SlideShare a Scribd company logo
1 of 65
Download to read offline
1
PDPA in the Midst of Pandemic
นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล
26 สิงหาคม 2564
www.SlideShare.net/Nawanan
2
Disclaimer: เป็นความเห็นทางวิชาการส่วนบุคคล
ไม่ผูกพันการทาหน้าที่ในบทบาทใดในปัจจุบัน
หรืออนาคต
3
Outline
•ทบทวนกฎหมาย Health Information Privacy
•ทบทวนหลักการของ PDPA
•PDPA & Pandemic
4
ทบทวนกฎหมาย
Health Information Privacy
5
หลักพื้นฐาน: Balancing Private Rights & Public Good
Private Rights Public Good
6
Relevant Ethical Principles
Autonomy (หลักเอกสิทธิ์/ความเป็นอิสระของบุคคล)
Beneficence (หลักการรักษาประโยชน์สูงสุดของผู้ป่วย)
Non-maleficence (หลักการไม่ทาอันตรายต่อผู้ป่วย)
“First, Do No Harm.”
7
ประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา 323 ผู้ใดล่วงรู้หรือได้มาซึ่งความลับของผู้อื่นโดยเหตุที่เป็นเจ้าพนักงาน
ผู้มีหน้าที่ โดยเหตุที่ประกอบอาชีพเป็นแพทย์ เภสัชกร คนจาหน่ายยา นางผดุง
ครรภ์ ผู้พยาบาล...หรือโดยเหตุที่เป็นผู้ช่วยในการประกอบอาชีพนั้น แล้ว
เปิดเผยความลับนั้นในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด ต้อง
ระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
ผู้รับการศึกษาอบรมในอาชีพดังกล่าวในวรรคแรก เปิดเผยความลับของผู้อื่น
อันตนได้ล่วงรู้หรือได้มาในการศึกษาอบรมนั้น ในประการที่น่าจะเกิดความ
เสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใดต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน
8
ข้อบังคับแพทยสภา ว่าด้วยการรักษาจริยธรรม
แห่งวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2549
วิชาชีพอื่นๆ ด้านสุขภาพ และคณะกรรมการประกอบโรคศิลปะ มีข้อบังคับใน
ทานองเดียวกัน
9
คาประกาศสิทธิและข้อพึงปฏิบัติของผู้ปววย
7. ผู้ป่วยมีสิทธิได้รับการปกปิดข้อมูลของตนเอง เว้นแต่
ผู้ป่วยจะให้ความยินยอมหรือเป็นการปฏิบัติตามหน้าที่
ของผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพเพื่อประโยชน์โดยตรง
ของผู้ป่วยหรือตามกฎหมาย
10
พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
“เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น”
มาตรา 15 ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้
หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐอาจมีคาสั่งมิให้เปิดเผยก็ได้ โดยคานึงถึง
การปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย...ประกอบกัน...
(5) รายงานการแพทย์หรือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลซึ่งการเปิดเผยจะเป็นการ
รุกล้าสิทธิส่วนบุคคลโดยไม่สมควร
(6) ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีกฎหมายคุ้มครองมิให้เปิดเผย...
11
พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550
มาตรา 7 ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะ
นาไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทาให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้ เว้นแต่การ
เปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของบุคคลนั้นโดยตรง หรือมีกฎหมาย
เฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย แต่ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ผู้ใดจะอาศัยอานาจหรือ
สิทธิตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอ
เอกสารเกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่ของตนไม่ได้
12
กฎหมายเฉพาะ
• พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ. 2558
13
กฎหมายเฉพาะ
• พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ. 2558
14
กฎหมายเฉพาะ
• พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ. 2558
15
กฎหมายเฉพาะ
• พรบ.โรคติดต่อ พ.ศ. 2558
16
กฎหมายเฉพาะ
• พรบ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551
17
กฎหมายเฉพาะ
• พรบ.สุขภาพจิต พ.ศ. 2551
18
ทบทวนหลักการของ พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูล
ส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (PDPA)
19
TDPG 1.0
TDPG 2.0
TDPG 3.0
TDPG 3.1 for Investment Banking Activities
https://www.law.chula.ac.th/wp-content/
uploads/2020/12/TDPG3.0-C5-20201208.pdf
คณะนิติศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
20
Timeline พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• 6 ม.ค. 2558 ครม. อนุมัติหลักการร่างกฎหมายเพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลของ
ประเทศ จานวน 8 ฉบับ
• ก.ค. 2558 สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาร่างเสร็จแล้ว
(เรื่องเสร็จที่ 1135/2558)
• 16 พ.ย. 2559 กระทรวง DE รับฟังความคิดเห็นเป็นการทั่วไป ณ โรงแรมเอทัส ลุมพินี
• 15-17 ส.ค. 2560 กระทรวง DE รับฟังความคิดเห็นโดยการจัดประชุม Focus Group ร่วมกับ
หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ และภาคประชาสังคมที่เกี่ยวข้อง
ณ กระทรวง DE
• 24-30 ม.ค. 2561 กระทรวง DE รับฟังความคิดเห็นจากตัวแทนผู้มีส่วนได้เสีย ณ กระทรวง DE
• 22 ม.ค. - 6 ก.พ. 2561 กระทรวง DE รับฟังความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์และ e-mail
• 22 พ.ค. 2561 ครม. อนุมัติหลักการร่าง พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ....
• 5-20 ก.ย. 2561 กระทรวง DE รับฟังความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ (ประชุม 11 ก.ย. 2651)
• 28 ธ.ค. 2561 สนช. รับหลักการในวาระที่ 1
• 27-28 ก.พ. 2562 สนช. เห็นชอบในวาระที่ 2-3
• 27 พ.ค. 2562 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
• 27 พ.ค. 2563 บทบัญญัติเรื่องสิทธิและหน้าที่ในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมีผลใช้บังคับ
(แต่ยกเว้นการบังคับใช้จนถึง 31 พ.ค. 2565)
21
เหตุผลในการประกาศใช้
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
22
