้ส่งสามารถส่งข้อมูลได้เพียงทางเดียวเท่านั้น ผู้รับไม่สามารถส่งข้อมูลตอบ กลับมาได้ เช่น การกระจายเสียงทางวิทยุและการแพร่ภาพทางโทรทัศน์ เป็น  แบบทางใดทางหนึ่ง (Half-duplex Transmission) แต่ละฝ่ายสามารถรับ – ส่งข้อมูลได้แต่จะไม่สามารถทาได้ในเวลาเดียวกัน เช การใช้วิทยุสื่อสารของตารวจ กระดานสนทนา (Web board) อีเมล์ เป็นต้น  แบบสองทิศทาง (Full-duplex Transmission) สามารถรับส่ง – ข้อมูลได้พร้อมกันทั้งสองทาง ตัวอย่างเช่น การคุยโทรศัพท์ สนทนาออนไลน์ในห้องสนทนา(Chat Room) เป็นต้น
  • 18.  ทิศทางของสัญญาณที่เดินทางระหว่างสองอุปกรณ์ เพื่อติดต่อสื่อสาร รับส่งข้อมูล ◦ แบบทางเดียว (Simplex) ◦ แบบสองทางครึ่งอัตรา (Half-duplex) ◦ แบบสองทางเต็มอัตรา (Full-duplex) 18โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 19.  แบบขนาน (Parallel Transmission) • รับส่งข้อมูลครั้งละหลาย ๆ บิตพร้อมกัน • จานวนของสายสื่อสารเท่ากับจานวนบิตของ ข้อมูลที่ ต้องการส่งไปแบบขนานกัน • เสียค่าใช้จ่ายมากกว่าการรับส่งข้อมูลแบบ อนุกรม •ไม่สามารถส่งไปในระยะทางที่ไกล ๆ ได้เนื่องจาก ข้อมูลแต่ละบิตอาจจะไปถึงปลายทางไม่พร้อมกัน เร็วกว่าการส่งแบบอนุกรม • นิยมใช้ในการรับส่งเพียงใกล้ ๆ เช่นการส่งข้อมูล ออกไปพิมพ์ที่เครื่องพิมพ์เป็นต้น
  • 20.  แบบอนุกรม (Serial Transmission) • รับส่งข้อมูลครั้งละ 1 บิตเรียงตามลาดับกันไป • ใช้สายสื่อสารเพียงเส้นเดียวเท่านั้น • สามารถส่งไปได้ในระยะทางที่ไกล ๆ • นิยมใช้ในการสื่อสารข้อมูลผ่านทาง สายโทรศัพท์ เมาส์ และ COM Port
  • 21. ตัวกลางของการสื่อสารในเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะเชื่อมต่อ ระหว่างอุปกรณ์เครือข่ายเข้าด้วยกัน โดยทาหน้าที่เป็นอุปกรณ์ที่ให้ ข้อมูลเดินทางผ่านจากผู้ส่งไปสู่ผู้รับ ตัวกลางที่ใช้ในการสื่อสารข้อมูล มีหลายประเภท แต่ละประเภทมีความแตกต่างกันในด้านของปริมาณ ข้อมูลที่ผ่านไปได้ในช่วงเวลาขณะใดขณะหนึ่ง การวัดปริมาณหรือ ความจุในการนาเข้าข้อมูลที่เรียกว่า แบนด์วิดธ์ (Bandwidth) มี หน่วยเป็นบิตต่อวินาที (bit per second) ตัวกลางในการสื่อสารมีทั้ง แบบมีสายและไร้สาย ดังนี้
  • 22. สายคู่บิดเกลียว (Twisted Pair : TP) ประกอบด้วย เส้นลวดทองแดงหุ้มด้วยฉนวนพลาสติก 2 เส้นพันบิดเป็นเกลียว เพื่อลดผลกระทบของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าจากคู่สายข้างเคียงภายใน เคเบิลเดียวกันหรือจากภายนอก ในปัจจุบันสายคู่บิดเกลียวได้รับการ พัฒนาจนสามารถใช้ส่งข้อมูลได้ด้วยอัตราเร็วมากกว่า 1 กิกะบิตต่อ วินาทีในระยะทางไม่เกิน 100 เมตร เนื่องจากสายคู่บิดเกลียวมีราคา ไม่แพงมาก ใช้ส่งข้อมูลได้ดี จึงมีการใช้งานอย่างกว้างขวาง สายคู่บิด เกลียวมี 2 ชนิด คือ
  • 23. ก) สายคู่บิดเกลียวแบบป้องกันสัญญาณรบกวนหรือ เอสทีพี (Shielded Twisted Pair : STP) เป็นสายคู่บิดเกลียวที่หุ้มด้วยลวดถักชั้นนอกอีกชั้นดังรูป เพื่อป้องกัน การรบกวนของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้ดียิ่งขึ้น จึงนิยมใช้ในสถานที่ที่มี สัญญาณรบกวนสูง แต่มีราคาแพงกว่าสายยูทีพี
  • 24. ข) สายคู่บิดเกลียวแบบไม่ป้องกันสัญญาณรบกวนหรือยูที พี (Unshielded Twisted Pair : UTP) เป็นสายคู่บิดเกลียวที่ไม่มีลวดถักชั้นนอกอีกชั้นดังรูป ทาให้สะดวก ในการเดินสายเพราะโค้งงอได้ดี แต่สามารถป้องกันการรบกวนของ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าได้น้อยกว่าชนิดแรก และมีราคาต่ากว่า สายชนิด นี้นิยมใช้ในการเชื่อมต่ออุปกรณ์ในเครือข่ายทั่วไป เช่น ใช้ในการ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์เข้ากับแลน
