SlideShare a Scribd company logo
1 of 80
Download to read offline
โรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1
รายงานการประเมิน
หลักสูตรสถานศึกษา
2564
สารบัญ
หน้า
คำนำ ก
สารบัญ ข
สารบัญตาราง ค
บทที่ 1
บทนำ 1
หลักการและเหตุผล 1 - 2
วัตถุประสงค์ของการประเมิน 3
ขอบเขตของการประเมิน 3
นิยามศัพท์เฉพาะ 3 - 4
ประโยชน์ที่ได้รับจากการประเมิน 4
บทที่ 2
เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 5
แนวคิดเกี่ยวกับหลักสูตร 5 - 7
สาระสำคัญเกี่ยวกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช2551 7 - 11
การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา 11 - 14
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 14 - 15
บทที่ 3
วิธีการดำเนินการ 17
กระบวนการดำเนินงาน 17
กลุ่มเป้าหมายในการเก็บรวบรวมข้อมูล 17
เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 18 - 21
การเก็บรวบรวมข้อมูล 22 - 25
วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล 26
บทที่ 4
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 27
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 27 – 41
บทที่ 5
สรุปผลและข้อเสนอแนะ 42
สรุปผลการประเมิน 43 - 45
บรรณานุกรม 46 - 48
สารบัญตาราง
ตารางที่ หน้า
1 กลุ่มตัวอย่างในการประเมิน จากนักเรียน 18
2 กลุ่มตัวอย่างในการประเมินจากผู้ปกครองนักเรียน 18
3 กรอบในการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา
4 การวิเคราะห์กลยุทธ์ (เครื่องมือ) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล และแหล่งรวบรวมข้อมูล 20 - 25
5 ร้อยละของพฤติกรรมด้านมีวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ 28
6 ร้อยละของพฤติกรรมด้านความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์
และมีวิสัยทัศน์ 29
7 ร้อยละของพฤติกรรมด้านการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองอย่างต่อเนื่อง 30
8 ร้อยละของทักษะในการทำงาน รักการทำงานและมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ 30
9 ร้อยละด้านสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิต 31
10 ร้อยละพฤติกรรมด้านสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรีและกีฬา 32
11 ร้อยละของข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 33
12 ร้อยละความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ 31
13 ร้อยละความพึงพอใจในการจัดการศึกษาของผู้ปกครองและชุมชน 32
14 ร้อยละคุณภาพเอกสารหลักสูตรสถานศึกษา 33
15 ร้อยละด้านการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน 35
16 ร้อยละการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา 36
17 ร้อยละระดับคุณภาพการวัดและประเมินผลการเรียนในห้องเรียน 37
18 ร้อยละความสามารถด้านการจัดท าหลักสูตรสถานศึกษาของครูผู้สอน 38
19 ร้อยละความสามารถด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครูผู้สอน 39
20 ร้อยละความพึงพอใจการจัดการศึกษาในการปฏิบัติงานของครูผู้สอน 40
21 ร้อยละค่าใช้จ่ายในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 41
22 ร้อยละการใช้สื่อในการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครูผู้สอน 42
23 ตารางเปลี่ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 43-46
24 ตาราตารางเปลี่ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากการทดสอบระดับชาติ (O-net) 47-50
คำนำ
ชื่อเรื่อง รายงานการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาประจำปีการศึกษา 2564 ระดับ ป.1 - ม.3
โรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา
ปทุมธานี เขต 1
ผู้รับผิดชอบ กลุ่มบริหารวิชาการ
ระยะเวลาการประเมิน เดือนมีนาคม ปีพุทธศักราช 2565
การวิจัยนี้เป็นการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ สำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 โดยการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อประเมิน
การใช้ หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี
เพื่อยกระดับคุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษาให้เกิดผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น ในการประเมินหลักสูตร
ครั้งนี้นั้นได้ประยุกตใช้ รูปแบบการประเมินโดยใช้หลักการ Balanced Scorecard ซึ่งเป็นรูปแบบที่
จะช่วยในการตัดสินใจ ของผู้บริหาร โดยเน้นการประเมินทั้งระบบ ประเมินสภาพข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ
หลักสูตรในด้านต่าง ๆ ทั้งในระหว่างดำเนินการ และประเมินรวบยอดอย่างสมบูรณ์ของหลักสูตร
การประเมินหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ ดำเนินการในช่วงเดือน
มีนาคม 2565 การกำหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตารางของเครจซี และมอร์แกน (Krejcie & Morgan,
1970 p.608) จากประชากรทั้งหมด 530 คน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 230 คน จำแนกเป็น ผู้บริหาร
เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling ) จำนวน 2 คน ครูผู้สอนเลือกแบบเจาะจง จำนวน 28
คน นักเรียนและผู้ปกครอง เลือกวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling )
จำนวน 200 คน เครื่องมือที่ใช้ ในประเมิน คือ แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน แบบสอบถาม แบบ
สัมภาษณ์ ดูจากผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้โดยใช้แบบบันทึกข้อมูล และแบบ
ประเมินคุณภาพ และนำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ
ผลการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ ผลการประเมินพบว่า
1. การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา มุมมองด้านนักเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้องของหลักสูตรตาม
ความคิดเห็นของนักเรียน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาชั้นพื้นฐานในภาพรวมพบว่า มี
ความสอดคล้องอยู่ในระดับดีมาก
2. การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา มุมมองต้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของ
ครูผู้สอน ผู้บริหารสถานศึกษา ในภาพรวมพบว่า มีความสอดคล้องอยู่โนระดับดีมาก
3. การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา มุมมองต้านการเรียนรู้และการพัฒนาการเรียนรู้ของ
ครูผู้สอน ผู้ปริหารสถนศึกษา ในภาพรวมพบว่า มีความสอดคล้องอยู่โนระดับดีมาก
4. การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา มุมมองต้านงบประมาณและทรัพยากร ในภาพรวม
พบว่ามีความสอดคล้องอยู่ในระดับดีมาก
บทที่ 1
บทนำ
1.หลักการและเหตุผล
การศึกษามีบทบาทและความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในยุค
ปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม การศึกษาจะเป็นพื้นฐานในการคิด พัฒนา
ตนเองให้ทันต่อสังคมโลก และสามารถดำรงชีวิตอย่างมีความสุข เมื่อพิจารณาบทบัญญัติของ
รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 พบว่า รัฐธรรมนูญได้กำหนดนโยบายด้าน
การศึกษาไว้ใน มาตราที่ 80 ซึ่งกำหนดให้เป็นหน้าที่ของรัฐในการที่จะต้องพัฒนาคุณภาพและ
มาตรฐานการจัดการศึกษาในทุกระดับและทุกรูปแบบให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทาง
เศรษฐกิจและสังคม จัดให้มีแผนการศึกษาแห่งชาติ กฎหมายเพื่อพัฒนาการศึกษาของชาติการพัฒนา
คุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ก้าวหน้าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก(รัฐธรรมนูญแห่ง
ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550, 2550, หน้า 23 24)
กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551
แทนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 โดยกำหนดเงื่อนไขให้โรงเรียนต้นแบบเริ่มใช้
ตั้งแต่ปีการศึกษา 2552 ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1และ 4 และใช้ให้ครบทุก
ชั้นเรียนตั้งแต่ปีการศึกษา 2554 สำหรับโรงเรียนทั่วไป ให้เริ่มใช้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2553 ในชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ชั้นมัธยมศึกษาบีที่ 1 และ 4 และใช้ให้ครบทุกชั้นเรียน ตั้งแต่ปีการศึกษา
2555 เป็นต้นไป (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาชั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 เป็นหลักสูตรอิงมาตรฐานที่กำหนดวิสัยทัศน์ สมรรถนะที่สำคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะ ที่
พึงประสงค์ที่จะพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนด หลักสูตรนี้มุ่งพัฒนา
ผู้เรียนให้เกิดความสมดุลคำนึงถึงหลักการพัฒนาทางสมองและพหุปัญญา กำหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ 8
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำคัญ
ของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้จะระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ มีคุณธรรม
จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ เมื่อจบการศึกษาชั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ ยัง
เป็นกลไกสำคัญในการชับเคลื่อนการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่า
ต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทั้งยังเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการ
ประกันคุณภาพการศึกษา โดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพรวมทั้ง
การทดสอบระดับเขพื้นที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ในแต่ละมาตรการเรียนรู้จะประกอบ
ไปด้วยตัวชี้วัด ตัวชี้วัดเหล่านี้จะระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่
ละระดับชั้น ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สำคัญ
สำหรับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพของผู้เรียน
โรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1
ปีการศึกษา 2564 มีผู้บริหาร 2 คน ครูผู้สอนจำนวน 22 คน เจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน อัตราจ้าง 5 คน
และนักเรียน จำนวน 505 คน เริ่มใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เมื่อ
ปีการศึกษา 2553 โดยเริ่มใช้หลักสูตรสถานศึกษาพุทธศักราช 2562 ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ตั้งแต่ปีการศึกษา 2562 ซึ่งเป็นไปตาม พระราชบัญญัติ
1
การศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 มาตรา 27 ได้กำหนดให้สถานศึกษาจัดทำ หลักสูตรสถานศึกษา
ขึ้นใช้เองในโรงเรียนของตน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์
ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา คณะครูผู้สอน และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้
ร่วมกันจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาขึ้น โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ ที่มีความ
สมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในการเป็นพลเมืองไทยและพลโลก มุ่งเน้น ผู้เรียน
เป็นสำคัญ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมาย และ
จุดเน้นของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ซึ่งมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนมี
คุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติการจัดการเรียนการสอนที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
สถานศึกษา จึงมุ่งให้ ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงและมีทักษะ สามารถนำความรู้ ไปใช้ในการดำรงชีวิต
ประจำวันได้ กิจกรรม การเรียนมุ่งเน้นทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ คุณธรรมจริยธรรม
และความรับผิดชอบต่อ สังคมในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนได้ศึกษาสภาพต่างๆ ที่เป็น
ปัญหา จุดเด่น/เอกลักษณ์ ของชุมชน สังคมศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการระดม
ทรัพยากรทั้งของสถานศึกษา และ ชุมชนมาใช้ และใช้ศักยภาพที่มีอยู่อย่างเต็มที่ ทั้งในด้านการจัด
เนื้อหาสาระ สื่อการเรียน เทคนิค วิธีการสอน กิจกรรมการเรียน และการวัดผลประเมินผล เพื่อให้ได้
หลักสูตรที่ดี มีความทันสมัย เหมาะสมกับสถานการณ์ ความก้าวหน้าของวิทยาการต่างๆ และ
ตอบสนองความต้องการของสังคม และสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังที่
กรมวิชาการ (2545, หน้า 7) กำหนด ไว้ว่าหลักสูตรสถานศึกษาที่มีคุณภาพต้องเป็นหลักสูตรที่พัฒนา
มาจากข้อมูลของสถานศึกษา และ ชุมชน หลักสูตรใดก็ตามที่สามารถทำให้นักเรียนทุกคนสำเร็จ
การศึกษาและมีคุณภาพตามหลักสูตร กำหนด หลักสูตรนั้นย่อมมีประสิทธิภาพ ผลิตผลของการศึกษา
จะดีหรือไม่ ย่อมขึ้นอยู่กับคุณภาพของ หลักสูตร ในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษานั้นผู้จัดทำ
หลักสูตรต้องศึกษาข้อมูลอย่างกว้างขวาง เพื่อให้สามารถกำหนดเป้าหมาย ส่วนประกอบ และเนื้อหา
สาระของหลักสูตรจนนำไปสู่การจัด ประสบการณ์ให้กับผู้เรียน หลังจากได้จัดทำและใช้ไประยะหนึ่ง
แล้วต้องมีการประเมินหลักสูตร ซึ่งจะ เป็นการรวบรวมและศึกษาข้อมูล รวมทั้งการวิเคราะห์ข้อมูล
เพื่อตรวจสอบหลักสูตรว่ามีคุณค่า บรรลุผลตามเป้าหมายที่ก าหนดไว้หรือไม่ หลักสูตรมีข้อดีในเรื่อง
ใดและมีส่วนใดที่ต้องปรับปรุงและ พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น(สมคิด พรมจุ้ย, 2551, หน้า 21)
โรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ ได้ดำเนินการใช้หลักสูตรสถานศึกษามาครบหนึ่งปีการศึกษา
แล้ว กลุ่มบริหารวิชาการโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ เห็นว่าควรจะได้มีการประเมินหลักสูตร
สถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2564 เพื่อจะได้ทราบว่าสภาพการใช้หลักสูตรสถานศึกษาเป็นอย่างไร
มีปัญหา ข้อบกพร่อง และส่วนที่ควรปรับปรุงแก้ไขอย่างไร และเป็นแนวทางให้ผู้บริหาร
คณะกรรมการบริหาร หลักสูตร ได้นำข้อมูลจากผลการประเมินไปปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรให้
เกิดประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น อีกทั้งครูผู้สอนยังใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนรู้
ให้สามารถตอบสนอง ความต้องการของท้องถิ่น และนักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม
เจตนารมณ์ของหลักสูตร เพื่อนำไปสู่คำตอบว่า หลักสูตรมีความเหมาะสมเพียงไร การดำเนินงาน
เป็นไปตามความมุ่งหมาย ที่วางไว้หรือไม่ มีปัญหา อุปสรรคหรือข้อผิดพลาดประการใด ซึ่งจะช่วยให้
สามารถตัดสินใจได้ว่าควรมี การปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรในด้านใด เพื่อให้เป็นหลักสูตรที่มี
ประสิทธิภาพต่อไป
2
2. วัตถปุระสงค์ของการประเมิน
2.1 เพื่อประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ สำนักงาน
เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1
2.2 เพื่อยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษา ให้เกิดผลสัมฤทธิสูงขึ้น โดยใช้
หลักการ Balanced Scorecard
3. ขอบเขตของการประเมิน
การประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ สำนักงานเขต
พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ครั้งนี้ผู้ประเมินได้กำหนดขอบเขตการประเมินในด้าน
แหล่งข้อมูลและเนื้อหา ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
3.1 แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ประกอบด้วย ประชากร คือผู้บริหารสถานศึกษา
ครู นักเรียน และผู้ปกครอง นักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3 จำแนกเป็น
ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 2 คน และครูผู้สอน จำนวน 27 คน นักเรียนจำนวน 505 คน รวมทั้งสิ้น
จำนวน 554 คน
3.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน และผู้ปกครอง
นักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 การกำหนดขนาดกลุ่ม
ตัวอย่างใช้ตารางของเครจซี และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970 p.608) ได้กลุ่มตัวอย่าง
จำนวน 230 คน จำแนกเป็น ผู้บริหารเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling ) จำนวน 2 คน
ครูผู้สอนเลือกแบบเจาะจง จำนวน 28 คน นักเรียนและผู้ปกครอง เลือกวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน
(Multi-Stage Random Sampling ) จำนวน 200 คน
4. นิยามศัพท์เฉพาะ
4.1 หลักสูตรสถานศึกษา หมายถึง หลักสูตรที่สถานศึกษาจัดทำขึ้นเอง โดยนำข้อมูลของ
สถานศึกษาและชุมชนที่เป็นปัญหา จุดเด่น เอกลักษณ์ของชุมชน สังคม ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น คุณลักษณะที่พึงประสงค์เพื่อการเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ
มากำหนดเป็นสาระ และการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนบนพื้นฐานของหลักสูตรการศึกษา ขั้น
พื้นฐาน สถานศึกษาสามารถเพิ่มเติมสาระ และมาตรฐานการเรียนรู้ หรือรายวิชาได้ตามความถนัด
และความสนใจของผู้เรียน โดยความร่วมมือของทุกคนในโรงเรียนและชุมชน
4.2 นักเรียน หมายถึง นักเรียนโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้น
ประถมศึกษาปี ที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564
4.3 ครูผู้สอน หมายถึง ครูผู้สอนโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ ที่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 และสอนรายวิชาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ได้รับมอบหมา
3
4.4 ผู้ปกครอง หมายถึง ผู้ปกครองของนักเรียนโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ ชั้น
ประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564
4.5 ผู้บริหารสถานศึกษา หมายถึง ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์
อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี
4.6 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานปี
การศึกษา 2564 โรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี
5. ประโยชน์ที่ได้รับจากการประเมิน
ประโยชน์ที่ได้รับจากผลการประเมินครั้งนี้ มีดังนี้
5.1 ได้ทราบข้อมูลสารสนเทศเพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนวัดบัว
สุวรรณประดิษฐ์
5.2 ได้ข้อมูลสารสนเทศเพื่อเป็นแนวทางสำหรับครูผู้สอนในการปรับปรุงกระบวนการเรียน
การสอนให้สามารถตอบสนองความต้องการของท้องถิ่น และนักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตาม
เจตนารมณ์ของหลักสูตร
4
บทที่ 2
เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
การรายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ อำเภอ
ลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ครั้งนี้ ผู้ประเมินได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้เป็นแนวทาง มีดัง
ประเด็น ต่อไปนี้
1. แนวคิดเกี่ยวกับหลักสูตร
2. สาระสำคัญเกี่ยวกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
3. การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา
4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. แนวคิดเกี่ยวกับหลักสตูร
1.1 ความหมายของหลักสูตร
จากการศึกษาความหมายของหลักสูตร มีผู้ให้ความหมายไว้ ดังนี้
สุนีย์ ภู่พันธ์ (2546, หน้า 13) ให้ความหมายของหลักสูตรไว้ว่า หลักสูตร หมายถึง มวล
ประสบการณ์การเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้รับทั้งภายนอกและภายในโรงเรียน ซึ่งโรงเรียนหรือ สถานศึกษา
จัดให้แก่ผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนมีพัฒนาการทั้งในด้านร่างกาย สังคม ปัญญา และจิตใจ
พิสณุ ฟองศรี (2549, หน้า 143) ให้ความหมายของหลักสูตรไว้ว่า หลักสูตร คือ การวางแผน
การจัดระบบทางการศึกษาเกี่ยวกับมวลวิชา ประสบการณ์ต่างๆ การจัดการเรียน การสอน เพื่อเป็น
แนวทางส าหรับการปฏิบัติให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะต่าง ๆ ที่พึงประสงค์ตาม จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
จากความหมาย สรุปได้ว่าหลักสูตรหมายถึง เนื้อหาสาระที่จัดไว้เป็นระบบ หรือมวล
ประสบการณ์ต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
ซึ่งจัดให้กับผู้เรียนเพื่อให้เป็นแนวทางให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะคุณธรรม และพัฒนาการทางด้านต่าง
ๆ ตามจุดมุ่งหมายของการศึกษา
1.2 ความสำคัญของหลักสูตร
หลักสูตรเป็นองค์ประกอบอันสำคัญยิ่งอย่างหนึ่งของการจัดการศึกษา เพราะในการจัด
การศึกษาที่จะบรรลุเป้าหมายได้นั้นต้องอาศัยหลักสูตรเป็นเครื่องมือนำไปสู่การบรรลุเป้าหมาย โดย
ชี้นำทางในการจัดความรู้และประสบการณ์ แก่ผู้เรียนซึ่งครูต้องปฏิบัติตามเพื่อให้ผู้เรียนได้รับ
การศึกษาที่มุ่งสู่จุดหมายเดียวกัน หลักสูตรจึงเป็นหัวใจสำคัญของการศึกษา นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องชี้
ถึงความเจริญของชาติ เนื่องจากเป็นตัว กำหนดทิศทางในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความ
ต้องการของสังคม เศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและการพัฒนาประเทศ
ด้านอื่น ๆ ซึ่ง สุนีย์ ภู่พันธ์ (2546, หน้า 16 - 17) ได้กล่าวถึงความสำคัญของหลักสูตร สรุปได้ดังนี้
1) หลักสูตรเป็นแผนและแนวทางในการจัดการศึกษาของรัฐ ให้บรรลุผลสำเร็จ ตาม
นโยบายและเป้าหมาย
5
2) หลักสูตรเป็นตัวกำหนดขอบเขตเนื้อหา แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การ
ประเมินผลและแหล่งทรัพยากรในการจัดการศึกษา
3) หลักสูตรเป็นเครื่องมือในการควบคุมมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและ คุณภาพ
ของผู้เรียนให้สอดคล้องตามนโยบายและแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ และความต้องการ ท้องถิ่น
4) หลักสูตรเป็นแนวทางในการส่งเสริมความเจริญงอกงามและพัฒนาการของเด็ก ตาม
จุดมุ่งหมายของการศึกษา
5) หลักสูตรเป็นแนวทางในการจัดสรรงบประมาณ สถานที่ นวัตกรรมและ เทคโนโลยีที่
จำเป็นต่อการจัดการศึกษา
6) หลักสูตรเป็นตัวกำหนด ลักษณะของผู้เรียน ซึ่งเป็นผลผลิตของการศึกษาในด้าน ความรู้
ความสามารถ ความประพฤติ ทักษะ และเจตคติของผู้เรียนในการอยู่ร่วมกันในสังคมและ บำเพ็ญตน
ให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและชาติบ้านเมือง
สรุปได้ว่า หลักสูตรเป็นหัวใจสำคัญในการจัดการศึกษา เพราะหลักสูตรเป็นแนวทาง ในการ
จัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ และไปสู่การเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรม และเจตคติให้เกิดกับผู้เรียนตามจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษา
1.3 การพัฒนาหลักสูตร
การพัฒนาหลักสูตรเป็นภารกิจที่สำคัญ ซึ่ง สุนีย์ ภู่พันธ์ (2546, หน้า 158) ได้กล่าว
เกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า การพัฒนาหลักสูตรเกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะ คือ การปรับปรุงและการเปลี่ยนแปลง
หลักสูตร การปรับปรุงเป็นการเปลี่ยนแปลงเพียงบางส่วน เพื่อให้เหมาะสมกับโรงเรียนหรือระบบ
โรงเรียน จุดมุ่งหมายของการสอน วัสดุอุปกรณ์ วิธีสอน รวมทั้งประเมินผลโดยไม่เปลี่ยนแนวคิด
พื้นฐานหรือรูปแบบหลักสูตร ส่วนการเปลี่ยนแปลงหมายถึงการแก้ไขหลักสูตรให้แตกต่างไปจากเดิม
เป็นการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบ การพัฒนาหลักสูตรมีรูปแบบและขั้นตอน ตั้งแต่ ศึกษาวิเคราะห์ความ
ต้องการของผู้เรียนและสังคม กำหนดจุดมุ่งหมาย การเลือกเนื้อหาสาระ การจัดรวบรวมเนื้อหาสาระ
การคัดเลือกประสบการณ์การเรียนรู้ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และ กำหนดสิ่งที่จะประเมิน
และวิธีการประเมินผล โบแชมป์ (Beauchamp 1981 อ้างถึงใน ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์ 2549: 62) ได้
เสนอ รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรเป็นรูปแบบเชิงระบบโดยมีองค์ประกอบ 3 องค์ประกอบ ตัวป้อน
เนื้อหา และกระบวนการ และผลผลิต พัฒนาหลักสูตรเป็นสิ่งสำคัญที่นักวิชาการ หรือครูผู้สอนต้อง
ดำเนินการ เพื่อปรับพัฒนา ให้เข้ากับสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป และต้องดำเนินการอย่างมีขั้นตอน ซึ่ง
สามารถพัฒนาได้ ทั้งก่อนการ นำหลักสูตรไปใช้ ระหว่างการดำเนินการใช้หลักสูตร หรือหลังการใช้
หลักสูตรเสร็จสิ้น
6
1.4 การนำหลักสูตรไปใช้
การนำหลักสูตรไปใช้เป็นขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาหลักสูตร เพราะเป็น
การนำ จุดหมายหลักสูตร เนื้อหาประสบการณ์การเรียนรู้ ที่จัดทำไว้ไปจัดประสบการณ์และกิจกรรม
ให้กับ ผู้เรียน และเพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตร
โบแชมป์ (Beauchamp 1981 อ้างถึงใน สุนีย์ ภู่พันธ์, 2546, หน้า 220) ได้กล่าวถึง การนำ
หลักสูตรไปใช้ว่า เป็นการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วยกระบวนการที่สำคัญที่สุด คือ การ
แปลงหลักสูตรไปสู่การสอน การจัดสภาพโรงเรียนให้ครูและนักเรียนได้มีการพัฒนาการเรียน การสอน
ศรีสมร พุ่มสะอาด (2544: 131 - 132) กล่าวว่า การน าหลักสูตรไปใช้ เป็นกระบวนการที่
ต่อเนื่องที่ครอบคลุมงานที่สำคัญ 3 ด้าน คือ
1) การวางแผนหรือเตรียมการก่อนการนำหลักสูตรไปใช้ซึ่งต้องเกี่ยวข้องกันทั้ง บุคคล
กระบวนการทำงาน ทรัพยากร ครูต้องมีทักษะในการใช้หลักสูตร รวมถึงทักษะเกี่ยวกับ ยุทธศาสตร์
การเรียนการสอน การปกครองชั้นเรียน และการวัดและประเมินผลการเรียน และต้อง เข้าใจทฤษฎีที่
เกี่ยวข้องด้วย
2) การนำหลักสูตรไปใช้ เป็นกิจกรรมสำคัญที่ก่อให้เกิดความสำเร็จของหลักสูตร ทั้งนี้ต้อง
สนับสนุนส่งเสริมให้สถานศึกษา มีระบบการบริหารจัดการ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวัด
และประเมินผล การแนะแนว การผลิตและใช้สื่อ
3) การประเมินการนำหลักสูตรไปใช้ เป็นกิจกรรมที่ต้องกระทำต่อเนื่องกันตั้งแต่ การ
วางแผนจัดทำหลักสูตร จนกระทั่งได้หลักสูตรซึ่งเป็นแม่บทจนถึงนำหลักสูตรไปใช้ และมีการ ติดตาม
ประเมินผลเพื่อตรวจสอบการนำหลักสูตรไปใช้ จึงเป็นการนำหลักสูตรไปสู่การเรียนการสอนใน
ห้องเรียน โดยดำเนินงานและกิจกรรมต่างๆ เริ่มจาก การวางแผน การเตรียมครูผู้สอน เตรียมสถานที่
วัสดุ สิ่งอำนวยความสะดวกในการนำหลักสูตรไปใช้สภาพแวดล้อม การจัดการเรียนการสอน การ
ติดตาม ปรับปรุงคุณภาพประสิทธิภาพในการสอนของครู และการประเมินผลผลิตของหลักสูตร ซึ่ง
ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และทักษะกระบวนการที่ผู้เรียนได้รับ
2. สาระสำคัญเกี่ยวกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
กระทรวงศึกษาธิการ (2551) ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช
2551 เพื่อให้ท้องถิ่นและสถานศึกษาได้นำไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดทำหลักสูตร
สถานศึกษาและจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้น
พื้นฐานให้มีคุณภาพด้านความรู้ และทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง
และแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต มีรายละเอียดโดยสรุปดังนี้
7
2.1 วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลัง
ของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตส านึกในความเป็น
พลเมือง ไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็น ประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบ
อาชีพและ การศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถ
เรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ
2.2 หลักการ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สำคัญ ดังนี้
1) เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐาน
การเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบน
พื้นฐานของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล
2) เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษา
อย่างเสมอภาค และมีคุณภาพ
3) เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอ านาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัด
การศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น
4) เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและ
การจัดการเรียนรู้
5) เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
6) เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย
ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์
2.3 จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา
มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับ
ผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้
1) มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัย
และปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
2) มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี
และมีทักษะชีวิต
3) มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย
4) มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิต
และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข
8
5) มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา
สิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่าง
มีความสุข
2.4 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนา
ผู้เรียน ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะ
อันพึง ประสงค์ ดังนี้
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ 5
ประการ ดังนี้
1) ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรม ในการ
ใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยน ข้อมูล
ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคมรวมทั้งการเจรจา ต่อรอง
เพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและ
ความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อ
ตนเองและสังคม
2) ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด
อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ ความรู้
หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค ต่าง ๆ ที่
เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ ความรู้มา
ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบ ที่เกิดขึ้น
ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการ ต่าง ๆ ไปใช้
ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่
ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและ ความ
ขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ สภาพแวดล้อม
และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
9
5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้าน
ต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ใน ด้านการเรียนรู้
การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมี คุณธรรม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ อันพึง
ประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทย และพล
โลก ดังนี้
1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการเป็นพลเมืองดี ของชาติ
ธำรงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย ศรัทธา ยึดมั่นในศาสนา และเคารพเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย์
2) ซื่อสัตย์สุจริต หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในความถูกต้อง ประพฤติ
ตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองและผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ
3) มีวินัย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในข้อตกลง กฎเกณฑ์และ ระเบียบ
ข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียนและสังคม
4) ใฝ่เรียนรู้ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายาม ในการเรียน
แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน
5) อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการดำเนินชีวิตอย่าง พอประมาณ
มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี และปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่าง มีความสุข
6) มุ่งมั่นในการทำงาน หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจและ รับผิดชอบใน
การทำหน้าที่การงาน ด้วยความเพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย
7) รักความเป็นไทย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ร่วม
อนุรักษ์ สืบทอดภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใช้ภาษาไทยในการ
สื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
8) มีจิตสาธารณะหมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการมีส่วนร่วมในกิจกรรม หรือ
สถานการณ์ที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อื่น ชุมชน และสังคม ด้วยความเต็มใจ กระตือรือร้น โดยไม่หวัง
ผลตอบแทนสถานศึกษาสามารถกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้อง ตามบริบท
และจุดเน้นของตนเอง
2.5 มาตรฐานการเรียนรู้
การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและ พหุ
ปัญญา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกำหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้
พื้นฐาน ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษา
10
และพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระ การ
เรียนรู้ได้กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มาตรฐาน
การเรียนรู้ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์เมื่อจบ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนพัฒนา
การศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไรและ
ประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบ
การประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นที่
การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ
2.6 ตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละ
ระดับชั้นซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นำไปใช้ใน
การกำหนดเนื้อหา จัดทำหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สำคัญสำหรับการวัด
ประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน
1) ตัวชี้วัดชั้นปี เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละชั้นปีในระดับการศึกษา ภาค
บังคับ (ประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3)
2.7 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบ
ด้าน เพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มี
ศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อสังคมสามารถ
จัดการ ตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แบ่งเป็น ๓ ลักษณะ ดังนี้
1) กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์
สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กำหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียน และ
อาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็น
กิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คำปรึกษาแก่ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมพัฒนาผู้เรียน
2) กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นำ ผู้
ตามที่ดี ความรับผิดชอบการท างานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมี
เหตุผลการช่วยเหลือแบ่งปันกัน เอื้ออาทร และสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ
ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์
วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทำงาน เน้นการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม ตามความ
เหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน บริบทของสถานศึกษาและท้องถิ่น กิจกรรมนักเรียน
ประกอบด้วย
11
(1) กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์
(2) กิจกรรมชุมนุม ชมรม
3) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน
บำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัครเพื่อ
แสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม มีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสา
พัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม
3. การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา
3.1 ความหมาย
บุญศรี พรหมมาพันธุ์ (2551, หน้า 26) ได้ให้ความหมายของการประเมิน
หลักสูตรไว้ ว่า หมายถึง การรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตรและการเรียนการสอน
เพื่อ พิจารณาเกี่ยวกับคุณค่าของหลักสูตรและการเรียนการสอนว่ามีคุณภาพดีหรือไม่อย่างไร มีส่วน
ใดบ้าง ที่ต้องปรับปรุง ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ (2549, หน้า 127 - 128) ได้ให้ความหมายของการ
ประเมิน หลักสูตรไว้ว่าเป็นกระบวนการหาคำตอบว่า หลักสูตรมีผลสัมฤทธิ์ผลตามจุดมุ่งหมายที่
กำหนดไว้ หรือไม่และมากน้อยเพียงใดโดยมีการจัดการเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล
จากหลาย องค์ประกอบ ได้แก่ การวิเคราะห์จากกระบวนการการนำหลักสูตรไปใช้วิเคราะห์ผลจาก
ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผู้เรียน เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลแล้วจะต้องน าเสนอข้อมูลเพื่อตัดสินใจหรือ
ควร เปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงหรือเลือกวิธีใหม่
กู๊ด (Good 1973, หน้า 209) กล่าวว่า การประเมินหลักสูตรคือการประเมินผลของ กิจกรรม
การเรียนภายในขอบข่ายของการสอนที่เน้นเฉพาะจุดประสงค์ของการตัดสินใจในความ ถูกต้องของ
จุดหมาย ความสัมพันธ์และความต่อเนื่องของเนื้อหา และผลสัมฤทธิ์ของวัตถุประสงค์ เฉพาะซึ่ง
นำไปสู่การตัดสินใจในการวางแผน
จากความหมายข้างต้น สรุปได้ว่า การประเมินหลักสูตร หมายถึง กระบวนการ ตรวจสอบ
และการตัดสินคุณค่าของหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อประกอบการตัดสินใจในการปรับปรุง หลักสูตร โดย
เทียบกับเกณฑ์ที่กำหนด
3.2 ความสำคัญและประโยชน์ของการประเมินหลักสูตร
บุญศรี พรหมมาพันธุ์ (2551: 37-38) ได้สรุปความสำคัญของการประเมิน
หลักสูตร ดังนี้
1) ชี้ให้เห็นถึงคุณค่าของหลักสูตร ทำให้ทราบว่าหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นมาตอบสนอง
วัตถุประสงค์ที่ต้องการหรือไม่ ช่วยให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์เพียงใด
2) เป็นแนวทางในการส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน และการสอนของผู้สอน จึง
สามารถนำมาวางแผนการเรียนการสอนได้
3) เป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขสิ่งบกพร่องที่พบในองค์ประกอบของหลักสูตร
เช่น จุดมุ่งหมาย โครงสร้าง เนื้อหา การวัดผล ฯลฯ ว่ามีความเหมาะสมและสอดคล้องกันหรือไม่
สามารถนำมาปรับปรุงแก้ไขได้ในระหว่างที่มีการปฏิบัติ
12
4) ช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหารว่าควรใช้หลักสูตรต่อไปอีกหรือควรยกเลิก
การใช้หลักสูตรเพียงบางส่วน หรือยกเลิกทั้งหมด
5) ทำให้ทราบคุณภาพของผู้เรียนซึ่งเป็นผลผลิตของหลักสูตรว่ามีการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมไปตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรหรือไม่ อย่างไร
6) เป็นแนวทางปรับปรุงแก้ไขระบบบริหารหลักสูตร การนิเทศกำกับดูแลให้มี
ประสิทธิภาพมากขึ้น กล่าวโดยสรุป การประเมินหลักสูตรมีความสำคัญ ถือเป็นส่วนหนึ่งของการ
บริหารงานในเชิงระบบ ทำให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่บ่งบอกถึงความสำเร็จหรือความล้มเหลวทราบ
จุดเด่นจุดด้อย ปัญหาอุปสรรค ซึ่งจะเป็นแนวทางในการปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพ
และบรรลุผลตามเป้าหมายที่วางไว้
3.3 ขอบเขตของการประเมินหลักสูตร
ในการประเมินหลักสูตรโดยทั่วไป จะครอบคลุมประเด็น ต่อไปนี้
3.3.1 การประเมินเอกสารหลักสูตร เป็นการตรวจสอบคุณภาพขององค์ประกอบ
ต่าง ๆ ของหลักสูตรว่าจุดมุ่งหมาย จุดประสงค์ โครงสร้าง เนื้อหาสาระ วิธีการวัด และประเมินผลมี
ความ สอดคล้อง เหมาะสม ครอบคลุม และถูกต้องตามหลักการพัฒนาหลักสูตรเพียงใด หลักสูตรที่
สร้างขึ้น เหมาะกับผู้เรียนหรือไม่ สามารถตอบสนองความต้องการของสังคมและผู้เรียนเพียงใด การ
ประเมิน เอกสารหลักสูตรมักใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาและใช้วิธีการให้ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้เกี่ยวข้องด
าเนินการ ประเมิน
3.3.2 การประเมินการใช้หลักสูตร เป็นการตรวจสอบว่าหลักสูตรสามารถนำไปใช้
ได้ดี กับสถานการณ์จริงเพียงใด การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรทำอย่างไร มีปัญหาอุปสรรค
หรือไม่ อย่างไร เพื่อจะได้แก้ไขปรับปรุง และสามารถใช้หลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ
การประเมินการใช้หลักสูตร โดยทั่วไปนิยมประเมินในเรื่องต่าง ๆ ต่อไปนี้
1) การประเมินผู้สอน โดยคำนึงคุณวุฒิ ประสบการณ์การสอน เทคนิคการ
ถ่ายทอด ความรู้ การค้นคว้าหาความรู้ใหม่ การเตรียมการสอน และการใช้อุปกรณ์การสอน
2) การประเมินผู้เรียน โดยพิจารณาคุณสมบัติของผู้เรียนในด้านทักษะการ
ฟัง พูด อ่านเขียน เจตคติ ความสามารถทางสติปัญญา ความสนใจในการเรียน ความพร้อม ความพึง
พอใจ อารมณ์ และความสามารถในการปรับตัว ตลอดจนทักษะการแก้ปัญหาต่าง ๆ
3) การประเมินกระบวนการเรียนการสอน โดยพิจารณาความก้าวหน้าของ
ผู้เรียน ซึ่งเกิดจากกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ประกอบด้วยการวางแผนการสอนที่ดี การ
จัดลำดับ ความสำคัญของเนื้อหาวิชาให้เป็นไปตามหลักการเรียนรู้ การประเมินติดตามความก้าวหน้า
ของผู้เรียน เป็นระยะ ๆ
4) การประเมินวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ประกอบในการเรียนการสอน โดยพิจารณา
จาก ประโยชน์ ความทันสมัย ความเหมาะสม ความหลากหลายของสื่อ ฯลฯ การประเมินการใช้
หลักสูตร อาจประเมินเพียงบางส่วนของการใช้หลักสูตร เช่น ประเมินเฉพาะประสิทธิภาพการสอน
ของผู้สอน หรือประเมินบรรยากาศการเรียนการสอนในชั้นเรียน หรืออาจทำการประเมินการใช้
หลักสูตรทั้งหมด ก็ไห้ สำหรับวิธีการประเมินนิยมใช้การสังเกต การสัมภาษณ์ การส่งแบบสอบถามให้
ผู้ใช้หลักสูตรเป็น ผู้ตอบ
13
3.3.3 การประเมินผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตร เป็นการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ทาง
วิชาการ (Academic achievement) ได้แก่ ความรู้ความสามารถทางวิชาการและผลสัมฤทธิ์ด้านอื่น
ๆ ได้แก่ บุคลิกภาพ ความรับผิดชอบ ความสามัคคี ความซื่อสัตย์ เป็นต้น การประเมินผลสัมฤทธิ์ของ
หลักสูตร สามารถประเมินผู้เรียนขณะศึกษาอยู่ในสถานศึกษา หรือทำการประเมินติดตามผลว่าผู้เรียน
สามารถ นำความรู้ที่ได้ศึกษาเล่าเรียนไปใช้ในการปฏิบัติงานและประสบความสำเร็จในการทำงาน
หรือศึกษา ต่อหรือไม่ เพียงใด มีความรู้ทักษะ เพียงพอที่จะดำรงอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขหรือไม่
ซึ่งวิธีการ ประเมินทำได้หลายวิธี เช่น สอบถามผู้เรียน ผู้สำเร็จการศึกษา เจ้าของสถานประกอบการ
ผู้ร่วมงาน ฯลฯ
3.3.4 การประเมินระบบหลักสูตร เป็นการตรวจสอบภาพรวมของหลักสูตรทั้งหมด
เพื่อ มองเห็นภาพได้ชัดเจนว่าองค์ประกอบของหลักสูตรซึ่งเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน มี
องค์ประกอบ ส่วนใดที่มีอุปสรรคปัญหา จะได้ปรับปรุงแก้ไข การประเมินระบบหลักสูตร ส่วนใหญ่จะ
ประเมินครอบคลุมเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
1) ประเมินบริบทหรือสภาวะแวดล้อม เช่น เศรษฐกิจ สังคม การเมือง
ปรัชญา การศึกษา เป็นต้น
2) ประเมินปัจจัยนำเข้าได้แก่ ผู้เรียน ผู้สอน เนื้อหาสาระหลักสูตร เงิน
งบประมาณ อาคารสถานที่ อุปกรณ์ในการเรียนการสอน รวมทั้งสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ
3) ประเมินกระบวนการที่อยู่ระหว่างดำเนินการ เช่น กระบวนการจัด
ตารางสอน การประเมินผู้สอน ผู้เรียน กระบวนการจัดการงบประมาณ และกระบวนการจัด
เนื้อหาวิชาใน หลักสูตร
4) ประเมินผลผลิตและผลลัพธ์หรือผลกระทบของหลักสูตรเป็นการ
ตรวจสอบว่า หลักสูตรสัมฤทธิ์ผลหรือไม่ และในระยะยาวก่อให้เกิดผลกระทบต่อสังคม ชุมชนอย่างไร
5) การติดตามผล (follow up) ของหลักสูตรหรือผู้สำเร็จการศึกษาตาม
หลักสูตร
3.4 ขั้นตอนการประเมินหลักสูตร
การประเมินหลักสูตรเป็นกระบวนการในการพิจารณาคุณค่าหรือค่านิยม(Worth or
Value) ของหลักสูตร ขั้นตอนหรือวิธีการประเมินจึงมีความสำคัญมาก เพื่อให้ทราบประสิทธิภาพ
ประสิทธิผลของหลักสูตร จึงต้องมีขั้นตอนที่เป็นระบบน่าเชื่อถือ ซึ่งนักการศึกษาหลายท่านได้เสนอ
แนวคิดเกี่ยวกับขั้นตอนการประเมินหลักสูตรดังนี้
สมคิด พรมจุ้ย (2551, หน้า 23 - 30) และบุญศรี พรหมมาพันธุ์ (2551, หน้า 39 -
41) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับขั้นตอนการประเมินหลักสูตร ดังนี้
1) ขั้นกำหนดเป้าหมาย ผู้ประเมินหลักสูตรต้องกำหนดสิ่งที่จะประเมิน
วัตถุประสงค์ เป้าหมายของการประเมิน วิเคราะห์และทำความเข้าใจกับจุดมุ่งหมายในการประเมินผู้
ประเมินต้อง กำหนดว่าต้องการนำข้อมูลมาทำอะไร
2) ขั้นการวางแผนและออกแบบประเมิน การวางแผนเปรียบเสมือนเข็ม
ทิศที่จะ นำไปสู่เป้าหมายการประเมิน หลังจากศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี และผลงานประเมินที่
14
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf
13101602_1_20230311-211610.pdf