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• หมวด 1 คณะกรรมการคุ้มครอง
ข้อมูลส่วนบุคคล
• หมวด 2 การคุ้มครองข้อมูลส่วน
บุคคล
• ส่วนที่ 1 บททั่วไป
• ส่วนที่ 2 การเก็บรวบรวมข้อมูล
ส่วนบุคคล
• ส่วนที่ 3 การใช้หรือเปิดเผย
ข้อมูลส่วนบุคคล
• หมวด 3 สิทธิของเจ้าของข้อมูล
ส่วนบุคคล
• หมวด 4 สานักงานคณะกรรมการ
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
• หมวด 5 การร้องเรียน
• หมวด 6 ความรับผิดทางแพ่ง
• หมวด 7 บทกาหนดโทษ
• ส่วนที่ 1 โทษอาญา
• ส่วนที่ 2 โทษทางปกครอง
• บทเฉพาะกาล
23
กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
ตามมติ ครม. 19 พ.ค. 2563 (รอประกาศในราชกิจจานุเบกษา)
https://www.prachachat.net/general/news-466309
24
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศใน
ราชกิจจานุเบกษา
• หมวด 1 คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูล
ส่วนบุคคล
• หมวด 4 สานักงานคณะกรรมการ
คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
• บทเฉพาะกาล (ยกเว้นมาตรา 95, 96)
เมื่อพ้นกาหนดหนึ่งปีนับแต่วัน
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา
• หมวด 2 การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
• หมวด 3 สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วน
บุคคล
• หมวด 5 การร้องเรียน
• หมวด 6 ความรับผิดทางแพ่ง
• หมวด 7 บทกาหนดโทษ
• บทเฉพาะกาล เฉพาะมาตรา 95 (การ
เก็บรวบรวมและใช้ข้อมูลส่วนบุคคลที่
เก็บรวบรวมไว้ก่อนวันที่ พ.ร.บ. นี้ใช้
บังคับ), มาตรา 96 (ระยะเวลาในการ
ดาเนินการออกระเบียบ และประกาศ
ตาม พ.ร.บ. นี้)
ตั้งแต่ 27 พ.ค. 2563 แต่ยกเว้น
การบังคับใช้จนถึง 31 พ.ค. 2565
ตั้งแต่ 28 พ.ค. 2562
25
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
เก็บรวบรวม
(Collection)
ใช้ (Use)
เปิดเผย
(Disclosure)
กระบวนการเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล
ประมวลผล (Process) = เก็บรวบรวม + ใช้ + เปิดเผย
(+ จัดเก็บ + วิเคราะห์ + ทาลาย + แสดงผล ฯลฯ)
26
27
28
29
30
31
32
33
Lawful Basis in PDPA
34
35
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลโดยไม่ได้รับความยินยอม (มาตรา 24)
• (1) เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวกับการจัดทาเอกสารประวัติศาสตร์หรือจดหมายเหตุเพื่อประโยชน์
สาธารณะ หรือที่เกี่ยวกับการศึกษาวิจัยหรือสถิติซึ่งได้จัดให้มีมาตรการปกป้องที่เหมาะสมเพื่อคุ้มครอง
สิทธิและเสรีภาพของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
• (2) เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคล
• (3) เป็นการจาเป็นเพื่อการปฏิบัติตามสัญญาซึ่งเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลเป็นคู่สัญญาหรือเพื่อใช้ในการ
ดาเนินการตามคาขอของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเข้าทาสัญญานั้น
• (4) เป็นการจาเป็นเพื่อการปฏิบัติหน้าที่ในการดาเนินภารกิจเพื่อประโยชน์สาธารณะของผู้ควบคุมข้อมูล
ส่วนบุคคล หรือปฏิบัติหน้าที่ในการใช้อานาจรัฐที่ได้มอบให้แก่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
• (5) เป็นการจาเป็นเพื่อประโยชน์โดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือของบุคคลหรือ
นิติบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล เว้นแต่ประโยชน์ดังกล่าวมีความสาคัญน้อยกว่าสิทธิขั้น
พื้นฐานในข้อมูลส่วนบุคคลของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
• (6) เป็นการปฏิบัติตามกฎหมายของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
36
37
38
39
40
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้รับความ
ยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26)
• ข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ ความคิดเห็นทางการเมือง ความ
เชื่อในลัทธิ ศาสนาหรือปรัชญา พฤติกรรมทางเพศ ประวัติอาชญากรรม
ข้อมูลสุขภาพ ความพิการ ข้อมูลสหภาพแรงงาน ข้อมูลพันธุกรรม ข้อมูล
ชีวภาพ หรือข้อมูลอื่นใดซึ่งกระทบต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลในทานอง
เดียวกันตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
41
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้
รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26)
• (1) เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคล
ซึ่งเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลไม่สามารถให้ความยินยอมได้ ไม่ว่าด้วยเหตุใด
ก็ตาม
• (2) เป็นการดาเนินกิจกรรมโดยชอบด้วยกฎหมายที่มีการคุ้มครองที่เหมาะสม
ของมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากาไรที่มีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับ
การเมือง ศาสนา ปรัชญา หรือสหภาพแรงงานให้แก่สมาชิก ผู้ซึ่งเคยเป็น
สมาชิก หรือผู้ซึ่งมีการติดต่ออย่างสม่าเสมอกับมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่
แสวงหากาไรตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวโดยไม่ได้เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลนั้น
ออกไปภายนอกมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากาไรนั้น
42
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้
รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26)
• (3) เป็นข้อมูลที่เปิดเผยต่อสาธารณะด้วยความยินยอมโดยชัดแจ้งของเจ้าของ
ข้อมูลส่วนบุคคล
• (4) เป็นการจาเป็นเพื่อการก่อตั้งสิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย การปฏิบัติตาม
หรือการใช้สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย หรือการยกขึ้นต่อสู้สิทธิเรียกร้องตาม
กฎหมาย
43
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้
รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26)
• (5) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
เกี่ยวกับ
• (ก) เวชศาสตร์ป้องกันหรืออาชีวเวชศาสตร์ การประเมินความสามารถในการทางาน