  • 25. สายโคแอกซ์หรือสายแกนร่วม (Coaxial cable) เป็นสายสัญญาณที่มีสาย ทองแดงเดี่ยวเป็นแกนกลางหุ้มด้วยฉนวนเพื่อป้องกันไฟรั่ว จากนั้นหุ้มด้วย ลวดทองแดงถักเป็นร่างแหล้อมรอบเป็นตัวกั้นสัญญาณรบกวนอยู่ด้านนอก และหุ้มชั้นนอกด้วยฉนวนพลาสติก ลักษณะของสายเป็นแบบกลมและใช้ สาหรับสัญญาณความถี่สูง สายโคแอกซ์ที่ใช้ในระบบเครือข่ายมีหลายแบบตาม คุณลักษณะทางด้านความต้านทานของสาย สายโคแอกซ์ที่พบใน ชีวิตประจาวัน เช่น สายอากาศโทรทัศน์ ปัจจุบันในระบบเครือข่ายไม่นิยมใช้ ในการสื่อสารข้อมูลแล้ว
  • 26. 4. สายไฟเบอร์ออปติกหรือเคเบิลเส้นใยนาแสง (Fiber Optic Cable) ทาจากแก้วหรือพลาสติกที่มีความบริสุทธิ์สูง ใช้แสงในการสื่อสารข้อมูลทา ให้ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไม่สามารถรบกวนได้ ปัจจุบันสายไฟเบอร์ออปติก เป็นตัวกลางนา สัญญาณที่สาคัญในการสื่อสารข้อมูลดิจิทัล เนื่องจาก สามารถรับส่งข้อมูลได้ ในปริมาณมากกว่า 1 กิกะบิตต่อวินาที ใช้ได้ใน ระยะทางไกลถึงหลายกิโลเมตร และเกิดความผิดพลาดในการส่งข้อมูลต่า สายไฟเบอร์ออปติกมักนิยมใช้ในการ เชื่อมต่อกันระหว่างเครือข่าย
  • 27. บิตต่อวินาที (bit per second : bps) กิโลบิตต่อวินาที (kilobit per second : kbps) เมกะบิตต่อวินาที (megabit per second : Mbps) กิกะบิตต่อวินาที (gigabit per second : Gbps) 1 kbps = 1,000 bps 1 Mbps = 1,000,000 bps 1 Gbps = 1,000,000,000 bps
  • 28. การสื่อสารไร้สายอาศัยการส่งสัญญาณไปกับคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ซึ่งทาหน้าที่เป็นตัวกลางนาสัญญาณไร้สาย (Wireless transmission media) โดยมีวิธีการส่งสัญญาณหลายวิธี และยังสามารถใช้งานช่วง คลื่นที่ความถี่แตกต่างกันได้ด้วย คลื่นแต่ละช่วงความถี่ก็จะมี คุณสมบัติในการนาสัญญาณผ่านสิ่งกีดขวางต่างๆ ที่ไม่เหมือนกัน ช่วงคลื่นที่นิยมใช้กัน เช่น
  • 29. คือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่อยู่ในช่วง 10 กิโลเฮิร์ตซ์ ถึง 1 กิกะเฮิร์ตซ์ ใช้งานในการติดต่อสื่อสารในระบบแลนไร้สาย
  • 30. คือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่าคลื่นวิทยุ มีการนามาใช้ งานทั้งในแบบการสื่อสารระหว่างสถานีบนพื้นโลกด้วยกัน และใช้ สื่อสารระหว่างสถานีบนพื้นโลกกับดาวเทียม โดยถ้าเป็นการใช้งาน ระหว่างสถานีบนพื้นโลกจะใช้คลื่นความถี่ในช่วง 4-6 กิกะเฮิร์ตซ์ หรือ 21-23 กิกะเฮิร์ตซ์ ปัจจุบันไมโครเวฟใช้ในการสื่อสารข้อมูล ระหว่างสถานีที่การติดตั้งสายสัญญาณทาได้ยาก เช่น ใช้ในการสื่อสารระหว่างภูเขากับ พื้นราบใช้ในการถ่ายทอด สัญญาณผ่านดาวเทียม
  • 31. การส่งสัญญาณข้อมูลไปกับคลื่นไมโครเวฟจะเป็นการส่ง สัญญาณข้อมูลแบบรับช่วงต่อๆ กันจากหอ ( สถานี ) ส่ง - รับ สัญญาณหนึ่งไปยังอีกหอ หนึ่ง แต่ละหอจะครอบคลุมพื้นที่รับ สัญญาณประมาณ 30- 50 กม. การส่งสัญญาณข้อมูลด้วยไมโครเวฟมักใช้กันในกรณีที่การ ติดตั้งสายเคเบิลทาได้ไม่สะดวก เช่นในเขตเมืองใหญ่ๆ หรือ ป่าเขา แต่ละสถานี ไมโครเวฟจะติดตั้งจานส่ง - รับสัญญาณ ข้อมูลซึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 10 ฟุต
  • 32. คือ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่มีความถี่สูงกว่าไมโครเวฟแต่ต่ากว่า ความถี่ของแสงที่ตามนุษย์มองเห็นได้ ใช้กับการสื่อสารข้อมูลที่ไม่มีสิ่ง กีดขวางระหว่างผู้ส่งกับผู้รับ โดยทั่วไปมักใช้ในการสื่อสารระยะใกล้ ประมาณไม่เกิน 10 เมตร ลักษณะการใช้งาน เช่น การใช้รีโมท ควบคุมอุปกรณ์ต่างๆ
  • 33. ที่จริงดาวเทียมคือสถานีไมโครเวฟลอยฟ้านั่นเอง ซึ่งทา หน้าที่ขยายและทบทวนสัญญาณข้อมูล รับและส่ง สัญญาณข้อมูลกับสถานีดาวเทียม บนพื้นโลก สถานี ดาวเทียมภาคพื้นจะทาการส่งสัญญาณข้อมูลไปยัง ดาวเทียมซึ่งจะหมุนไปตามการหมุนของโลกซึ่งมีตาแหน่ง คงที่ เมื่อเทียบ กับตาแหน่งบนพื้นโลก ดาวเทียมจะถูกส่ง ขึ้นให้ไปลอยอยู่สูงจากพื้นโลกประมาณ 36,000 กม. ดาวเทียม ( Satellite )