More Related Content

Similar to 13101602_1_20230311-211610.pdf

แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551Panlop
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.wasan
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)ชนาธิป ศรีโท
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stadnangnut
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...โรงเรียนบ้านเสาเล้าฯ สผศ
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น sasiton sangangam
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานkruthai40
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นLathika Phapchai
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑rampasri
 
บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯsupanyasaengpet
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02witthawat silad
 

Similar to 13101602_1_20230311-211610.pdf (20)

แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
หลักสูตรการศึกษานอกระบบ 2551
 
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
แผนยุทธศาสตร์ปศพ.
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
แผน Stad
แผน Stadแผน Stad
แผน Stad
 
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
ผลการจัดกิจกรรมแนะแนวตามแนวคิดคอนสตรัคติวิสต์ที่มีต่อความรู้ความเข้าใจในคุณธร...
 
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sarตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
 
3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น 3โครงสร้าง ม ต้น
3โครงสร้าง ม ต้น
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้นเครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
เครื่องมือวัดคุณภาพผู้เรียนตามจุดเน้น
 
Compare 4451
Compare 4451Compare 4451
Compare 4451
 
หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑หลักสูตรส่วนที่ ๑
หลักสูตรส่วนที่ ๑
 
นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี นำเสนองานโรงเรียนดี
นำเสนองานโรงเรียนดี
 
บทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯบทที่ 2 คณิตฯ
บทที่ 2 คณิตฯ
 
มคอ.3 สารสนเทศ
มคอ.3 สารสนเทศมคอ.3 สารสนเทศ
มคอ.3 สารสนเทศ
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 02
 