ของลูกจ้าง การวินิจฉัยโรคทางการแพทย์ การให้บริการด้านสุขภาพหรือด้านสังคม
การรักษาทางการแพทย์ การจัดการด้านสุขภาพ หรือระบบและการให้บริการด้าน
สังคมสงเคราะห์ ทั้งนี้ ในกรณีที่ไม่ใช่การปฏิบัติตามกฎหมายและข้อมูลส่วนบุคคล
นั้นอยู่ในความรับผิดชอบของผู้ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพหรือผู้มีหน้าที่รักษาข้อมูล
ส่วนบุคคลนั้นไว้เป็นความลับตามกฎหมาย ต้องเป็นการปฏิบัติตามสัญญาระหว่าง
เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลกับผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์
44
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้
รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26)
• (5) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
เกี่ยวกับ
• (ข) ประโยชน์สาธารณะด้านการสาธารณสุข เช่น การป้องกันด้านสุขภาพจาก
โรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดที่อาจติดต่อหรือแพร่เข้ามาในราชอาณาจักร หรือ
การควบคุมมาตรฐานหรือคุณภาพของยา เวชภัณฑ์ หรือเครื่องมือแพทย์ ซึ่งได้จัดให้
มีมาตรการที่เหมาะสมและเจาะจงเพื่อคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของเจ้าของข้อมูล
ส่วนบุคคลโดยเฉพาะการรักษาความลับของข้อมูลส่วนบุคคลตามหน้าที่หรือตาม
จริยธรรมแห่งวิชาชีพ
45
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้
รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26)
• (5) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
เกี่ยวกับ
• (ค) การคุ้มครองแรงงาน การประกันสังคม หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สวัสดิการ
เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลของผู้มีสิทธิตามกฎหมาย การคุ้มครองผู้ประสบภัยจาก
รถ หรือการคุ้มครองทางสังคม ซึ่งการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเป็นสิ่งจาเป็นใน
การปฏิบัติตามสิทธิหรือหน้าที่ของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือเจ้าของข้อมูลส่วน
บุคคล โดยได้จัดให้มีมาตรการที่เหมาะสมเพื่อคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานและประโยชน์
ของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
46
พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562
• ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้
รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26)
• (5) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์
เกี่ยวกับ
• (ง) การศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หรือสถิติ หรือประโยชน์
สาธารณะอื่น ทั้งนี้ ต้องกระทาเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวเพียงเท่าที่จาเป็น
เท่านั้น และได้จัดให้มีมาตรการที่เหมาะสมเพื่อคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานและ
ประโยชน์ของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
• (จ) ประโยชน์สาธารณะที่สาคัญ โดยได้จัดให้มีมาตรการที่เหมาะสมเพื่อคุ้มครอง
สิทธิขั้นพื้นฐานและประโยชน์ของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
47
48
49
50
51
52
53
54
55
56
57
58
59
ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญต่อ
ร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ....
60
ข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการวิสามัญต่อ
ร่าง พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. ....
61
Use Cases of Personal Data Flow
ผู้ป่วย โรงพยาบาล
หน่วยงานที่มี
อานาจหน้าที่
กองทุนหลักประกันสุขภาพ
ห้องปฏิบัติการ
นายจ้าง
62
Pandemic Use Case #1
• การรักษาพยาบาลผู้ป่วย COVID-19 หากจาเป็นต้องเก็บรวบรวม ใช้
หรือเปิดเผยข้อมูลผู้ป่วย (เช่น Timeline, ประวัติสัมผัส, ข้อมูล
สุขภาพ) เพื่อการรักษาพยาบาล จะสามารถดาเนินการได้หรือไม่
Lawful Basis
Scenario
• General Data:
• Vital Interest [ม.24(2)]
• Contract [ม.24(3)]
• Sensitive Data:
• Vital Interest [ม.26(1)]
• Contract with Health Professionals [ม.26(5)(ก) ส่วนท้าย]
• Legal Obligations (Public Health) [ม.26(5)(ข) + พ.ร.บ.
โรคติดต่อ ม.34(1)]
63
Pandemic Use Case #2
• การส่งข้อมูลผู้ป่วย (เช่น Timeline, ประวัติสัมผัส, ข้อมูลสุขภาพ) ให้
กรมควบคุมโรค/หน่วยงานที่มีอานาจ โดย รพ./ห้อง lab/เจ้าของ
สถานประกอบการ/เจ้าบ้าน จะสามารถดาเนินการได้หรือไม่
Lawful Basis
Scenario
• General Data:
• Legal Obligations [ม.24(6) + พ.ร.บ.โรคติดต่อ ม.31]
• Public Task [ม.24(4)]
• Sensitive Data:
• Legal Obligations (Public Health) [ม.26(5)(ข) + พ.ร.บ.
โรคติดต่อ ม.31]
• Legal Obligations (Substantial Public Interest) [ม.26(5)
(จ) + พ.ร.บ. xxx]
64
Pandemic Use Case #3
• นายจ้างจะขอข้อมูลของลูกจ้างที่ป่วยด้วย COVID-19 หรือสัมผัส
ผู้ป่วย COVID-19 (เช่น Timeline, ประวัติสัมผัส, ข้อมูลสุขภาพ) ได้
หรือไม่
Lawful Basis
Scenario
• General Data:
• Vital Interest [ม.24(2)]
• Legitimate Interest [ม.24(5)]
• Sensitive Data:
• Vital Interest [ม.26(1)]
• Legal Obligations (Substantial Public Interest) [ม.26(5)
(จ) + พ.ร.บ. xxx]??
65
Pandemic Use Case #4
• เจ้าของร่วมในอาคารชุด (condominium) แห่งหนึ่ง เรียกร้องให้
นิติบุคคลอาคารชุดเปิดเผยห้องพักของผู้พักอาศัยที่ติดเชื้อในอาคาร
ชุด โดยอ้างความปลอดภัยของตนเอง จะทาได้หรือไม่
Lawful Basis
Scenario
• General Data:
• Vital Interest [ม.24(2)] จะใช้ได้เฉพาะกรณีที่เหตุผลความจาเป็น
ในการทราบห้องพักดังกล่าวเพื่อประโยชน์ในการป้องกันหรือระงับ
อันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคลอธิบายได้ชัดเจน
• Sensitive Data:
• Vital Interest [ม.26(1)] จะใช้ได้เฉพาะกรณีที่เหตุผลความจาเป็น
ในการทราบห้องพักดังกล่าวเพื่อประโยชน์ในการป้องกันหรือระงับ
อันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคลอธิบายได้ชัดเจน