  • 34.  ช่องทางที่ใช้เป็นทางเดินข้อมูล (Media/Channel)  ตัวกลางที่ใช้เพื่อส่งผ่านข้อมูล มี 2 ชนิด ◦ มีสาย ◦ ไร้สาย  แต่ละชนิดมีความถี่ต่างกัน เรียกว่า แบนด์วิธ (Bandwidth)  ความถี่ของช่องสัญญาณจะเป็นตัวกาหนดความจุของข้อมูลที่ส่งไปในช่วงเวลาหนึ่ง มีหน่วยเป็น บิตต่อวินาที (Bits per second : bps)  ถ้ามีแบนด์วิธสูงก็จะรับส่งข้อมูลได้มาก โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 35.  สายคู่ตีเกลียว (Twisted-pair) ◦ คล้ายสายโทรศัพท์ เหมาะกับระยะสั้น ◦ แบบมีฉนวนหุ้มและไม่มีฉนวนหุ้ม  สายโคแอกเชียล (Coaxial cable) ◦ คล้ายสายทีวี ราคาแพง ◦ ป้องกันคลื่นรบกวนได้ดี ความเร็วต่า  สายไฟเบอร์ออปติก (Fiber-optic) ◦ ใช้แสงในการนาข้อมูลผ่านท่อนาแสง ◦ ส่งข้อมูลได้ไว ราคาแพง สัญญาณรบกวนต่า โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 36.  อินฟราเรด ◦ ใช้ในการส่งข้อมูลระยะใกล้ๆ เช่น remote control วิทยุ/ทีวี ◦ ความถี่สั้น ช่องทางสื่อสารน้อย ◦ ความเร็วประมาณ 4-16 Mbps ◦ ทะลุผ่านวัตถุไม่ได้ ต้องวางแนวเส้นตรงไม่เกิน 1-2 เมตร  คลื่นวิทยุ ◦ มีหลายชนิด เช่น Bluetooth, VHF, UHF ◦ ความถี่แตกต่างกันไป ใช้ในการสื่อสารระยะใกล้ ◦ ความเร็วต่าประมาณ 2 Mbps ◦ ไม่จาเป็นต้องอยู่แนวเดียวกับจุดส่ง ผ่านวัตถุขวางกั้นได้ โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 37.  คลื่นไมโครเวฟ ◦ เป็นคลื่นวิทยุชนิดหนึ่งที่มีความถี่สูงระดับ GHz ◦ เป็นคลื่นเส้นตรงในระดับสายตา ◦ ต้องมีจานรับส่งตามยอดตึก/เขาเพื่อส่งต่อสัญญาณ ◦ ความเร็วสูง ติดตั้งง่าย ประหยัด ◦ สภาวะอากาศมีผลต่อสัญญาณ  ดาวเทียม ◦ คือสถานีไมโครเวฟลอยฟ้า รับสัญญาณจากโลก ◦ ดาวเทียม 3 ดวงก็ครอบคลุมโลกได้หมด ◦ ค่าอุปกรณ์ ติดตั้ง บริการแพง ◦ ความเร็วในส่งข้อมูลค่อนข้างช้า (166-400 Kbps) โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 38.  กลุ่มของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่เชื่อมต่อเข้าด้วยกัน  สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันภายในเครือข่ายได้  ข้อดีของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ◦ สะดวกในการสื่อสาร ◦ ใช้ฮาร์ดแวร์ร่วมกัน ◦ ใช้ซอฟต์แวร์ร่วมกัน ◦ ใช้ข้อมูลและสารสนเทศร่วมกัน โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 39.  ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งตามขนาดบริเวณพื้นที่การ บริการ  เครือข่ายส่วนบุคคล (Personal Area Network : PAN)  เครือข่ายเฉพาะที่ (Local Area Network : LAN)  เครือข่ายนครหลวง (Metropolitan Area Network : MAN)  เครือข่ายบริเวณกว้าง (Wide Area Network : WAN)  ชนิดเครือข่ายคอมพิวเตอร์แบ่งตามลักษณะการให้บริการ  เครือข่ายแบบรับ-ให้บริการ (Client-Server Network)  เครือข่ายระดับเดียวกัน (Peer to Peer Network : P2P)
  • 40. เครือข่ายส่วนบุคคลหรือแพน (Personal Area Network : PAN) เป็น การเชื่อมโยงอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ขนาดเล็กที่ใช้งาน แพนที่ใช้ในปัจจุบันคือ แพนไร้สาย (Wireless PAN : WPAN) มีการใช้งานอย่างแพร่หลายซึ่งการ เชื่อมต่อแบบนี้จะใช้ในระยะไม่เกิน 10 เมตร เช่น ใช้เทคโนโลยีบลูทูธ (Bluetooth Technology) เชื่อมต่อโทรศัพท์เคลื่อนที่เข้ากับหูฟังและไมโครโฟน ไร้สาย ใช้คลื่นวิทยุเชื่อมต่อเครื่องคอมพิวเตอร์กับเมาส์หรือคีย์บอร์ดแบบไร้สาย ใช้อินฟราเรดหรือบลูทูธเชื่อมต่อพีดีเอกับเครื่องพิมพ์เข้าด้วยกัน
  • 41. เครือข่ายเฉพาะที่หรือแลน (Local Area Network : LAN) เป็นการ เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ต่างๆ ที่อยู่ในบริเวณใกล้เคียงกันหรือพื้นที่ เดียวกัน เช่น ภายในบ้าน ภายในอาคาร หรือภายในองค์กรที่มีระยะทางไม่ไกล มากนัก แลนเป็นเครือข่ายที่แต่ละองค์กรดูแลและบริหารจัดการด้วยตนเอง ขอบเขตของแลนมีตั้งแต่เครือข่ายขนาดเล็กที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ภายในห้อง เดียวกันไปจนถึงเครือข่ายขนาดปานกลางที่เชื่อมโยงคอมพิวเตอร์ระหว่างห้อง หรือระหว่างอาคาร เช่น ระบบเครือข่ายภายในโรงเรียนหรือบริษัท