13101602_1_20230311-211610.pdf

  • 2. สารบัญ หน้า คำนำ ก สารบัญ ข สารบัญตาราง ค บทที่ 1 บทนำ 1 หลักการและเหตุผล 1 - 2 วัตถุประสงค์ของการประเมิน 3 ขอบเขตของการประเมิน 3 นิยามศัพท์เฉพาะ 3 - 4 ประโยชน์ที่ได้รับจากการประเมิน 4 บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง 5 แนวคิดเกี่ยวกับหลักสูตร 5 - 7 สาระสำคัญเกี่ยวกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช2551 7 - 11 การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา 11 - 14 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 14 - 15 บทที่ 3 วิธีการดำเนินการ 17 กระบวนการดำเนินงาน 17 กลุ่มเป้าหมายในการเก็บรวบรวมข้อมูล 17 เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล 18 - 21 การเก็บรวบรวมข้อมูล 22 - 25 วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล 26 บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 27 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 27 – 41 บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ 42 สรุปผลการประเมิน 43 - 45 บรรณานุกรม 46 - 48
  • 3. สารบัญตาราง ตารางที่ หน้า 1 กลุ่มตัวอย่างในการประเมิน จากนักเรียน 18 2 กลุ่มตัวอย่างในการประเมินจากผู้ปกครองนักเรียน 18 3 กรอบในการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา 4 การวิเคราะห์กลยุทธ์ (เครื่องมือ) ในการเก็บรวบรวมข้อมูล และแหล่งรวบรวมข้อมูล 20 - 25 5 ร้อยละของพฤติกรรมด้านมีวินัย มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ 28 6 ร้อยละของพฤติกรรมด้านความสามารถในการคิดวิเคราะห์ มีวิจารณญาณ มีความคิดสร้างสรรค์ และมีวิสัยทัศน์ 29 7 ร้อยละของพฤติกรรมด้านการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้และพัฒนา ตนเองอย่างต่อเนื่อง 30 8 ร้อยละของทักษะในการทำงาน รักการทำงานและมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพ 30 9 ร้อยละด้านสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิต 31 10 ร้อยละพฤติกรรมด้านสุนทรียภาพและลักษณะนิสัยด้านศิลปะ ดนตรีและกีฬา 32 11 ร้อยละของข้อมูลด้านผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ 33 12 ร้อยละความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ 31 13 ร้อยละความพึงพอใจในการจัดการศึกษาของผู้ปกครองและชุมชน 32 14 ร้อยละคุณภาพเอกสารหลักสูตรสถานศึกษา 33 15 ร้อยละด้านการจัดการเรียนรู้ของครูผู้สอน 35 16 ร้อยละการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา 36 17 ร้อยละระดับคุณภาพการวัดและประเมินผลการเรียนในห้องเรียน 37 18 ร้อยละความสามารถด้านการจัดท าหลักสูตรสถานศึกษาของครูผู้สอน 38 19 ร้อยละความสามารถด้านการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครูผู้สอน 39 20 ร้อยละความพึงพอใจการจัดการศึกษาในการปฏิบัติงานของครูผู้สอน 40 21 ร้อยละค่าใช้จ่ายในการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา 41 22 ร้อยละการใช้สื่อในการจัดกระบวนการเรียนรู้ของครูผู้สอน 42 23 ตารางเปลี่ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 43-46 24 ตาราตารางเปลี่ยบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน จากการทดสอบระดับชาติ (O-net) 47-50
  • 4. คำนำ ชื่อเรื่อง รายงานการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาประจำปีการศึกษา 2564 ระดับ ป.1 - ม.3 โรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ปทุมธานี เขต 1 ผู้รับผิดชอบ กลุ่มบริหารวิชาการ ระยะเวลาการประเมิน เดือนมีนาคม ปีพุทธศักราช 2565 การวิจัยนี้เป็นการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 โดยการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา เพื่อประเมิน การใช้ หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี เพื่อยกระดับคุณภาพ และมาตรฐานการจัดการศึกษาให้เกิดผลสัมฤทธิ์สูงขึ้น ในการประเมินหลักสูตร ครั้งนี้นั้นได้ประยุกตใช้ รูปแบบการประเมินโดยใช้หลักการ Balanced Scorecard ซึ่งเป็นรูปแบบที่ จะช่วยในการตัดสินใจ ของผู้บริหาร โดยเน้นการประเมินทั้งระบบ ประเมินสภาพข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ หลักสูตรในด้านต่าง ๆ ทั้งในระหว่างดำเนินการ และประเมินรวบยอดอย่างสมบูรณ์ของหลักสูตร การประเมินหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ ดำเนินการในช่วงเดือน มีนาคม 2565 การกำหนดกลุ่มตัวอย่าง โดยใช้ตารางของเครจซี และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970 p.608) จากประชากรทั้งหมด 530 คน ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 230 คน จำแนกเป็น ผู้บริหาร เลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling ) จำนวน 2 คน ครูผู้สอนเลือกแบบเจาะจง จำนวน 28 คน นักเรียนและผู้ปกครอง เลือกวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling ) จำนวน 200 คน เครื่องมือที่ใช้ ในประเมิน คือ แบบสังเกตพฤติกรรมนักเรียน แบบสอบถาม แบบ สัมภาษณ์ ดูจากผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้โดยใช้แบบบันทึกข้อมูล และแบบ ประเมินคุณภาพ และนำมาวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ผลการประเมินหลักสูตรสถานศึกษาปีการศึกษา 2564 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ ผลการประเมินพบว่า 1. การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา มุมมองด้านนักเรียนและผู้ที่เกี่ยวข้องของหลักสูตรตาม ความคิดเห็นของนักเรียน ผู้ปกครอง และคณะกรรมการสถานศึกษาชั้นพื้นฐานในภาพรวมพบว่า มี ความสอดคล้องอยู่ในระดับดีมาก 2. การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา มุมมองต้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาของ ครูผู้สอน ผู้บริหารสถานศึกษา ในภาพรวมพบว่า มีความสอดคล้องอยู่โนระดับดีมาก 3. การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา มุมมองต้านการเรียนรู้และการพัฒนาการเรียนรู้ของ ครูผู้สอน ผู้ปริหารสถนศึกษา ในภาพรวมพบว่า มีความสอดคล้องอยู่โนระดับดีมาก 4. การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา มุมมองต้านงบประมาณและทรัพยากร ในภาพรวม พบว่ามีความสอดคล้องอยู่ในระดับดีมาก
  • 5. บทที่ 1 บทนำ 1.หลักการและเหตุผล การศึกษามีบทบาทและความสำคัญในการพัฒนาคุณภาพชีวิตโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในยุค ปัจจุบันที่มีการเปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม การศึกษาจะเป็นพื้นฐานในการคิด พัฒนา ตนเองให้ทันต่อสังคมโลก และสามารถดำรงชีวิตอย่างมีความสุข เมื่อพิจารณาบทบัญญัติของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 พบว่า รัฐธรรมนูญได้กำหนดนโยบายด้าน การศึกษาไว้ใน มาตราที่ 80 ซึ่งกำหนดให้เป็นหน้าที่ของรัฐในการที่จะต้องพัฒนาคุณภาพและ มาตรฐานการจัดการศึกษาในทุกระดับและทุกรูปแบบให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงทาง เศรษฐกิจและสังคม จัดให้มีแผนการศึกษาแห่งชาติ กฎหมายเพื่อพัฒนาการศึกษาของชาติการพัฒนา คุณภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ก้าวหน้าทันการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก(รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550, 2550, หน้า 23 24) กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 แทนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 โดยกำหนดเงื่อนไขให้โรงเรียนต้นแบบเริ่มใช้ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2552 ในชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1และ 4 และใช้ให้ครบทุก ชั้นเรียนตั้งแต่ปีการศึกษา 2554 สำหรับโรงเรียนทั่วไป ให้เริ่มใช้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2553 ในชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 - 6 ชั้นมัธยมศึกษาบีที่ 1 และ 4 และใช้ให้ครบทุกชั้นเรียน ตั้งแต่ปีการศึกษา 2555 เป็นต้นไป (กระทรวงศึกษาธิการ, 2551) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาชั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เป็นหลักสูตรอิงมาตรฐานที่กำหนดวิสัยทัศน์ สมรรถนะที่สำคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะ ที่ พึงประสงค์ที่จะพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาที่กำหนด หลักสูตรนี้มุ่งพัฒนา ผู้เรียนให้เกิดความสมดุลคำนึงถึงหลักการพัฒนาทางสมองและพหุปัญญา กำหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ในแต่ละกลุ่มสาระการเรียนรู้ได้กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำคัญ ของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มาตรฐานการเรียนรู้จะระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ มีคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ เมื่อจบการศึกษาชั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ ยัง เป็นกลไกสำคัญในการชับเคลื่อนการศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่า ต้องการอะไร จะสอนอย่างไร และประเมินอย่างไร รวมทั้งยังเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการ ประกันคุณภาพการศึกษา โดยใช้ระบบการประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพรวมทั้ง การทดสอบระดับเขพื้นที่การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ ในแต่ละมาตรการเรียนรู้จะประกอบ ไปด้วยตัวชี้วัด ตัวชี้วัดเหล่านี้จะระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ ละระดับชั้น ซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ จัดกิจกรรมการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สำคัญ สำหรับการวัดและประเมินผลการเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพของผู้เรียน โรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ปีการศึกษา 2564 มีผู้บริหาร 2 คน ครูผู้สอนจำนวน 22 คน เจ้าหน้าที่ธุรการ 1 คน อัตราจ้าง 5 คน และนักเรียน จำนวน 505 คน เริ่มใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เมื่อ ปีการศึกษา 2553 โดยเริ่มใช้หลักสูตรสถานศึกษาพุทธศักราช 2562 ตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ตั้งแต่ปีการศึกษา 2562 ซึ่งเป็นไปตาม พระราชบัญญัติ 1