More Related Content

What's hot

Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...
Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...
Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Personal Data Protection Act (PDPA) and Enterprise Risk Management (February ...
Personal Data Protection Act (PDPA) and Enterprise Risk Management (February ...Personal Data Protection Act (PDPA) and Enterprise Risk Management (February ...
Personal Data Protection Act (PDPA) and Enterprise Risk Management (February ...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Personal Data Protection Act & App Developers
Personal Data Protection Act & App DevelopersPersonal Data Protection Act & App Developers
Personal Data Protection Act & App DevelopersNawanan Theera-Ampornpunt
 
Privacy and Security Concerns & Consents (November 25, 2020)
Privacy and Security Concerns & Consents (November 25, 2020)Privacy and Security Concerns & Consents (November 25, 2020)
Privacy and Security Concerns & Consents (November 25, 2020)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Cybersecurity Protection: Lessons Learned from the Healthcare Sector (October...
Cybersecurity Protection: Lessons Learned from the Healthcare Sector (October...Cybersecurity Protection: Lessons Learned from the Healthcare Sector (October...
Cybersecurity Protection: Lessons Learned from the Healthcare Sector (October...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...Nawanan Theera-Ampornpunt
 

What's hot (6)

Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...
Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...
Preparing Employees and the Organization for PDPA and Other ICT Laws (Decembe...
 
Personal Data Protection Act (PDPA) and Enterprise Risk Management (February ...
Personal Data Protection Act (PDPA) and Enterprise Risk Management (February ...Personal Data Protection Act (PDPA) and Enterprise Risk Management (February ...
Personal Data Protection Act (PDPA) and Enterprise Risk Management (February ...
 
Personal Data Protection Act & App Developers
Personal Data Protection Act & App DevelopersPersonal Data Protection Act & App Developers
Personal Data Protection Act & App Developers
 
Privacy and Security Concerns & Consents (November 25, 2020)
Privacy and Security Concerns & Consents (November 25, 2020)Privacy and Security Concerns & Consents (November 25, 2020)
Privacy and Security Concerns & Consents (November 25, 2020)
 
Cybersecurity Protection: Lessons Learned from the Healthcare Sector (October...
Cybersecurity Protection: Lessons Learned from the Healthcare Sector (October...Cybersecurity Protection: Lessons Learned from the Healthcare Sector (October...
Cybersecurity Protection: Lessons Learned from the Healthcare Sector (October...
 
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...
Security & Privacy of Health Information and IT Management in HIE (September ...
 

Similar to PDPA in the Midst of Pandemic (August 26, 2021)

Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (November 18, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (November 18, 2019)Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (November 18, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (November 18, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Patients, Users, and the Organization are Secure from Using the Hospital Info...
Patients, Users, and the Organization are Secure from Using the Hospital Info...Patients, Users, and the Organization are Secure from Using the Hospital Info...
Patients, Users, and the Organization are Secure from Using the Hospital Info...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
TAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉTAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉtaem
 
Personal Healthcare and Patient Privacy (November 25, 2016)
Personal Healthcare and Patient Privacy (November 25, 2016)Personal Healthcare and Patient Privacy (November 25, 2016)
Personal Healthcare and Patient Privacy (November 25, 2016)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Laws on Personal Health Information (November 23, 2018)
Laws on Personal Health Information (November 23, 2018)Laws on Personal Health Information (November 23, 2018)
Laws on Personal Health Information (November 23, 2018)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Information Privacy & Social Media Issues in Healthcare
Information Privacy & Social Media Issues in HealthcareInformation Privacy & Social Media Issues in Healthcare
Information Privacy & Social Media Issues in HealthcareNawanan Theera-Ampornpunt
 
Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)
Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)
Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Overview of Information Security & Privacy (March 11, 2019)
Overview of Information Security & Privacy (March 11, 2019)Overview of Information Security & Privacy (March 11, 2019)
Overview of Information Security & Privacy (March 11, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 

Similar to PDPA in the Midst of Pandemic (August 26, 2021) (14)

Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (November 18, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (November 18, 2019)Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (November 18, 2019)
Health Information Privacy & Security Management: Part 2 (November 18, 2019)
 
Patients, Users, and the Organization are Secure from Using the Hospital Info...
Patients, Users, and the Organization are Secure from Using the Hospital Info...Patients, Users, and the Organization are Secure from Using the Hospital Info...
Patients, Users, and the Organization are Secure from Using the Hospital Info...
 