  • 42. นอกจากแลนแบบที่ต้องใช้สายนาสัญญาณแล้ว ปัจจุบันแลนแบบไร้สาย (Wireless LAN : WLAN) ได้รับความนิยมในการใช้งานมากขึ้น เนื่องจากความสะดวกในการจัดวาง ระบบที่ไม่ต้องอาศัยสายนาสัญญาณ ทาให้เหมาะสมกับการใช้งานในอาคารที่การเดิน สายสัญญาณทาได้ยากหรือไม่สามารถเดินสายสัญญาณได้ เช่น การนาเทคโนโลยีไวไฟ (WiFi technology) ไปใช้ในอาคารเก่าที่ได้รับการอนุรักษ์ ซึ่ง ใช้แลนไร้สายสะดวกมากกว่า แลนไร้สายที่ใช้ในปัจจุบัน เช่น ไวไฟ ซึ่งรองรับความเร็วในการ สื่อสารได้สูงกว่า 10 เมกะบิตต่อวินาที และครอบคลุมบริเวณ ภายในรัศมี 100 เมตรในอาคาร หรือรัศมี 500 เมตรภายนอกอาคาร ขึ้นอยู่กับความแรงของสัญญาณและสิ่งกีดขวาง
  • 43. เครือข่ายนครหลวงหรือแมน (Metropolitan Area Network : MAN) เป็น การเชื่อมโยงคอมพิวเตอร์หรือแลนหลายเครือข่าย ที่ตั้งอยู่ในบริเวณไม่ไกลกันนัก หรือภายในอาณาเขตของเมืองเดียวกันเข้าด้วยกัน เช่น แลนของหน่วยงานเดียวกันที่ ตั้งอยู่ในบริเวณต่างๆ ของเมือง แมนอาจสร้างขึ้นจากเครือข่ายเฉพาะขององค์กรเอง หรือใช้บริการสายวงจรสื่อสารที่เช่าจากผู้ให้บริการสัญญาณสื่อสารก็ได้ โดยที่ เทคโนโลยีที่ใช้ในแมนอาจใช้สายนาสัญญาณ เช่น ไฟเบอร์ออปติก หรือแบบไร้สาย เช่น การใช้คลื่นไมโครเวฟ ในปัจจุบันมีการใช้เทคโนโลยีไวแมกซ์ (WiMax) ใน แมน ตัวอย่างของแมนเช่น การเชื่อมโยงแลนระหว่างหลายๆ วิทยาเขตของ สถานศึกษาที่อยู่ใกล้เคียงกันเข้าด้วยกัน
  • 44. เครือข่ายบริเวณกว้างหรือแวน (Wide Area Network : WAN) เป็น เครือข่ายคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมโยงระบบคอมพิวเตอร์ในระยะห่างไกล เช่น เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด ระหว่างประเทศ หรือระหว่างทวีป การสร้างแวนจึง ต้องพึ่งพาระบบบริการเครือข่ายสาธารณะ เช่น วงจรเช่าจากผู้ให้บริการ สัญญาณสื่อสารข้ามทวีป วงจรสื่อสารผ่านดาวเทียม แวนจึงเป็นเครือข่ายที่ใช้ กับองค์กรที่มีสาขาห่างไกล และต้องการเชื่อมสาขาเหล่านั้นเข้าด้วยกัน เช่น ธนาคารที่มีสาขาทั่วประเทศใช้งานแวนเชื่อมโยง บริการต่างๆ ระหว่างสาขา
  • 45. เครือข่ายแบบรับ-ให้บริการ (Client-server Network) เป็นเครือข่ายที่มี เครื่องบริการ (Server) ที่มีประสิทธิภาพและความเร็วสูงรองรับการขอใช้ บริการจากเครื่องรับบริการ สามารถให้บริการเครื่องรับบริการหลายครั้งในเวลา เดียวกัน ทาให้สะดวกในการบริหารจัดการ บารุงรักษาทรัพยากรของระบบ ตัวอย่างเช่น เครื่องบริการไฟล์ (File Server) เครื่องบริการงานพิมพ์ (Print Server) เครื่องบริการเมล์ (Mail Server)
  • 46. 2) เครือข่ายระดับเดียวกัน เครือข่ายระดับเดียวกัน (Peer to Peer Network : P2P) เป็นเครือข่ายที่ คอมพิวเตอร์แต่ละเครื่องสามารถทาหน้าที่ได้ทั้งเป็นเครื่องรับและให้บริการได้ใน ขณะเดียวกัน และสามารถใช้งานทรัพยากรของเครื่องอื่นได้อย่างเท่าเทียมกัน โดยที่ไม่มีเครื่องใดเครื่องหนึ่งทาหน้าที่เป็นเครื่องบริการโดยเฉพาะ จึงทาให้ เปรียบเสมือนกับว่าเครือข่ายเป็นแหล่งรวมของทรัพยากรเหล่านี้สามารถแบ่งกัน ใช้ได้