  • 6. การศึกษาแห่งชาติพุทธศักราช 2542 มาตรา 27 ได้กำหนดให้สถานศึกษาจัดทำ หลักสูตรสถานศึกษา ขึ้นใช้เองในโรงเรียนของตน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา คณะครูผู้สอน และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ ร่วมกันจัดทำหลักสูตรสถานศึกษาขึ้น โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะพัฒนาผู้เรียนให้เป็นมนุษย์ ที่มีความ สมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตสำนึกในการเป็นพลเมืองไทยและพลโลก มุ่งเน้น ผู้เรียน เป็นสำคัญ ผู้เรียนสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้เต็มศักยภาพ ซึ่งสอดคล้องกับเป้าหมาย และ จุดเน้นของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ซึ่งมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนมี คุณภาพ ตามมาตรฐานการศึกษาของชาติการจัดการเรียนการสอนที่กำหนดไว้ในหลักสูตร สถานศึกษา จึงมุ่งให้ ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงและมีทักษะ สามารถนำความรู้ ไปใช้ในการดำรงชีวิต ประจำวันได้ กิจกรรม การเรียนมุ่งเน้นทั้งด้านความรู้ ความคิด ความสามารถ คุณธรรมจริยธรรม และความรับผิดชอบต่อ สังคมในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนได้ศึกษาสภาพต่างๆ ที่เป็น ปัญหา จุดเด่น/เอกลักษณ์ ของชุมชน สังคมศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น มีการระดม ทรัพยากรทั้งของสถานศึกษา และ ชุมชนมาใช้ และใช้ศักยภาพที่มีอยู่อย่างเต็มที่ ทั้งในด้านการจัด เนื้อหาสาระ สื่อการเรียน เทคนิค วิธีการสอน กิจกรรมการเรียน และการวัดผลประเมินผล เพื่อให้ได้ หลักสูตรที่ดี มีความทันสมัย เหมาะสมกับสถานการณ์ ความก้าวหน้าของวิทยาการต่างๆ และ ตอบสนองความต้องการของสังคม และสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังที่ กรมวิชาการ (2545, หน้า 7) กำหนด ไว้ว่าหลักสูตรสถานศึกษาที่มีคุณภาพต้องเป็นหลักสูตรที่พัฒนา มาจากข้อมูลของสถานศึกษา และ ชุมชน หลักสูตรใดก็ตามที่สามารถทำให้นักเรียนทุกคนสำเร็จ การศึกษาและมีคุณภาพตามหลักสูตร กำหนด หลักสูตรนั้นย่อมมีประสิทธิภาพ ผลิตผลของการศึกษา จะดีหรือไม่ ย่อมขึ้นอยู่กับคุณภาพของ หลักสูตร ในการจัดทำหลักสูตรสถานศึกษานั้นผู้จัดทำ หลักสูตรต้องศึกษาข้อมูลอย่างกว้างขวาง เพื่อให้สามารถกำหนดเป้าหมาย ส่วนประกอบ และเนื้อหา สาระของหลักสูตรจนนำไปสู่การจัด ประสบการณ์ให้กับผู้เรียน หลังจากได้จัดทำและใช้ไประยะหนึ่ง แล้วต้องมีการประเมินหลักสูตร ซึ่งจะ เป็นการรวบรวมและศึกษาข้อมูล รวมทั้งการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อตรวจสอบหลักสูตรว่ามีคุณค่า บรรลุผลตามเป้าหมายที่ก าหนดไว้หรือไม่ หลักสูตรมีข้อดีในเรื่อง ใดและมีส่วนใดที่ต้องปรับปรุงและ พัฒนาให้ดียิ่งขึ้น(สมคิด พรมจุ้ย, 2551, หน้า 21) โรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ ได้ดำเนินการใช้หลักสูตรสถานศึกษามาครบหนึ่งปีการศึกษา แล้ว กลุ่มบริหารวิชาการโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ เห็นว่าควรจะได้มีการประเมินหลักสูตร สถานศึกษา ประจำปีการศึกษา 2564 เพื่อจะได้ทราบว่าสภาพการใช้หลักสูตรสถานศึกษาเป็นอย่างไร มีปัญหา ข้อบกพร่อง และส่วนที่ควรปรับปรุงแก้ไขอย่างไร และเป็นแนวทางให้ผู้บริหาร คณะกรรมการบริหาร หลักสูตร ได้นำข้อมูลจากผลการประเมินไปปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรให้ เกิดประสิทธิภาพสูงยิ่งขึ้น อีกทั้งครูผู้สอนยังใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุงกระบวนการจัดการเรียนรู้ ให้สามารถตอบสนอง ความต้องการของท้องถิ่น และนักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตาม เจตนารมณ์ของหลักสูตร เพื่อนำไปสู่คำตอบว่า หลักสูตรมีความเหมาะสมเพียงไร การดำเนินงาน เป็นไปตามความมุ่งหมาย ที่วางไว้หรือไม่ มีปัญหา อุปสรรคหรือข้อผิดพลาดประการใด ซึ่งจะช่วยให้ สามารถตัดสินใจได้ว่าควรมี การปรับปรุง และพัฒนาหลักสูตรในด้านใด เพื่อให้เป็นหลักสูตรที่มี ประสิทธิภาพต่อไป 2
  • 7. 2. วัตถปุระสงค์ของการประเมิน 2.1 เพื่อประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ สำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 2.2 เพื่อยกระดับคุณภาพและมาตรฐานการจัดการศึกษา ให้เกิดผลสัมฤทธิสูงขึ้น โดยใช้ หลักการ Balanced Scorecard 3. ขอบเขตของการประเมิน การประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ สำนักงานเขต พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 1 ครั้งนี้ผู้ประเมินได้กำหนดขอบเขตการประเมินในด้าน แหล่งข้อมูลและเนื้อหา ซึ่งมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ 3.1 แหล่งข้อมูลที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้ประกอบด้วย ประชากร คือผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน และผู้ปกครอง นักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3 จำแนกเป็น ผู้บริหารโรงเรียน จำนวน 2 คน และครูผู้สอน จำนวน 27 คน นักเรียนจำนวน 505 คน รวมทั้งสิ้น จำนวน 554 คน 3.2 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้บริหารสถานศึกษา ครู นักเรียน และผู้ปกครอง นักเรียนระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 การกำหนดขนาดกลุ่ม ตัวอย่างใช้ตารางของเครจซี และมอร์แกน (Krejcie & Morgan, 1970 p.608) ได้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 230 คน จำแนกเป็น ผู้บริหารเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling ) จำนวน 2 คน ครูผู้สอนเลือกแบบเจาะจง จำนวน 28 คน นักเรียนและผู้ปกครอง เลือกวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน (Multi-Stage Random Sampling ) จำนวน 200 คน 4. นิยามศัพท์เฉพาะ 4.1 หลักสูตรสถานศึกษา หมายถึง หลักสูตรที่สถานศึกษาจัดทำขึ้นเอง โดยนำข้อมูลของ สถานศึกษาและชุมชนที่เป็นปัญหา จุดเด่น เอกลักษณ์ของชุมชน สังคม ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา ท้องถิ่น คุณลักษณะที่พึงประสงค์เพื่อการเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ มากำหนดเป็นสาระ และการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนบนพื้นฐานของหลักสูตรการศึกษา ขั้น พื้นฐาน สถานศึกษาสามารถเพิ่มเติมสาระ และมาตรฐานการเรียนรู้ หรือรายวิชาได้ตามความถนัด และความสนใจของผู้เรียน โดยความร่วมมือของทุกคนในโรงเรียนและชุมชน 4.2 นักเรียน หมายถึง นักเรียนโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ ที่กำลังศึกษาอยู่ชั้น ประถมศึกษาปี ที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 4.3 ครูผู้สอน หมายถึง ครูผู้สอนโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ ที่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ถึง ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 และสอนรายวิชาตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ได้รับมอบหมา 3
  • 8. 4.4 ผู้ปกครอง หมายถึง ผู้ปกครองของนักเรียนโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1 ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ปีการศึกษา 2564 4.5 ผู้บริหารสถานศึกษา หมายถึง ผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี 4.6 คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน หมายถึง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานปี การศึกษา 2564 โรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ อำเภอลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี 5. ประโยชน์ที่ได้รับจากการประเมิน ประโยชน์ที่ได้รับจากผลการประเมินครั้งนี้ มีดังนี้ 5.1 ได้ทราบข้อมูลสารสนเทศเพื่อนำมาใช้ในการปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ตาม หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ปีการศึกษา 2564 ของโรงเรียนวัดบัว สุวรรณประดิษฐ์ 5.2 ได้ข้อมูลสารสนเทศเพื่อเป็นแนวทางสำหรับครูผู้สอนในการปรับปรุงกระบวนการเรียน การสอนให้สามารถตอบสนองความต้องการของท้องถิ่น และนักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ตาม เจตนารมณ์ของหลักสูตร 4
  • 9. บทที่ 2 เอกสารและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง การรายงานผลการใช้หลักสูตรสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โรงเรียนวัดบัวสุวรรณประดิษฐ์ อำเภอ ลาดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธานี ครั้งนี้ ผู้ประเมินได้ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้เป็นแนวทาง มีดัง ประเด็น ต่อไปนี้ 1. แนวคิดเกี่ยวกับหลักสูตร 2. สาระสำคัญเกี่ยวกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 3. การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา 4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 1. แนวคิดเกี่ยวกับหลักสตูร 1.1 ความหมายของหลักสูตร จากการศึกษาความหมายของหลักสูตร มีผู้ให้ความหมายไว้ ดังนี้ สุนีย์ ภู่พันธ์ (2546, หน้า 13) ให้ความหมายของหลักสูตรไว้ว่า หลักสูตร หมายถึง มวล ประสบการณ์การเรียนรู้ที่ผู้เรียนได้รับทั้งภายนอกและภายในโรงเรียน ซึ่งโรงเรียนหรือ สถานศึกษา จัดให้แก่ผู้เรียนเพื่อให้ผู้เรียนมีพัฒนาการทั้งในด้านร่างกาย สังคม ปัญญา และจิตใจ พิสณุ ฟองศรี (2549, หน้า 143) ให้ความหมายของหลักสูตรไว้ว่า หลักสูตร คือ การวางแผน การจัดระบบทางการศึกษาเกี่ยวกับมวลวิชา ประสบการณ์ต่างๆ การจัดการเรียน การสอน เพื่อเป็น แนวทางส าหรับการปฏิบัติให้ผู้เรียนมีคุณลักษณะต่าง ๆ ที่พึงประสงค์ตาม จุดมุ่งหมายของหลักสูตร จากความหมาย สรุปได้ว่าหลักสูตรหมายถึง เนื้อหาสาระที่จัดไว้เป็นระบบ หรือมวล ประสบการณ์ต่าง ๆ ที่กำหนดไว้ เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน ซึ่งจัดให้กับผู้เรียนเพื่อให้เป็นแนวทางให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะคุณธรรม และพัฒนาการทางด้านต่าง ๆ ตามจุดมุ่งหมายของการศึกษา 1.2 ความสำคัญของหลักสูตร หลักสูตรเป็นองค์ประกอบอันสำคัญยิ่งอย่างหนึ่งของการจัดการศึกษา เพราะในการจัด การศึกษาที่จะบรรลุเป้าหมายได้นั้นต้องอาศัยหลักสูตรเป็นเครื่องมือนำไปสู่การบรรลุเป้าหมาย โดย ชี้นำทางในการจัดความรู้และประสบการณ์ แก่ผู้เรียนซึ่งครูต้องปฏิบัติตามเพื่อให้ผู้เรียนได้รับ การศึกษาที่มุ่งสู่จุดหมายเดียวกัน หลักสูตรจึงเป็นหัวใจสำคัญของการศึกษา นอกจากนี้ยังเป็นเครื่องชี้ ถึงความเจริญของชาติ เนื่องจากเป็นตัว กำหนดทิศทางในการจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับความ ต้องการของสังคม เศรษฐกิจ ความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีและการพัฒนาประเทศ ด้านอื่น ๆ ซึ่ง สุนีย์ ภู่พันธ์ (2546, หน้า 16 - 17) ได้กล่าวถึงความสำคัญของหลักสูตร สรุปได้ดังนี้ 1) หลักสูตรเป็นแผนและแนวทางในการจัดการศึกษาของรัฐ ให้บรรลุผลสำเร็จ ตาม นโยบายและเป้าหมาย 5
  • 10. 2) หลักสูตรเป็นตัวกำหนดขอบเขตเนื้อหา แนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้การ ประเมินผลและแหล่งทรัพยากรในการจัดการศึกษา 3) หลักสูตรเป็นเครื่องมือในการควบคุมมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและ คุณภาพ ของผู้เรียนให้สอดคล้องตามนโยบายและแผนพัฒนาการศึกษาแห่งชาติ และความต้องการ ท้องถิ่น 4) หลักสูตรเป็นแนวทางในการส่งเสริมความเจริญงอกงามและพัฒนาการของเด็ก ตาม จุดมุ่งหมายของการศึกษา 5) หลักสูตรเป็นแนวทางในการจัดสรรงบประมาณ สถานที่ นวัตกรรมและ เทคโนโลยีที่ จำเป็นต่อการจัดการศึกษา 6) หลักสูตรเป็นตัวกำหนด ลักษณะของผู้เรียน ซึ่งเป็นผลผลิตของการศึกษาในด้าน ความรู้ ความสามารถ ความประพฤติ ทักษะ และเจตคติของผู้เรียนในการอยู่ร่วมกันในสังคมและ บำเพ็ญตน ให้เป็นประโยชน์ต่อชุมชนและชาติบ้านเมือง สรุปได้ว่า หลักสูตรเป็นหัวใจสำคัญในการจัดการศึกษา เพราะหลักสูตรเป็นแนวทาง ในการ จัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะ และไปสู่การเปลี่ยนแปลง พฤติกรรม และเจตคติให้เกิดกับผู้เรียนตามจุดมุ่งหมายของการจัดการศึกษา 1.3 การพัฒนาหลักสูตร การพัฒนาหลักสูตรเป็นภารกิจที่สำคัญ ซึ่ง สุนีย์ ภู่พันธ์ (2546, หน้า 158) ได้กล่าว เกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า การพัฒนาหลักสูตรเกิดขึ้นได้ 2 ลักษณะ คือ การปรับปรุงและการเปลี่ยนแปลง หลักสูตร การปรับปรุงเป็นการเปลี่ยนแปลงเพียงบางส่วน เพื่อให้เหมาะสมกับโรงเรียนหรือระบบ โรงเรียน จุดมุ่งหมายของการสอน วัสดุอุปกรณ์ วิธีสอน รวมทั้งประเมินผลโดยไม่เปลี่ยนแนวคิด พื้นฐานหรือรูปแบบหลักสูตร ส่วนการเปลี่ยนแปลงหมายถึงการแก้ไขหลักสูตรให้แตกต่างไปจากเดิม เป็นการเปลี่ยนแปลงทั้งระบบ การพัฒนาหลักสูตรมีรูปแบบและขั้นตอน ตั้งแต่ ศึกษาวิเคราะห์ความ ต้องการของผู้เรียนและสังคม กำหนดจุดมุ่งหมาย การเลือกเนื้อหาสาระ การจัดรวบรวมเนื้อหาสาระ การคัดเลือกประสบการณ์การเรียนรู้ การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และ กำหนดสิ่งที่จะประเมิน และวิธีการประเมินผล โบแชมป์ (Beauchamp 1981 อ้างถึงใน ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์ 2549: 62) ได้ เสนอ รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรเป็นรูปแบบเชิงระบบโดยมีองค์ประกอบ 3 องค์ประกอบ ตัวป้อน เนื้อหา และกระบวนการ และผลผลิต พัฒนาหลักสูตรเป็นสิ่งสำคัญที่นักวิชาการ หรือครูผู้สอนต้อง ดำเนินการ เพื่อปรับพัฒนา ให้เข้ากับสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป และต้องดำเนินการอย่างมีขั้นตอน ซึ่ง สามารถพัฒนาได้ ทั้งก่อนการ นำหลักสูตรไปใช้ ระหว่างการดำเนินการใช้หลักสูตร หรือหลังการใช้ หลักสูตรเสร็จสิ้น 6