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
Personal Data Protection Act and the Four Subordinate Laws (February 29, 2024)
 
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
Privacy & PDPA Awareness Training for Ramathibodi Residents (October 5, 2023)
 
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
Health Data Privacy Law in Action: Balancing Privacy and Utilization in the R...
 
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...
Personal Data Protection Act & National Health Security Office (September 30,...
 
TAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉTAEM11: กฎหมายสพฉ
TAEM11: กฎหมายสพฉ
 
Personal Healthcare and Patient Privacy (November 25, 2016)
Personal Healthcare and Patient Privacy (November 25, 2016)Personal Healthcare and Patient Privacy (November 25, 2016)
Personal Healthcare and Patient Privacy (November 25, 2016)
 
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
Relationship Between Thailand's Official Information Act and Personal Data Pr...
 
Laws on Personal Health Information (November 23, 2018)
Laws on Personal Health Information (November 23, 2018)Laws on Personal Health Information (November 23, 2018)
Laws on Personal Health Information (November 23, 2018)
 
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...
Personal Data Protection Act and Human Subjects Research and Patients' Health...
 
Information Privacy & Social Media Issues in Healthcare
Information Privacy & Social Media Issues in HealthcareInformation Privacy & Social Media Issues in Healthcare
Information Privacy & Social Media Issues in Healthcare
 
Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)
Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)
Ethical Issues in Health Information Privacy (October 30, 2017)
 
Overview of Information Security & Privacy (March 11, 2019)
Overview of Information Security & Privacy (March 11, 2019)Overview of Information Security & Privacy (March 11, 2019)
Overview of Information Security & Privacy (March 11, 2019)
 

More from Nawanan Theera-Ampornpunt

Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewNawanan Theera-Ampornpunt
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)Nawanan Theera-Ampornpunt
 

More from Nawanan Theera-Ampornpunt (20)

Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
 
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
Case Study PDPA Workshop (September 15, 2023)
 
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
Case Studies on Overview of PDPA and its Subordinate Laws (September 15, 2023)
 
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
Ramathibodi Security & Privacy Awareness Training (Fiscal Year 2023)
 
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
Social Media - PDPA: Is There A Way Out? (October 19, 2022)
 
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
Do's and Don'ts on PDPA for Doctors (May 31, 2022)
 
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of ViewTelemedicine: A Health Informatician's Point of View
Telemedicine: A Health Informatician's Point of View
 
Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)Meeting Management (March 2, 2022)
Meeting Management (March 2, 2022)
 
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
การบริหารความเสี่ยงคณะฯ (February 9, 2022)
 
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศทางสุขภาพ (February 8, 2022)
 
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
Digital Health Transformation for Health Executives (January 18, 2022)
 
Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)Hospital Informatics (November 26, 2021)
Hospital Informatics (November 26, 2021)
 
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
Health Informatics for Clinical Research (November 25, 2021)
 
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
Research Ethics and Ethics for Health Informaticians (November 15, 2021)
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
Consumer Health Informatics, Mobile Health, and Social Media for Health: Part...
 
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
Health Information Privacy and Security (November 8, 2021)
 
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 2 (Octobe...
 
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...
Information Technology Management in Healthcare Organizations: Part 1 (Octobe...
 
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)
Clinical Information Systems and Electronic Health Records (October 18, 2021)
 

PDPA in the Midst of Pandemic (August 26, 2021)