  • 47. แบ่งตามสถาปัตยกรรมของเครือข่าย เป็นการกาหนดลักษณะและวิธีการรับส่งข้อมูลของคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ในเครือข่าย โดยในแต่ ละ สถาปัตยกรรมจะมีฮาร์ดแวร์ และ ซอร์ฟแวร์ ที่เป็นมาตรฐานของตนเอง โดยเฉพาะเพื่อให้สามารถใช้ งานร่วมกันได้อย่างไม่มีปัญหา 1. โทเค็นริง(Token Ring) เป็นสถาปัตยกรรมที่ไม่นิยมแล้วในปัจจุบันเนื่องจากใช้งานยาก มี ค่าใช้จ่ายมากและมีความเร็วที่ไม่เพียงพอสาหรับการรับส่งข้อมูลในปัจจุบันซึ่งข้อมูลในระบบมี แนวโน้มว่าจะมีขนาด ใหญ่ขึ้นเรื่อย ๆ โดยมีความเร็วสูงสุดประมาณ 16 Mbps 2. อีเทอร์เน็ต (Ethernet ) เป็นสถาปัตยกรรมหรือาจเรียกว่า เป็นเทคโนโลยีของเครือข่ายที่ ได้รับความนิยม ในทุกวันนี้เวลาที่ เราพูดถึง LAN เครือข่ายขนาดเล็กหรือโฮมเน็ตเวิร์คเราก็จะ หมายถึงเครือข่าย แบบ Ethernet ในปัจจุบันมีอุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์ ซอร์ฟแวร์ สายสัญญาณต่าง ๆ มากมาย ที่สนับสนุนสถาปัตย กรรมแบบนี้อุปกรณ์ต่าง ๆ ก็มีราคาถูกและสามารถทางานได้กับ วินโดวส์ทุกรุ่น
  • 48. แบ่งตามโครงสร้างของระบบเครือข่าย (Network Topology) เครือข่ายโทโพโลยีเป็นวิธีในการจัดวางสายสัญญาณ วางตาแหน่งของ คอมพิวเตอร์ให้ทางานตามที่เราได้วางแผนไว้ซึ่งโครงสร้างเครือข่ายของแต่ละ แบบ ก็จะมีการใช้อุปกรณ์ที่แตกต่างกันออกไป ซึ่งจะแบ่งได้เป็น 4 รูปแบบ คือ แบบบัส ( Bus ) แบบดาว ( Star) แบบวงแหวน (Ring) แบบผสมผสาน (Hybrid)
  • 49.  เริ่มต้นจากการเชื่อมต่อในระบบเมนเฟรม  เทอร์มินัลเชื่อมต่อกับเมนเฟรมเพื่อขอใช้ทรัพยากร  มีคอมพิวเตอร์ตรงกลางเป็นตัวควบคุมการรับส่งข้อมูล เรียกว่า ฮับ (Hub)  เครื่องอื่นๆ เชื่อมต่อไปยังฮับ ลักษณะคล้ายรูปดาว  เป็นการสื่อสารแบบ 2 ทิศทาง  ไม่มีการชนกันของข้อมูล เพราะส่งได้ทีละเครื่อง  ข้อดี ติดตั้งและดูแลง่าย ถ้าเครื่องลูกข่ายเสีย ก็ตรวจสอบได้ง่าย เครื่องอื่นยังติดต่อกันได้  ข้อเสีย ถ้าฮับเสีย เครือข่ายล่ม ใช้สัญญาณมากกว่าแบบอื่น โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 50.  เชื่อมต่อกันแบบวงกลม  รับส่งแบบทิศทางเดียว  ตรวจสอบข้อมูลที่ส่งมาว่าใช่ของตนหรือไม่ ถ้าใช่ก็รับไว้ ถ้าไม่ใช่ก็ส่งต่อ  ข้อดี ส่งข้อมูลไปยังผู้รับหลายเครื่องๆ พร้อมกันได้ ไม่เกิดการชนกันของข้อมูล  ข้อเสีย ถ้าเครื่องใดมีปัญหา เครือข่ายล่ม การติดตั้งทาได้ยาก และใช้สายสัญญาณมากกว่าแบบบัส โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 51.  เชื่อมต่อเป็นเส้นตรง  มีสายหนึ่งทาหน้าที่เป็นแกนหลัก (backbone)  ทุกเครื่องจะเชื่อมต่อเข้าสู่แกนนี้  ข้อดี ประหยัดสายสัญญาณ เครื่องหนึ่งเสียก็ไม่กระทบกับเครือข่าย  ข้อเสีย อาจเกิดการชนกันของ ข้อมูลได้ ต้องมีการส่งใหม่ ถ้าสายหลักเสีย เครือข่ายล่ม โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 52.  เป็นการเชื่อมต่อที่เอาแบบดาว แบบวงแหวนและแบบบัส มาผสมผสานกัน  เพื่อลดจุดอ่อนและเพิ่มจุดแข็งให้กับเครือข่าย  เหมาะสาหรับบางหน่วยงานที่มีเครือข่ายเก่าและใหม่ให้สามารถทางานร่วมกันได้ ซึ่งระบบ Hybrid Network นี้จะมีโครงสร้างแบบ Hierarchical หรือ Tre ที่มีลาดับ ชั้นในการทางาน  ข้อดี 1. ไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการวางสายเคเบิลมากนัก 2. สามารถขยายระบบได้ง่าย 3. เสียค่าใช้จ่ายน้อย  ข้อเสีย 1. อาจเกิดข้อผิดพลาดง่าย เนื่องจากทุกเครื่องคอมพิวเตอร์ต่อยู่บนสายสัญญาณเพียงเส้นเดียว ดังนั้นหากมีการขาดที่ตาแหน่งใดตาแหน่งหนึ่ง ก็จะทาให้เครื่องอื่นส่วนใหญ่หรือทั้งหมดในระบบไม่ สามารถใช้งานได้ตามไปด้วย 2. การตรวจหาโหนดเสีย ทาได้ยากเนื่องจากขณะใดขณะหนึ่งจะมีคอมพิวเตอร์เพียงเครื่องเดียว เท่านั้นที่สามารถส่งข้อความออกมาบนสายสัญญาณ ดังนั้นถ้ามีเครื่องคอมพิวเตอร์จานวนมากๆ อาจทาให้เกิดการคับคั่งของเนตเวิร์ก ซึ่งจะทาให้ระบบช้าลงได้ โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 53.  