  • 11. 1.4 การนำหลักสูตรไปใช้ การนำหลักสูตรไปใช้เป็นขั้นตอนหนึ่งของกระบวนการพัฒนาหลักสูตร เพราะเป็น การนำ จุดหมายหลักสูตร เนื้อหาประสบการณ์การเรียนรู้ ที่จัดทำไว้ไปจัดประสบการณ์และกิจกรรม ให้กับ ผู้เรียน และเพื่อบรรลุจุดมุ่งหมายของหลักสูตร โบแชมป์ (Beauchamp 1981 อ้างถึงใน สุนีย์ ภู่พันธ์, 2546, หน้า 220) ได้กล่าวถึง การนำ หลักสูตรไปใช้ว่า เป็นการนำหลักสูตรไปสู่การปฏิบัติ ประกอบด้วยกระบวนการที่สำคัญที่สุด คือ การ แปลงหลักสูตรไปสู่การสอน การจัดสภาพโรงเรียนให้ครูและนักเรียนได้มีการพัฒนาการเรียน การสอน ศรีสมร พุ่มสะอาด (2544: 131 - 132) กล่าวว่า การน าหลักสูตรไปใช้ เป็นกระบวนการที่ ต่อเนื่องที่ครอบคลุมงานที่สำคัญ 3 ด้าน คือ 1) การวางแผนหรือเตรียมการก่อนการนำหลักสูตรไปใช้ซึ่งต้องเกี่ยวข้องกันทั้ง บุคคล กระบวนการทำงาน ทรัพยากร ครูต้องมีทักษะในการใช้หลักสูตร รวมถึงทักษะเกี่ยวกับ ยุทธศาสตร์ การเรียนการสอน การปกครองชั้นเรียน และการวัดและประเมินผลการเรียน และต้อง เข้าใจทฤษฎีที่ เกี่ยวข้องด้วย 2) การนำหลักสูตรไปใช้ เป็นกิจกรรมสำคัญที่ก่อให้เกิดความสำเร็จของหลักสูตร ทั้งนี้ต้อง สนับสนุนส่งเสริมให้สถานศึกษา มีระบบการบริหารจัดการ การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน การวัด และประเมินผล การแนะแนว การผลิตและใช้สื่อ 3) การประเมินการนำหลักสูตรไปใช้ เป็นกิจกรรมที่ต้องกระทำต่อเนื่องกันตั้งแต่ การ วางแผนจัดทำหลักสูตร จนกระทั่งได้หลักสูตรซึ่งเป็นแม่บทจนถึงนำหลักสูตรไปใช้ และมีการ ติดตาม ประเมินผลเพื่อตรวจสอบการนำหลักสูตรไปใช้ จึงเป็นการนำหลักสูตรไปสู่การเรียนการสอนใน ห้องเรียน โดยดำเนินงานและกิจกรรมต่างๆ เริ่มจาก การวางแผน การเตรียมครูผู้สอน เตรียมสถานที่ วัสดุ สิ่งอำนวยความสะดวกในการนำหลักสูตรไปใช้สภาพแวดล้อม การจัดการเรียนการสอน การ ติดตาม ปรับปรุงคุณภาพประสิทธิภาพในการสอนของครู และการประเมินผลผลิตของหลักสูตร ซึ่ง ได้แก่ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และทักษะกระบวนการที่ผู้เรียนได้รับ 2. สาระสำคัญเกี่ยวกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กระทรวงศึกษาธิการ (2551) ประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 เพื่อให้ท้องถิ่นและสถานศึกษาได้นำไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดทำหลักสูตร สถานศึกษาและจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้น พื้นฐานให้มีคุณภาพด้านความรู้ และทักษะที่จำเป็นสำหรับการดำรงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต มีรายละเอียดโดยสรุปดังนี้ 7
  • 12. 2.1 วิสัยทัศน์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนทุกคน ซึ่งเป็นกำลัง ของชาติให้เป็นมนุษย์ที่มีความสมดุลทั้งด้านร่างกาย ความรู้ คุณธรรม มีจิตส านึกในความเป็น พลเมือง ไทยและเป็นพลโลก ยึดมั่นในการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ ทรงเป็น ประมุข มีความรู้และทักษะพื้นฐาน รวมทั้ง เจตคติ ที่จำเป็นต่อการศึกษาต่อ การประกอบ อาชีพและ การศึกษาตลอดชีวิต โดยมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญบนพื้นฐานความเชื่อว่า ทุกคนสามารถ เรียนรู้และ พัฒนาตนเองได้เต็มตามศักยภาพ 2.2 หลักการ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีหลักการที่สำคัญ ดังนี้ 1) เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐาน การเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบน พื้นฐานของความเป็นไทยควบคู่กับความเป็นสากล 2) เป็นหลักสูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ที่ประชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษา อย่างเสมอภาค และมีคุณภาพ 3) เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สนองการกระจายอ านาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัด การศึกษาให้สอดคล้องกับสภาพและความต้องการของท้องถิ่น 4) เป็นหลักสูตรการศึกษาที่มีโครงสร้างยืดหยุ่นทั้งด้านสาระการเรียนรู้ เวลาและ การจัดการเรียนรู้ 5) เป็นหลักสูตรการศึกษาที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ 6) เป็นหลักสูตรการศึกษาสำหรับการศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลุมทุกกลุ่มเป้าหมาย สามารถเทียบโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์ 2.3 จุดหมาย หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพื่อให้เกิดกับ ผู้เรียน เมื่อจบการศึกษาขั้นพื้นฐาน ดังนี้ 1) มีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ เห็นคุณค่าของตนเอง มีวินัย และปฏิบัติตนตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ยึดหลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง 2) มีความรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคิด การแก้ปัญหา การใช้เทคโนโลยี และมีทักษะชีวิต 3) มีสุขภาพกายและสุขภาพจิตที่ดี มีสุขนิสัย และรักการออกกำลังกาย 4) มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดมั่นในวิถีชีวิต และการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 8
  • 13. 5) มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย การอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม มีจิตสาธารณะที่มุ่งทำประโยชน์และสร้างสิ่งที่ดีงามในสังคม และอยู่ร่วมกันในสังคมอย่าง มีความสุข 2.4 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ในการพัฒนาผู้เรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งเน้นพัฒนา ผู้เรียน ให้มีคุณภาพตามมาตรฐานที่กำหนด ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะ อันพึง ประสงค์ ดังนี้ สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดังนี้ 1) ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มีวัฒนธรรม ในการ ใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยน ข้อมูล ข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคมรวมทั้งการเจรจา ต่อรอง เพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและ ความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร ที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบที่มีต่อ ตนเองและสังคม 2) ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพื่อนำไปสู่การสร้างองค์ ความรู้ หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม 3) ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรค ต่าง ๆ ที่ เผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ ความสัมพันธ์และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยุกต์ ความรู้มา ใช้ในการป้องกันและแก้ไขปัญหา และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบ ที่เกิดขึ้น ต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม 4) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนำกระบวนการ ต่าง ๆ ไปใช้ ในการดำเนินชีวิตประจำวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทำงาน และการอยู่ ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล การจัดการปัญหาและ ความ ขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและ สภาพแวดล้อม และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 9
  • 14. 5) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้าน ต่าง ๆ และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ใน ด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร การทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมี คุณธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะ อันพึง ประสงค์ เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทย และพล โลก ดังนี้ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการเป็นพลเมืองดี ของชาติ ธำรงไว้ซึ่งความเป็นชาติไทย ศรัทธา ยึดมั่นในศาสนา และเคารพเทิดทูนสถาบัน พระมหากษัตริย์ 2) ซื่อสัตย์สุจริต หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในความถูกต้อง ประพฤติ ตรงตามความเป็นจริงต่อตนเองและผู้อื่นทั้งทางกาย วาจา ใจ 3) มีวินัย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการยึดมั่นในข้อตกลง กฎเกณฑ์และ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว โรงเรียนและสังคม 4) ใฝ่เรียนรู้ หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายาม ในการเรียน แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน 5) อยู่อย่างพอเพียง หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการดำเนินชีวิตอย่าง พอประมาณ มีเหตุผล รอบคอบ มีคุณธรรม มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี และปรับตัวเพื่ออยู่ในสังคมได้อย่าง มีความสุข 6) มุ่งมั่นในการทำงาน หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความตั้งใจและ รับผิดชอบใน การทำหน้าที่การงาน ด้วยความเพียรพยายาม อดทน เพื่อให้งานสำเร็จตามเป้าหมาย 7) รักความเป็นไทย หมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงความภาคภูมิใจ เห็นคุณค่า ร่วม อนุรักษ์ สืบทอดภูมิปัญญาไทย ขนบธรรมเนียมประเพณี ศิลปะและวัฒนธรรม ใช้ภาษาไทยในการ สื่อสารได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม 8) มีจิตสาธารณะหมายถึง คุณลักษณะที่แสดงออกถึงการมีส่วนร่วมในกิจกรรม หรือ สถานการณ์ที่ก่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้อื่น ชุมชน และสังคม ด้วยความเต็มใจ กระตือรือร้น โดยไม่หวัง ผลตอบแทนสถานศึกษาสามารถกำหนดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพิ่มเติมให้สอดคล้อง ตามบริบท และจุดเน้นของตนเอง 2.5 มาตรฐานการเรียนรู้ การพัฒนาผู้เรียนให้เกิดความสมดุล ต้องคำนึงถึงหลักพัฒนาการทางสมองและ พหุ ปัญญา หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกำหนดให้ผู้เรียนเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ พื้นฐาน ได้แก่ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สุขศึกษา 10