  • 1. 1 PDPA in the Midst of Pandemic นพ.นวนรรน ธีระอัมพรพันธุ์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล 26 สิงหาคม 2564 www.SlideShare.net/Nawanan
  • 3. 3 Outline •ทบทวนกฎหมาย Health Information Privacy •ทบทวนหลักการของ PDPA •PDPA & Pandemic
  • 5. 5 หลักพื้นฐาน: Balancing Private Rights & Public Good Private Rights Public Good
  • 6. 6 Relevant Ethical Principles Autonomy (หลักเอกสิทธิ์/ความเป็นอิสระของบุคคล) Beneficence (หลักการรักษาประโยชน์สูงสุดของผู้ป่วย) Non-maleficence (หลักการไม่ทาอันตรายต่อผู้ป่วย) “First, Do No Harm.”
  • 7. 7 ประมวลกฎหมายอาญา มาตรา 323 ผู้ใดล่วงรู้หรือได้มาซึ่งความลับของผู้อื่นโดยเหตุที่เป็นเจ้าพนักงาน ผู้มีหน้าที่ โดยเหตุที่ประกอบอาชีพเป็นแพทย์ เภสัชกร คนจาหน่ายยา นางผดุง ครรภ์ ผู้พยาบาล...หรือโดยเหตุที่เป็นผู้ช่วยในการประกอบอาชีพนั้น แล้ว เปิดเผยความลับนั้นในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด ต้อง ระวางโทษจาคุกไม่เกินหกเดือน หรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจาทั้งปรับ ผู้รับการศึกษาอบรมในอาชีพดังกล่าวในวรรคแรก เปิดเผยความลับของผู้อื่น อันตนได้ล่วงรู้หรือได้มาในการศึกษาอบรมนั้น ในประการที่น่าจะเกิดความ เสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใดต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน
  • 8. 8 ข้อบังคับแพทยสภา ว่าด้วยการรักษาจริยธรรม แห่งวิชาชีพเวชกรรม พ.ศ. 2549 วิชาชีพอื่นๆ ด้านสุขภาพ และคณะกรรมการประกอบโรคศิลปะ มีข้อบังคับใน ทานองเดียวกัน
  • 10. 10 พรบ.ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 “เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น” มาตรา 15 ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีลักษณะอย่างหนึ่งอย่างใดดังต่อไปนี้ หน่วยงานของรัฐหรือเจ้าหน้าที่ของรัฐอาจมีคาสั่งมิให้เปิดเผยก็ได้ โดยคานึงถึง การปฏิบัติหน้าที่ตามกฎหมาย...ประกอบกัน... (5) รายงานการแพทย์หรือข้อมูลข่าวสารส่วนบุคคลซึ่งการเปิดเผยจะเป็นการ รุกล้าสิทธิส่วนบุคคลโดยไม่สมควร (6) ข้อมูลข่าวสารของราชการที่มีกฎหมายคุ้มครองมิให้เปิดเผย...
  • 11. 11 พรบ.สุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2550 มาตรา 7 ข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคล เป็นความลับส่วนบุคคล ผู้ใดจะ นาไปเปิดเผยในประการที่น่าจะทาให้บุคคลนั้นเสียหายไม่ได้ เว้นแต่การ เปิดเผยนั้นเป็นไปตามความประสงค์ของบุคคลนั้นโดยตรง หรือมีกฎหมาย เฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย แต่ไม่ว่าในกรณีใด ๆ ผู้ใดจะอาศัยอานาจหรือ สิทธิตามกฎหมายว่าด้วยข้อมูลข่าวสารของราชการหรือกฎหมายอื่นเพื่อขอ เอกสารเกี่ยวกับข้อมูลด้านสุขภาพของบุคคลที่ไม่ใช่ของตนไม่ได้
  • 19. 19 TDPG 1.0 TDPG 2.0 TDPG 3.0 TDPG 3.1 for Investment Banking Activities https://www.law.chula.ac.th/wp-content/ uploads/2020/12/TDPG3.0-C5-20201208.pdf คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • 20. 20 Timeline พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • 6 ม.ค. 2558 ครม. อนุมัติหลักการร่างกฎหมายเพื่อรองรับการพัฒนาเศรษฐกิจดิจิทัลของ ประเทศ จานวน 8 ฉบับ • ก.ค. 2558 สานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาตรวจพิจารณาร่างเสร็จแล้ว (เรื่องเสร็จที่ 1135/2558) • 16 พ.ย. 2559 กระทรวง DE รับฟังความคิดเห็นเป็นการทั่วไป ณ โรงแรมเอทัส ลุมพินี • 15-17 ส.ค. 2560 กระทรวง DE รับฟังความคิดเห็นโดยการจัดประชุม Focus Group ร่วมกับ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ และภาคประชาสังคมที่เกี่ยวข้อง ณ กระทรวง DE • 24-30 ม.ค. 2561 กระทรวง DE รับฟังความคิดเห็นจากตัวแทนผู้มีส่วนได้เสีย ณ กระทรวง DE • 22 ม.ค. - 6 ก.พ. 2561 กระทรวง DE รับฟังความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์และ e-mail • 22 พ.ค. 2561 ครม. อนุมัติหลักการร่าง พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. .... • 5-20 ก.ย. 2561 กระทรวง DE รับฟังความคิดเห็นผ่านเว็บไซต์ (ประชุม 11 ก.ย. 2651) • 28 ธ.ค. 2561 สนช. รับหลักการในวาระที่ 1 • 27-28 ก.พ. 2562 สนช. เห็นชอบในวาระที่ 2-3 • 27 พ.ค. 2562 ประกาศในราชกิจจานุเบกษา • 27 พ.ค. 2563 บทบัญญัติเรื่องสิทธิและหน้าที่ในการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมีผลใช้บังคับ (แต่ยกเว้นการบังคับใช้จนถึง 31 พ.ค. 2565)
  • 22. 22 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • หมวด 1 คณะกรรมการคุ้มครอง ข้อมูลส่วนบุคคล • หมวด 2 การคุ้มครองข้อมูลส่วน บุคคล • ส่วนที่ 1 บททั่วไป • ส่วนที่ 2 การเก็บรวบรวมข้อมูล ส่วนบุคคล • ส่วนที่ 3 การใช้หรือเปิดเผย ข้อมูลส่วนบุคคล • หมวด 3 สิทธิของเจ้าของข้อมูล ส่วนบุคคล • หมวด 4 สานักงานคณะกรรมการ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล • หมวด 5 การร้องเรียน • หมวด 6 ความรับผิดทางแพ่ง • หมวด 7 บทกาหนดโทษ • ส่วนที่ 1 โทษอาญา • ส่วนที่ 2 โทษทางปกครอง • บทเฉพาะกาล
  • 23. 23 กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิในคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ตามมติ ครม. 19 พ.ค. 2563 (รอประกาศในราชกิจจานุเบกษา) https://www.prachachat.net/general/news-466309