Client/Server ◦ ประกอบด้วยเครื่องที่ทาหน้าที่ให้บริการ (Server) และเครื่องที่ทาหน้าที่ขอใช้ บริการ (Client) ◦ Server จะทาหน้าที่ควบคุมการทางานของเครือข่าย การเข้าถึงอุปกรณ์ ฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ รวมถึงข้อมูลบนเครือข่าย ◦ Client เป็นเครื่องลูกข่าย จะร้องขอความต้องการไปยัง server  Peer-to-peer ◦ ให้ความสาคัญกับเครื่องในเครือข่ายเท่ากัน ◦ ไม่ต้องมีตัวควบคุม แต่ละตัวเป็นได้ทั้งเครื่องลูกข่ายและเครื่องบริการ ◦ สามารถใช้ทรัพยากรร่วมกันได้ ต้นทุนต่า ไม่คานึงถึงความปลอดภัยมากนัก โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 55. โมเด็ม : Modem (Modulator/Demodulator)  Modulator ตัวแปลงสัญญาณดิจิตอลเป็นอนาล็อก  Demodulator ตัวแปลงสัญญาณอนาล็อกเป็นดิจิตอล  อุปกรณ์ที่ใช้เพื่อติดต่อสื่อสารระหว่าคอมพิวเตอร์ผ่านสายโทรศัพท์  มีสองแบบ คือ แบบภายนอก และภายใน โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 56. โมเด็ม (Modem) ย่อมาจากคาว่า “Modulator-Demodulator” เป็นอุปกรณ์ที่ทาให้ คอมพิวเตอร์สามารถสื่อสารผ่านโครงข่ายโทรศัพท์ ตัวอย่างโมเด็มที่ใช้งานในปัจจุบัน เช่น โมเด็มแบบหมุนโทรศัพท์ (Dial-Up Modem) การเชื่อมต่อใช้วิธีการหมุนโทรศัพท์ติดต่อ ไปยังผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ความเร็วในการส่งผ่านข้อมูลต่าประมาณ 56 กิโลบิตต่อ วินาที นอกจากนี้ยังมีโมเด็มเอดีเอสแอล (Asymmetric Digital Subscriber Line : ADSL) เป็นโมเด็มที่ใช้รับและส่งข้อมูลที่มีความเร็วสูง โดยจะทาการเชื่อมต่อการใช้งาน ตลอดเวลา สามารถส่งข้อมูลด้วยความเร็วสูงตั้งแต่ 128 กิโลบิตต่อวินาทีขึ้นไป ใน ปัจจุบันมีการพัฒนาโมเด็มที่ใช้เชื่อมต่ออินเทอร์เน็ต โดยอาศัยเครือข่ายโทรศัพท์เคลื่อนที่ เช่น จีพีอาร์เอส (GPRS), เอจ (EDGE), สามจี (3G) ส่งข้อมูลด้วยความเร็ว 286.8 กิโลบิตต่อวินาที
  • 57. โมเด็ม (Modem) คือ อุปกรณ์ที่ทาหน้าที่แปลงสัญญาณคอมพิวเตอร์ให้สามารถเชื่อม คอมพิวเตอร์ที่อยู่ระยะไกลเข้าหากันได้ด้วยการผ่านสายโทรศัพท์ โดยโมเด็มจะทาหน้าที่ แปลงสัญญาณ ซึ่งแบ่งออกเป็นทั้งภาคส่งและภาครับ โดยภาคส่งจะทาการแปลงสัญญาณ คอมพิวเตอร์ให้เป็นสัญญาณโทรศัพท์ (Digital to Analog) ในขณะที่ภาครับนั้นจะ ทาการแปลงสัญญาณโทรศัพท์กลับมาเป็นสัญญาณคอมพิวเตอร์ (Analog to Digital) ดังนั้น ในการเชื่อมต่อเครือข่ายระยะไกลๆ เช่น อินเทอร์เน็ต จึงจาเป็นต้องใช้ โมเด็ม โดยโมเด็มมีทั้งแบบภายใน (Internal Modem) ที่มีลักษณะเป็นการ์ด โมเด็ม ภายนอก (External Modem) ที่มีลักษณะเป็นกล่องแยกออกต่างหาก และรวมถึง โมเด็มที่เป็น PCMCIA ที่มักใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์โน้ตบุ๊ก โมเด็ม
  • 58. การ์ดแลน (Network card) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้เชื่อมระหว่าง คอมพิวเตอร์กับสายนาสัญญาณ การ์ดแลนทาให้คอมพิวเตอร์สามารถ รับและส่งข้อมูลกับระบบเครือข่ายได้ มีลักษณะการติดตั้งทั้งแบบ ติดตั้งภายในและภายนอกเครื่องคอมพิวเตอร์ แต่ในปัจจุบันเมนบอร์ด มักจะติดตั้งอุปกรณ์นี้มาพร้อมแล้ว
  • 59. ฮับ (Hub) คือ อุปกรณ์ที่รวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์รับส่งหลาย ๆ สถานีเข้าด้วยกัน ฮับเปรียบเสมือนเป็นบัสที่รวมอยู่ที่จุดเดียวกัน ฮับที่ใช้งานอยู่ ภายใต้มาตรฐานการรับ-ส่งแบบอีเทอร์เน็ต หรือ IEEE802.3 ข้อมูลที่รับ-ส่ง ผ่านฮับจากเครื่องหนึ่งกระจายไปยังทุกสถานีที่ติดต่ออยู่บนฮับนั้น ดังนั้นทุก สถานีจะรับสัญญาณข้อมูลที่กระจายมาได้ทั้งหมดแต่จะเลือกคัดลอกเฉพาะ ข้อมูลที่ส่งมาถึงตนเท่านั้น การตรวจสอบข้อมูลจึงต้องดูที่แอดเดรส (address) ที่กากับมาในกลุ่มของข้อมูลหรือแพ็กเกจ
  • 60. สวิตช์ (Switch) คือ อุปกรณ์รวมสัญญาณที่มาจากอุปกรณ์รับ-ส่ง หลายสถานีเช่นเดียวกับฮับ แต่มีข้อแตกต่างจากฮับ คือ การฮับ-ส่งข้อมูล จากสถานีหรืออุปกรณ์ตัวหนึ่งจะไม่กระจายไปยังทุกสถานีเหมือนฮับ ทั้งนี้ เพราะสวิตช์จะรับกลุ่มข้อมูลหรือแพ็กเกจมาตรวจสอบก่อน แล้วดูว่า แอดเดรสของสถานีหลายทางไปที่ใด สวิตช์จะลดปัญหาการชนกันของ ข้อมูลเพราะ ไม่ต้องกระจายข้อมูลไปทุกสถานี และยังมีข้อดีในเรื่องการ ป้องกันการดักจับข้อมูลที่กระจายไปในเครือข่าย สวิตซ์(switch)