  • 15. และพลศึกษา ศิลปะ การงานอาชีพและเทคโนโลยี และภาษาต่างประเทศ ในแต่ละกลุ่มสาระ การ เรียนรู้ได้กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้เป็นเป้าหมายสำคัญของการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน มาตรฐาน การเรียนรู้ระบุสิ่งที่ผู้เรียนพึงรู้ ปฏิบัติได้ มีคุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์เมื่อจบ การศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากนั้นมาตรฐานการเรียนรู้ยังเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อนพัฒนา การศึกษาทั้งระบบ เพราะมาตรฐานการเรียนรู้จะสะท้อนให้ทราบว่าต้องการอะไร จะสอนอย่างไรและ ประเมินอย่างไร รวมทั้งเป็นเครื่องมือในการตรวจสอบเพื่อการประกันคุณภาพการศึกษาโดยใช้ระบบ การประเมินคุณภาพภายในและการประเมินคุณภาพภายนอก ซึ่งรวมถึงการทดสอบระดับเขตพื้นที่ การศึกษา และการทดสอบระดับชาติ 2.6 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดระบุสิ่งที่นักเรียนพึงรู้และปฏิบัติได้ รวมทั้งคุณลักษณะของผู้เรียนในแต่ละ ระดับชั้นซึ่งสะท้อนถึงมาตรฐานการเรียนรู้ มีความเฉพาะเจาะจงและมีความเป็นรูปธรรม นำไปใช้ใน การกำหนดเนื้อหา จัดทำหน่วยการเรียนรู้ จัดการเรียนการสอน และเป็นเกณฑ์สำคัญสำหรับการวัด ประเมินผลเพื่อตรวจสอบคุณภาพผู้เรียน 1) ตัวชี้วัดชั้นปี เป็นเป้าหมายในการพัฒนาผู้เรียนแต่ละชั้นปีในระดับการศึกษา ภาค บังคับ (ประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 3) 2.7 กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน มุ่งให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเองตามศักยภาพ พัฒนาอย่างรอบ ด้าน เพื่อความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ทั้งร่างกาย สติปัญญา อารมณ์ และสังคม เสริมสร้างให้เป็นผู้มี ศีลธรรม จริยธรรม มีระเบียบวินัย ปลูกฝังและสร้างจิตสำนึกของการทำประโยชน์เพื่อสังคมสามารถ จัดการ ตนเองได้ และอยู่ร่วมกับผู้อื่นอย่างมีความสุข กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน แบ่งเป็น ๓ ลักษณะ ดังนี้ 1) กิจกรรมแนะแนว เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียนให้รู้จักตนเอง รู้รักษ์ สิ่งแวดล้อม สามารถคิดตัดสินใจ คิดแก้ปัญหา กำหนดเป้าหมาย วางแผนชีวิตทั้งด้านการเรียน และ อาชีพ สามารถปรับตนได้อย่างเหมาะสม นอกจากนี้ยังช่วยให้ครูรู้จักและเข้าใจผู้เรียน ทั้งยังเป็น กิจกรรมที่ช่วยเหลือและให้คำปรึกษาแก่ผู้ปกครองในการมีส่วนร่วมพัฒนาผู้เรียน 2) กิจกรรมนักเรียน เป็นกิจกรรมที่มุ่งพัฒนาความมีระเบียบวินัย ความเป็นผู้นำ ผู้ ตามที่ดี ความรับผิดชอบการท างานร่วมกัน การรู้จักแก้ปัญหา การตัดสินใจที่เหมาะสม ความมี เหตุผลการช่วยเหลือแบ่งปันกัน เอื้ออาทร และสมานฉันท์ โดยจัดให้สอดคล้องกับความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน ให้ได้ปฏิบัติด้วยตนเองในทุกขั้นตอน ได้แก่ การศึกษาวิเคราะห์ วางแผน ปฏิบัติตามแผน ประเมินและปรับปรุงการทำงาน เน้นการทำงานร่วมกันเป็นกลุ่ม ตามความ เหมาะสมและสอดคล้องกับวุฒิภาวะของผู้เรียน บริบทของสถานศึกษาและท้องถิ่น กิจกรรมนักเรียน ประกอบด้วย 11
  • 16. (1) กิจกรรมลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด ผู้บำเพ็ญประโยชน์ (2) กิจกรรมชุมนุม ชมรม 3) กิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ เป็นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้เรียน บำเพ็ญตนให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม ชุมชน และท้องถิ่นตามความสนใจในลักษณะอาสาสมัครเพื่อ แสดงถึงความรับผิดชอบ ความดีงาม ความเสียสละต่อสังคม มีจิตสาธารณะ เช่น กิจกรรมอาสา พัฒนาต่าง ๆ กิจกรรมสร้างสรรค์สังคม 3. การประเมินหลักสูตรสถานศึกษา 3.1 ความหมาย บุญศรี พรหมมาพันธุ์ (2551, หน้า 26) ได้ให้ความหมายของการประเมิน หลักสูตรไว้ ว่า หมายถึง การรวบรวมและการวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกับหลักสูตรและการเรียนการสอน เพื่อ พิจารณาเกี่ยวกับคุณค่าของหลักสูตรและการเรียนการสอนว่ามีคุณภาพดีหรือไม่อย่างไร มีส่วน ใดบ้าง ที่ต้องปรับปรุง ลัดดาวัลย์ เพชรโรจน์ (2549, หน้า 127 - 128) ได้ให้ความหมายของการ ประเมิน หลักสูตรไว้ว่าเป็นกระบวนการหาคำตอบว่า หลักสูตรมีผลสัมฤทธิ์ผลตามจุดมุ่งหมายที่ กำหนดไว้ หรือไม่และมากน้อยเพียงใดโดยมีการจัดการเก็บรวบรวมข้อมูล และการวิเคราะห์ข้อมูล จากหลาย องค์ประกอบ ได้แก่ การวิเคราะห์จากกระบวนการการนำหลักสูตรไปใช้วิเคราะห์ผลจาก ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของผู้เรียน เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลแล้วจะต้องน าเสนอข้อมูลเพื่อตัดสินใจหรือ ควร เปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงหรือเลือกวิธีใหม่ กู๊ด (Good 1973, หน้า 209) กล่าวว่า การประเมินหลักสูตรคือการประเมินผลของ กิจกรรม การเรียนภายในขอบข่ายของการสอนที่เน้นเฉพาะจุดประสงค์ของการตัดสินใจในความ ถูกต้องของ จุดหมาย ความสัมพันธ์และความต่อเนื่องของเนื้อหา และผลสัมฤทธิ์ของวัตถุประสงค์ เฉพาะซึ่ง นำไปสู่การตัดสินใจในการวางแผน จากความหมายข้างต้น สรุปได้ว่า การประเมินหลักสูตร หมายถึง กระบวนการ ตรวจสอบ และการตัดสินคุณค่าของหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อประกอบการตัดสินใจในการปรับปรุง หลักสูตร โดย เทียบกับเกณฑ์ที่กำหนด 3.2 ความสำคัญและประโยชน์ของการประเมินหลักสูตร บุญศรี พรหมมาพันธุ์ (2551: 37-38) ได้สรุปความสำคัญของการประเมิน หลักสูตร ดังนี้ 1) ชี้ให้เห็นถึงคุณค่าของหลักสูตร ทำให้ทราบว่าหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นมาตอบสนอง วัตถุประสงค์ที่ต้องการหรือไม่ ช่วยให้ผู้เรียนบรรลุวัตถุประสงค์เพียงใด 2) เป็นแนวทางในการส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน และการสอนของผู้สอน จึง สามารถนำมาวางแผนการเรียนการสอนได้ 3) เป็นแนวทางในการปรับปรุงแก้ไขสิ่งบกพร่องที่พบในองค์ประกอบของหลักสูตร เช่น จุดมุ่งหมาย โครงสร้าง เนื้อหา การวัดผล ฯลฯ ว่ามีความเหมาะสมและสอดคล้องกันหรือไม่ สามารถนำมาปรับปรุงแก้ไขได้ในระหว่างที่มีการปฏิบัติ 12
  • 17. 4) ช่วยในการตัดสินใจของผู้บริหารว่าควรใช้หลักสูตรต่อไปอีกหรือควรยกเลิก การใช้หลักสูตรเพียงบางส่วน หรือยกเลิกทั้งหมด 5) ทำให้ทราบคุณภาพของผู้เรียนซึ่งเป็นผลผลิตของหลักสูตรว่ามีการเปลี่ยนแปลง พฤติกรรมไปตามจุดมุ่งหมายของหลักสูตรหรือไม่ อย่างไร 6) เป็นแนวทางปรับปรุงแก้ไขระบบบริหารหลักสูตร การนิเทศกำกับดูแลให้มี ประสิทธิภาพมากขึ้น กล่าวโดยสรุป การประเมินหลักสูตรมีความสำคัญ ถือเป็นส่วนหนึ่งของการ บริหารงานในเชิงระบบ ทำให้ได้ข้อมูลสารสนเทศที่บ่งบอกถึงความสำเร็จหรือความล้มเหลวทราบ จุดเด่นจุดด้อย ปัญหาอุปสรรค ซึ่งจะเป็นแนวทางในการปรับปรุง พัฒนาหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพ และบรรลุผลตามเป้าหมายที่วางไว้ 3.3 ขอบเขตของการประเมินหลักสูตร ในการประเมินหลักสูตรโดยทั่วไป จะครอบคลุมประเด็น ต่อไปนี้ 3.3.1 การประเมินเอกสารหลักสูตร เป็นการตรวจสอบคุณภาพขององค์ประกอบ ต่าง ๆ ของหลักสูตรว่าจุดมุ่งหมาย จุดประสงค์ โครงสร้าง เนื้อหาสาระ วิธีการวัด และประเมินผลมี ความ สอดคล้อง เหมาะสม ครอบคลุม และถูกต้องตามหลักการพัฒนาหลักสูตรเพียงใด หลักสูตรที่ สร้างขึ้น เหมาะกับผู้เรียนหรือไม่ สามารถตอบสนองความต้องการของสังคมและผู้เรียนเพียงใด การ ประเมิน เอกสารหลักสูตรมักใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาและใช้วิธีการให้ผู้เชี่ยวชาญหรือผู้เกี่ยวข้องด าเนินการ ประเมิน 3.3.2 การประเมินการใช้หลักสูตร เป็นการตรวจสอบว่าหลักสูตรสามารถนำไปใช้ ได้ดี กับสถานการณ์จริงเพียงใด การจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรทำอย่างไร มีปัญหาอุปสรรค หรือไม่ อย่างไร เพื่อจะได้แก้ไขปรับปรุง และสามารถใช้หลักสูตรได้อย่างมีประสิทธิภาพ การประเมินการใช้หลักสูตร โดยทั่วไปนิยมประเมินในเรื่องต่าง ๆ ต่อไปนี้ 1) การประเมินผู้สอน โดยคำนึงคุณวุฒิ ประสบการณ์การสอน เทคนิคการ ถ่ายทอด ความรู้ การค้นคว้าหาความรู้ใหม่ การเตรียมการสอน และการใช้อุปกรณ์การสอน 2) การประเมินผู้เรียน โดยพิจารณาคุณสมบัติของผู้เรียนในด้านทักษะการ ฟัง พูด อ่านเขียน เจตคติ ความสามารถทางสติปัญญา ความสนใจในการเรียน ความพร้อม ความพึง พอใจ อารมณ์ และความสามารถในการปรับตัว ตลอดจนทักษะการแก้ปัญหาต่าง ๆ 3) การประเมินกระบวนการเรียนการสอน โดยพิจารณาความก้าวหน้าของ ผู้เรียน ซึ่งเกิดจากกระบวนการจัดการเรียนการสอนที่ประกอบด้วยการวางแผนการสอนที่ดี การ จัดลำดับ ความสำคัญของเนื้อหาวิชาให้เป็นไปตามหลักการเรียนรู้ การประเมินติดตามความก้าวหน้า ของผู้เรียน เป็นระยะ ๆ 4) การประเมินวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ประกอบในการเรียนการสอน โดยพิจารณา จาก ประโยชน์ ความทันสมัย ความเหมาะสม ความหลากหลายของสื่อ ฯลฯ การประเมินการใช้ หลักสูตร อาจประเมินเพียงบางส่วนของการใช้หลักสูตร เช่น ประเมินเฉพาะประสิทธิภาพการสอน ของผู้สอน หรือประเมินบรรยากาศการเรียนการสอนในชั้นเรียน หรืออาจทำการประเมินการใช้ หลักสูตรทั้งหมด ก็ไห้ สำหรับวิธีการประเมินนิยมใช้การสังเกต การสัมภาษณ์ การส่งแบบสอบถามให้ ผู้ใช้หลักสูตรเป็น ผู้ตอบ 13
  • 18. 3.3.3 การประเมินผลสัมฤทธิ์ของหลักสูตร เป็นการตรวจสอบผลสัมฤทธิ์ทาง วิชาการ (Academic achievement) ได้แก่ ความรู้ความสามารถทางวิชาการและผลสัมฤทธิ์ด้านอื่น ๆ ได้แก่ บุคลิกภาพ ความรับผิดชอบ ความสามัคคี ความซื่อสัตย์ เป็นต้น การประเมินผลสัมฤทธิ์ของ หลักสูตร สามารถประเมินผู้เรียนขณะศึกษาอยู่ในสถานศึกษา หรือทำการประเมินติดตามผลว่าผู้เรียน สามารถ นำความรู้ที่ได้ศึกษาเล่าเรียนไปใช้ในการปฏิบัติงานและประสบความสำเร็จในการทำงาน หรือศึกษา ต่อหรือไม่ เพียงใด มีความรู้ทักษะ เพียงพอที่จะดำรงอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขหรือไม่ ซึ่งวิธีการ ประเมินทำได้หลายวิธี เช่น สอบถามผู้เรียน ผู้สำเร็จการศึกษา เจ้าของสถานประกอบการ ผู้ร่วมงาน ฯลฯ 3.3.4 การประเมินระบบหลักสูตร เป็นการตรวจสอบภาพรวมของหลักสูตรทั้งหมด เพื่อ มองเห็นภาพได้ชัดเจนว่าองค์ประกอบของหลักสูตรซึ่งเป็นสิ่งที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน มี องค์ประกอบ ส่วนใดที่มีอุปสรรคปัญหา จะได้ปรับปรุงแก้ไข การประเมินระบบหลักสูตร ส่วนใหญ่จะ ประเมินครอบคลุมเรื่องต่าง ๆ ดังนี้ 1) ประเมินบริบทหรือสภาวะแวดล้อม เช่น เศรษฐกิจ สังคม การเมือง ปรัชญา การศึกษา เป็นต้น 2) ประเมินปัจจัยนำเข้าได้แก่ ผู้เรียน ผู้สอน เนื้อหาสาระหลักสูตร เงิน งบประมาณ อาคารสถานที่ อุปกรณ์ในการเรียนการสอน รวมทั้งสิ่งอำนวยความสะดวกอื่น ๆ 3) ประเมินกระบวนการที่อยู่ระหว่างดำเนินการ เช่น กระบวนการจัด ตารางสอน การประเมินผู้สอน ผู้เรียน กระบวนการจัดการงบประมาณ และกระบวนการจัด เนื้อหาวิชาใน หลักสูตร 4) ประเมินผลผลิตและผลลัพธ์หรือผลกระทบของหลักสูตรเป็นการ ตรวจสอบว่า หลักสูตรสัมฤทธิ์ผลหรือไม่ และในระยะยาวก่อให้เกิดผลกระทบต่อสังคม ชุมชนอย่างไร 5) การติดตามผล (follow up) ของหลักสูตรหรือผู้สำเร็จการศึกษาตาม หลักสูตร 3.4 ขั้นตอนการประเมินหลักสูตร การประเมินหลักสูตรเป็นกระบวนการในการพิจารณาคุณค่าหรือค่านิยม(Worth or Value) ของหลักสูตร ขั้นตอนหรือวิธีการประเมินจึงมีความสำคัญมาก เพื่อให้ทราบประสิทธิภาพ ประสิทธิผลของหลักสูตร จึงต้องมีขั้นตอนที่เป็นระบบน่าเชื่อถือ ซึ่งนักการศึกษาหลายท่านได้เสนอ แนวคิดเกี่ยวกับขั้นตอนการประเมินหลักสูตรดังนี้ สมคิด พรมจุ้ย (2551, หน้า 23 - 30) และบุญศรี พรหมมาพันธุ์ (2551, หน้า 39 - 41) ได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับขั้นตอนการประเมินหลักสูตร ดังนี้ 1) ขั้นกำหนดเป้าหมาย ผู้ประเมินหลักสูตรต้องกำหนดสิ่งที่จะประเมิน วัตถุประสงค์ เป้าหมายของการประเมิน วิเคราะห์และทำความเข้าใจกับจุดมุ่งหมายในการประเมินผู้ ประเมินต้อง กำหนดว่าต้องการนำข้อมูลมาทำอะไร 2) ขั้นการวางแผนและออกแบบประเมิน การวางแผนเปรียบเสมือนเข็ม ทิศที่จะ นำไปสู่เป้าหมายการประเมิน หลังจากศึกษาเอกสาร แนวคิด ทฤษฎี และผลงานประเมินที่ 14