  • 24. 24 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศใน ราชกิจจานุเบกษา • หมวด 1 คณะกรรมการคุ้มครองข้อมูล ส่วนบุคคล • หมวด 4 สานักงานคณะกรรมการ คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล • บทเฉพาะกาล (ยกเว้นมาตรา 95, 96) เมื่อพ้นกาหนดหนึ่งปีนับแต่วัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษา • หมวด 2 การคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล • หมวด 3 สิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วน บุคคล • หมวด 5 การร้องเรียน • หมวด 6 ความรับผิดทางแพ่ง • หมวด 7 บทกาหนดโทษ • บทเฉพาะกาล เฉพาะมาตรา 95 (การ เก็บรวบรวมและใช้ข้อมูลส่วนบุคคลที่ เก็บรวบรวมไว้ก่อนวันที่ พ.ร.บ. นี้ใช้ บังคับ), มาตรา 96 (ระยะเวลาในการ ดาเนินการออกระเบียบ และประกาศ ตาม พ.ร.บ. นี้) ตั้งแต่ 27 พ.ค. 2563 แต่ยกเว้น การบังคับใช้จนถึง 31 พ.ค. 2565 ตั้งแต่ 28 พ.ค. 2562
  • 25. 25 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 เก็บรวบรวม (Collection) ใช้ (Use) เปิดเผย (Disclosure) กระบวนการเกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคล ประมวลผล (Process) = เก็บรวบรวม + ใช้ + เปิดเผย (+ จัดเก็บ + วิเคราะห์ + ทาลาย + แสดงผล ฯลฯ)
  • 26. 26
  • 27. 27
  • 28. 28
  • 29. 29
  • 30. 30
  • 31. 31
  • 32. 32
  • 34. 34
  • 35. 35 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลโดยไม่ได้รับความยินยอม (มาตรา 24) • (1) เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ที่เกี่ยวกับการจัดทาเอกสารประวัติศาสตร์หรือจดหมายเหตุเพื่อประโยชน์ สาธารณะ หรือที่เกี่ยวกับการศึกษาวิจัยหรือสถิติซึ่งได้จัดให้มีมาตรการปกป้องที่เหมาะสมเพื่อคุ้มครอง สิทธิและเสรีภาพของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล ทั้งนี้ ตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด • (2) เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคล • (3) เป็นการจาเป็นเพื่อการปฏิบัติตามสัญญาซึ่งเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลเป็นคู่สัญญาหรือเพื่อใช้ในการ ดาเนินการตามคาขอของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลก่อนเข้าทาสัญญานั้น • (4) เป็นการจาเป็นเพื่อการปฏิบัติหน้าที่ในการดาเนินภารกิจเพื่อประโยชน์สาธารณะของผู้ควบคุมข้อมูล ส่วนบุคคล หรือปฏิบัติหน้าที่ในการใช้อานาจรัฐที่ได้มอบให้แก่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล • (5) เป็นการจาเป็นเพื่อประโยชน์โดยชอบด้วยกฎหมายของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือของบุคคลหรือ นิติบุคคลอื่นที่ไม่ใช่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล เว้นแต่ประโยชน์ดังกล่าวมีความสาคัญน้อยกว่าสิทธิขั้น พื้นฐานในข้อมูลส่วนบุคคลของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล • (6) เป็นการปฏิบัติตามกฎหมายของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล
  • 36. 36
  • 37. 37
  • 38. 38
  • 39. 39
  • 40. 40 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • การเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้รับความ ยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26) • ข้อมูลส่วนบุคคลเกี่ยวกับเชื้อชาติ เผ่าพันธุ์ ความคิดเห็นทางการเมือง ความ เชื่อในลัทธิ ศาสนาหรือปรัชญา พฤติกรรมทางเพศ ประวัติอาชญากรรม ข้อมูลสุขภาพ ความพิการ ข้อมูลสหภาพแรงงาน ข้อมูลพันธุกรรม ข้อมูล ชีวภาพ หรือข้อมูลอื่นใดซึ่งกระทบต่อเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลในทานอง เดียวกันตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด
  • 41. 41 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้ รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26) • (1) เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคล ซึ่งเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลไม่สามารถให้ความยินยอมได้ ไม่ว่าด้วยเหตุใด ก็ตาม • (2) เป็นการดาเนินกิจกรรมโดยชอบด้วยกฎหมายที่มีการคุ้มครองที่เหมาะสม ของมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากาไรที่มีวัตถุประสงค์เกี่ยวกับ การเมือง ศาสนา ปรัชญา หรือสหภาพแรงงานให้แก่สมาชิก ผู้ซึ่งเคยเป็น สมาชิก หรือผู้ซึ่งมีการติดต่ออย่างสม่าเสมอกับมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่ แสวงหากาไรตามวัตถุประสงค์ดังกล่าวโดยไม่ได้เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลนั้น ออกไปภายนอกมูลนิธิ สมาคม หรือองค์กรที่ไม่แสวงหากาไรนั้น
  • 42. 42 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้ รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26) • (3) เป็นข้อมูลที่เปิดเผยต่อสาธารณะด้วยความยินยอมโดยชัดแจ้งของเจ้าของ ข้อมูลส่วนบุคคล • (4) เป็นการจาเป็นเพื่อการก่อตั้งสิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย การปฏิบัติตาม หรือการใช้สิทธิเรียกร้องตามกฎหมาย หรือการยกขึ้นต่อสู้สิทธิเรียกร้องตาม กฎหมาย
  • 43. 43 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้ รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26) • (5) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ เกี่ยวกับ • (ก) เวชศาสตร์ป้องกันหรืออาชีวเวชศาสตร์ การประเมินความสามารถในการทางาน ของลูกจ้าง การวินิจฉัยโรคทางการแพทย์ การให้บริการด้านสุขภาพหรือด้านสังคม การรักษาทางการแพทย์ การจัดการด้านสุขภาพ หรือระบบและการให้บริการด้าน สังคมสงเคราะห์ ทั้งนี้ ในกรณีที่ไม่ใช่การปฏิบัติตามกฎหมายและข้อมูลส่วนบุคคล นั้นอยู่ในความรับผิดชอบของผู้ประกอบอาชีพหรือวิชาชีพหรือผู้มีหน้าที่รักษาข้อมูล ส่วนบุคคลนั้นไว้เป็นความลับตามกฎหมาย ต้องเป็นการปฏิบัติตามสัญญาระหว่าง เจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลกับผู้ประกอบวิชาชีพทางการแพทย์