  • 61. เราเตอร์ (Router) ในการเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์จะต้องมีการเชื่อมโยงหลายๆ เครือข่าย หรืออุปกรณ์หลายอย่างเข้าด้วยกัน ดังนั้น จึงมีเส้นทางเข้า – ออกของข้อมูลได้ หลาย เส้นทาง และแต่ละเส้นทางอาจใช้เทคโนโลยีเครือข่ายที่ต่างกัน อุปกรณ์จัดเส้นทางจะทา หน้าที่ หาเส้นทางที่เหมาะสมเพื่อให้การส่งข้อมูลเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ การที่อุปกรณ์จัดหา เส้นทางต้องรับรู้ตาแหน่งและสามารถนาข้อมูลออกเส้นทางได้ถูกต้องตามตาแหน่งแอดเดรส ที่กากับอยู่เส้นทางนั้น
  • 62. ในปัจจุบันมีการพัฒนาอุปกรณ์ที่รวมเราเตอร์ สวิตซ์ โมเด็ม และตัว กระจายสัญญาณไร้สายไว้ด้วยกัน ดังรูป
  • 63. เกตเวย์ (Gateway) คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ที่ช่วยในการสื่อสารข้อมูล หน้าที่หลักของเกตเวย์ คือ ช่วยทาให้เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 2 เครือข่าย หรือมากกว่า ที่มีลักษณะไม่เหมือนกัน คือ ลักษณะของการเชื่อต่อ (Connectivity) ของ เครือข่ายที่แตกต่างกัยน และมีโพรโตคอลสาหรับการส่ง - รับข้อมูลต่างกัน เช่น LAN เครือหนึ่งเป็นแบบ Ethernet และ โพรโตคอลแบบอะซิงโครนัส ส่วน LAN อีกเครือข่ายหนึ่งเป็นแบบ Token Ring และใช้โพรโตคอลแบบ ซิงโครนัสเพื่อให้สามารถติดต่อกันได้เสมือนเป็นเครือข่ายเดียวกัน เพื่อกาจัดวงให้ แคบลงมา เกตเวย์โดยทั่วไปจะใช้เป็นเครื่องมือส่ง - รับข้อมูลกันระหว่าง LAN 2 เครือข่ายหรือ LAN กับเครื่องคอมพิวเตอร์เมนเฟรม หรือระหว่าง LAN กับ WAN โดยผ่านเครือข่ายโทรศัพท์สาธารณะ เช่น X.25 แพ็กเกจสวิตซ์ เครือข่าย ISDN เทเล็กซ์ หรือเครือข่ายทางไกลอื่น เกตเวย์ (Gateway)
  • 64. บริดจ์ (Bridge) บริดจ์ (Bridge) คือ อุปกรณ์ที่เหมาะสมกับเครือข่ายหลาย ๆ กลุ่มที่ เชื่อมต่อกันเนื่องจากสามารถแบ่งเครือข่ายที่เชื่อมต่อกันหลาย ๆ เซ็กเมนต์แยก ออกจากกันได้ ทาให้ข้อมูลในแต่ละเซ็กเมนต์ไม่ต้องวิ่งไปทั่วทั้งเครือข่าย กล่าวคือ บริดจ์สามารถอ่านเฟรมข้อมูลที่ส่งมาได้ว่ามาจากเครื่องในเซ็กเมนต์ ใด จากนั้นจะทาการส่งข้อมูลไปยังเครื่องซึ่งอาจอยู่ในเซ็กเมนต์เดียวกันหรือ ต่างเซ็กเมนต์ก็ได้ ซึ่งความสามารถดังกล่าวทาให้ช่วยลดปัญหาความคับคั่ง ของข้อมูลในระบบได้
  • 65. รีพีตเตอร์ (Repeater) รีพีตเตอร์ (Repeater) คือ อุปกรณ์ทวนสัญญาณ เพื่อให้สามารถส่งข้อมูลถึงกันได้ระยะไกลขึ้น คือ รีพีตเตอร์จะ ปรับรูปแบบเดิม เพื่อได้สัญญาณสามารถส่งต่อไปได้อีก เช่น การเชื่อมต่อเครือข่ายแลนหลาย ๆ เซ็กเมนต์ ซึ่งความยาวของ แต่ละเซ็กเมนต์นั้นจะมีระยะทางที่จากัด ดังนั้น อุปกรณ์อย่าง รีพีตเตอร์จะช่วยแก้ไขปัญหาเหล่านี้ได้
  • 66.  Dial up ◦ ส่งสัญญาณผ่านระบบโทรศัพท์พื้นฐาน โดยใช้ Modem เป็นตัวแปลงสัญญาณ ◦ ความเร็วต่าระดับ 56 Kbps  DSL, xDSL ◦ ผ่านสายโทรศัพท์พื้นฐานและใช้ DSL modem ◦ สัญญาณดิจิตอลความเร็วสูง เข้ารหัสในย่านความถี่สูงกว่าโทรศัพท์ทั่วไป ◦ ใช้กับอินเทอร์เน็ตและเครือข่ายระยะไกล ◦ ความเร็วตั้งแต่ 256 Kbps – 2 Mbps  ISDN ◦ เทคโนโลยีแบบดิจิตอลใช้กับอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง ◦ ความเร็วสูงกว่าระบบโทรศัพท์พื้นฐาน ประมาณ 1 Mbps ◦ รับส่งข้อมูลได้หลายรูปแบบ โดยไม่รบกวนกัน ◦ สามารถใช้โทรศัพท์ได้ขณะใช้งานอินเทอร์เน็ต โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 67.  