  • 44. 44 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้ รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26) • (5) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ เกี่ยวกับ • (ข) ประโยชน์สาธารณะด้านการสาธารณสุข เช่น การป้องกันด้านสุขภาพจาก โรคติดต่ออันตรายหรือโรคระบาดที่อาจติดต่อหรือแพร่เข้ามาในราชอาณาจักร หรือ การควบคุมมาตรฐานหรือคุณภาพของยา เวชภัณฑ์ หรือเครื่องมือแพทย์ ซึ่งได้จัดให้ มีมาตรการที่เหมาะสมและเจาะจงเพื่อคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของเจ้าของข้อมูล ส่วนบุคคลโดยเฉพาะการรักษาความลับของข้อมูลส่วนบุคคลตามหน้าที่หรือตาม จริยธรรมแห่งวิชาชีพ
  • 45. 45 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้ รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26) • (5) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ เกี่ยวกับ • (ค) การคุ้มครองแรงงาน การประกันสังคม หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สวัสดิการ เกี่ยวกับการรักษาพยาบาลของผู้มีสิทธิตามกฎหมาย การคุ้มครองผู้ประสบภัยจาก รถ หรือการคุ้มครองทางสังคม ซึ่งการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลเป็นสิ่งจาเป็นใน การปฏิบัติตามสิทธิหรือหน้าที่ของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลหรือเจ้าของข้อมูลส่วน บุคคล โดยได้จัดให้มีมาตรการที่เหมาะสมเพื่อคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานและประโยชน์ ของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
  • 46. 46 พ.ร.บ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 • ข้อยกเว้นการเก็บรวบรวมข้อมูลส่วนบุคคลที่เป็น Sensitive Data โดยไม่ได้ รับความยินยอมโดยชัดแจ้ง (มาตรา 26) • (5) เป็นการจาเป็นในการปฏิบัติตามกฎหมายเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ เกี่ยวกับ • (ง) การศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ ประวัติศาสตร์ หรือสถิติ หรือประโยชน์ สาธารณะอื่น ทั้งนี้ ต้องกระทาเพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์ดังกล่าวเพียงเท่าที่จาเป็น เท่านั้น และได้จัดให้มีมาตรการที่เหมาะสมเพื่อคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานและ ประโยชน์ของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลตามที่คณะกรรมการประกาศกาหนด • (จ) ประโยชน์สาธารณะที่สาคัญ โดยได้จัดให้มีมาตรการที่เหมาะสมเพื่อคุ้มครอง สิทธิขั้นพื้นฐานและประโยชน์ของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล
  • 47. 47
  • 48. 48
  • 49. 49
  • 50. 50
  • 51. 51
  • 52. 52
  • 53. 53
  • 54. 54
  • 55. 55
  • 56. 56
  • 57. 57
  • 58. 58
  • 61. 61 Use Cases of Personal Data Flow ผู้ป่วย โรงพยาบาล หน่วยงานที่มี อานาจหน้าที่ กองทุนหลักประกันสุขภาพ ห้องปฏิบัติการ นายจ้าง
  • 62. 62 Pandemic Use Case #1 • การรักษาพยาบาลผู้ป่วย COVID-19 หากจาเป็นต้องเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลผู้ป่วย (เช่น Timeline, ประวัติสัมผัส, ข้อมูล สุขภาพ) เพื่อการรักษาพยาบาล จะสามารถดาเนินการได้หรือไม่ Lawful Basis Scenario • General Data: • Vital Interest [ม.24(2)] • Contract [ม.24(3)] • Sensitive Data: • Vital Interest [ม.26(1)] • Contract with Health Professionals [ม.26(5)(ก) ส่วนท้าย] • Legal Obligations (Public Health) [ม.26(5)(ข) + พ.ร.บ. โรคติดต่อ ม.34(1)]
  • 63. 63 Pandemic Use Case #2 • การส่งข้อมูลผู้ป่วย (เช่น Timeline, ประวัติสัมผัส, ข้อมูลสุขภาพ) ให้ กรมควบคุมโรค/หน่วยงานที่มีอานาจ โดย รพ./ห้อง lab/เจ้าของ สถานประกอบการ/เจ้าบ้าน จะสามารถดาเนินการได้หรือไม่ Lawful Basis Scenario • General Data: • Legal Obligations [ม.24(6) + พ.ร.บ.โรคติดต่อ ม.31] • Public Task [ม.24(4)] • Sensitive Data: • Legal Obligations (Public Health) [ม.26(5)(ข) + พ.ร.บ. โรคติดต่อ ม.31] • Legal Obligations (Substantial Public Interest) [ม.26(5) (จ) + พ.ร.บ. xxx]
  • 64. 64 Pandemic Use Case #3 • นายจ้างจะขอข้อมูลของลูกจ้างที่ป่วยด้วย COVID-19 หรือสัมผัส ผู้ป่วย COVID-19 (เช่น Timeline, ประวัติสัมผัส, ข้อมูลสุขภาพ) ได้ หรือไม่ Lawful Basis Scenario • General Data: • Vital Interest [ม.24(2)] • Legitimate Interest [ม.24(5)] • Sensitive Data: • Vital Interest [ม.26(1)] • Legal Obligations (Substantial Public Interest) [ม.26(5) (จ) + พ.ร.บ. xxx]??
  • 65. 65 Pandemic Use Case #4 • เจ้าของร่วมในอาคารชุด (condominium) แห่งหนึ่ง เรียกร้องให้ นิติบุคคลอาคารชุดเปิดเผยห้องพักของผู้พักอาศัยที่ติดเชื้อในอาคาร ชุด โดยอ้างความปลอดภัยของตนเอง จะทาได้หรือไม่ Lawful Basis Scenario • General Data: • Vital Interest [ม.24(2)] จะใช้ได้เฉพาะกรณีที่เหตุผลความจาเป็น ในการทราบห้องพักดังกล่าวเพื่อประโยชน์ในการป้องกันหรือระงับ อันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคลอธิบายได้ชัดเจน • Sensitive Data: • Vital Interest [ม.26(1)] จะใช้ได้เฉพาะกรณีที่เหตุผลความจาเป็น ในการทราบห้องพักดังกล่าวเพื่อประโยชน์ในการป้องกันหรือระงับ อันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือสุขภาพของบุคคลอธิบายได้ชัดเจน