Cable ◦ นิยมใช้ร่วมกับระบบเคเบิลทีวี โดยใช้โมเด็มต่อกับสายเคเบิลทีวี ◦ ความเร็วประมาณ 10 Mbps ◦ ค่าใช้จ่ายไม่แพง ติดตั้งง่าย ใช้โทรศัพท์ได้พร้อมกับอินเทอร์เน็ต  Cellular ◦ ติดต่อผ่านเครือข่ายโทรศัพท์มือถือ ◦ ใช้ cellular modem ที่มีในเครื่องติดต่อ ◦ ความเร็วต่ากว่าโทรศัพท์พื้นฐานครึ่งหนึ่ง ◦ ระบบ 3G พัฒนาขึ้นใหม่ ความเร็วสูงขึ้น โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 68.  มาตรฐาน/ข้อตกลงในการสื่อสารข้อมูล  ครอบคลุมถึง ◦ วิธีการและรูปแบบการส่งข้อมูล ◦ จังหวะเวลาในการส่งข้อมูล ◦ ลาดับการรับส่งข้อมูล ◦ วิธีจัดการป้องกันความผิดพลาด  เปรียบเสมือนภาษาที่ใช้สื่อสารในระบบเครือข่าย  โปรโตคอลต่างกันก็คุยกันไม่รู้เรื่อง โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 70.  สายสัญญาณ  ซอฟต์แวร์  การ์ดแลน  อุปกรณ์ในการเชื่อมเครือข่าย โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 71.  เป็นโปรแกรมที่ใช้ในการสื่อสาร  โปรแกรมระบบปฏิบัติการเครือข่าย (Network operating system) ◦ จัดการไฟล์ข้อมูล ◦ ติดต่อกับผู้ใช้งานในเครือข่าย ◦ บริการในการใช้งานทรัพยากรร่วมกัน ◦ เลือกใช้ให้ตรงกับลักษณะการใช้งานของเครือข่าย ◦ Window NT, Novell Netware, Appleshare, Unix, Linux  โปรแกรมประยุกต์ที่ใช้งานบนเครือข่าย ◦ สามารถรันข้ามเครื่องได้ โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 72.  โมเด็ม (Modem) อุปกรณ์ที่เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ที่อยู่ระยะไกล โดยผ่าน สายโทรศัพท์  การ์ดเน็ตเวิร์ก (Network interface card) หรือการ์ดแลน เชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์ที่ใช้งานเข้ากับระบบเครือข่าย อาจเป็นแบบมีสาย/ไร้สาย  แอคเซสพอยต์ (Wireless access point) เป็นตัวเชื่อมระหว่างระบบ เครือข่ายแบบใช้สาย กับเครื่องลูกข่ายแบบไร้สาย  ตัวทวนสัญญาณ (Repeater) ใช้ปรับปรุงสัญญาณที่อ่อนลงให้กลับมา เป็นรูปแบบเดิม และส่งต่อไปยังเครื่องในเครือข่ายที่อยู่ไกลได้  ฮับ (Hub) ใช้กระจายสัญญาณในเครือข่ายแลน จะเฉลี่ยความเร็วให้กับ เครื่องทุกเครื่องเท่าๆ กัน โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 73.  บริดจ์ (Bridge) ใช้ในการเชื่อมต่อหลายเครือข่ายเข้าด้วยกัน สามารถแยกได้ว่า ข้อมูลที่ส่งอยู่ในเครือข่ายใด ลดความคับคั่งของข้อมูลในระบบ  สวิตช์ (Switches) นาความสามารถของฮับกับบริดจ์มารวมกัน การส่งข้อมูลจะไม่ ไปรบกวนพอร์ตอื่น ไม่เกิดการชนกันหรือความคับคั่งของข้อมูลในระบบ  เราเตอร์ (Router) คล้ายบริดจ์แต่สามารถจัดหาเส้นทางส่งข้อมูลได้ฉลาดกว่า ใช้ เชื่อมต่อเครือข่ายย่อยๆ ที่ซับซ้อนเข้าไว้ด้วยกัน  เกตเวย์ (Gateway) ทาให้เชื่อมโยงเครือข่ายที่มีมาตรฐานหรือสถาปัตยกรรม ต่างกันเข้าไว้ด้วยกันได้ โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 75.  ติดตั้งอุปกรณ์ ◦ LAN card ◦ wireless card ◦ สาย LAN  การตั้งค่าต่างๆ ของเครื่อง ◦ ชื่อเครื่อง/IP ◦ TCP/IP ◦ แชร์ไฟล์และอุปกรณ์เชื่อมต่อ ◦ ตั้งค่า VPN ◦ Remote desktop โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 76.  แฟกซ์ (Fax)  จดหมายอิเล็กทรอนิกส์ (E-mail)  การรวมกลุ่มของการทางาน (Groupware)  การประชุมระยะไกล (Teleconference)  การทางานระยะไกล (computer community)  Electronic Data Interchange (EDI)  Electronic Fund Transfer (EFT)  อินเทอร์เน็ต (Internet) โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง
  • 77. การสื่อสารข้อมูล ทิศทางการสื่อสาร  Simplex  Half duplex  Full duplex ชนิดของ สัญญาณ  Digital  Analog อุปกรณ์สื่อสาร  เครื่องรับ/ส่ง  ตัวกลางเชื่อมต่อ  โปรโตคอล  อุปกรณ์เชื่อมต่อ ชนิดของการเชื่อมต่อ  Dial up  DSL  ISDN  Cable  Cellular แบบไร้สาย - อินฟาเรด - คลื่นวิทยุ - ไมโครเวฟ - ดาวเทียม แบบมีสาย - Twisted pair - Coax - Fiber optic Modem - Internal - External - PCMCIA โรงเรียนสภาราชินี จังหวัดตรัง