SlideShare a Scribd company logo
1 of 214
Download to read offline
~1~
~2~
~3~“สิ่งที่ข้าพเจ้ าเชื่ออย่างมันใจก็คือความจริ งที่วาระบอบทาสในหมูชาวมุสลิมนัน                             ่                      ่           ่          ้            ดีกว่าระบอบทาสที่ปรากฏอยูในหมูชนอื่นหมูชนใดทังหมด”                                         ่        ่     ่     ้                             กุสตาฟ เลอบอง                              (1841-1931)
~4~                              สารบัญปฐมบทแห่ งการปลดแอก                    5บทที่ 2 มายาคติทาสแห่ งโลกตะวันตก      39บทที่ 3 ทาสในกฎหมายอิสลาม              94ปั จฉิมวจี                             195บรรณานุกรม                             207
~5~                                     ปฐมบทแห่ งการปลดแอก                                          ‫بِسـم اهللِ الرْحَـن الرحـِْيم‬                                          ِ َّ ِ ْ َّ              ِْ           ِ ِ                                      ِ ‫اَْلَمد هللِ الْقائِل َب تِاَابِِ اااَلْيَـمم أَتمْت ُ لَمم دنْـكَمم أأََمَم ُ لتَْيمم عِممْى أريْي ُ لَمم‬                                                                                          ِ ُُ          ََ ْ َ ْ ْ ُ َ ْ ْ َ ْ ُ ْ ُ                           َ ْ َْ               ْ ِ َ ُْْ                                                                                                   ِ ‫اْإلسالَم دنْـكًا))، أالصالَةُ أالسالَم لتَى عَبِيِّ ِ الْقائِل ااإِنَّاتم أُمدثَات اْألُممر فَِإن شراْألُممر‬ ِ ُ َّ َ َّ ِ ُ ِ َ ُْ ُ  ْ                 ْ               َْ             ِ َ               َ ُ َّ َ َّ َ                   َ ِْ                 ‫ُمدثَاتُها))، ألتَى آلِِ أصحبِ ِ أمن تَبِع هدنَ ُ أأاالَهُ أَما بَـمد‬                  ُ ْ َّ          ََ ْ َ َ ْ َ َ ْ َ َ                      ََ        َ ‫ُْ َ ـ‬            ประวัติ ศ าสตร์ คื อหนึ่งในสาขาวิช าที่ ถูก จัดแจงอยู่ใ นศาสตร์ แขนงมนุษ ยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ อันเป็ นลัก ษณะวิธีการแบ่งประเภทแห่งองค์ความรู้ ของมนุษ ย์ที่ สะท้ อนถึ งมายาอิท ธิ พลแห่ งลัท ธิ Secularism (ฆราวาสนิ ย ม) ซึ่ง ทํ าการตัดผ่าความสัมพัน ธ์ แห่งองค์ความรู้ระหว่างฝ่ ายศาสนจักรกับฆราวาสออกจากกันโดยสิ ้นเชิงตามคติโลกทัศน์ของระบอบดังกล่าวเพราะฉะนันการศึกษาประวัติศาสตร์อนมีคํานิยามทางวิชาการว่าหมายถึงการศึกษาถึงพัฒนาการ              ้                             ัของมนุษย์และสังคมโลกอันมีมนุษย์เป็ นศูนย์กลางแห่งการศึกษาตามเจตคติของสํานักคิดสายนี ้จึงมีเปาหมายแห่งการศึกษาที่เป็ นไปเพียงเพื่อ ‚โลกแห่งฆราวาส‛ เท่านัน บทสรุปแห่งการศึกษา        ้                                                                   ้ประวัติศาสตร์ ของมนุษยชาติที่ ถูกครอบงําผ่านปรัชญาแขนงนี ก็คืออุบาทว์การณ์ เดียวกันกับ ที่                                                                      ้วิท ยาศาสตร์ ถูก กระทํ า มานั่ น คื อ การเขี่ ย ศาสนาออกจากสารบบการศึก ษาและตี ก รอบให้ประวัติศาสตร์เป็ นเพียง ‚ศาสตร์ ‛ ที่ศกษาเรื่องราวของมนุษย์, ‚เพื่อ‛ มนุษย์และโดยมนุษย์เท่านัน                                        ึ                                                      ้อันหมายความเป็ นนัยว่าพระเจ้ ามิอาจแทรกแซงประวัติศาสตร์ ของมวลมนุษยชาติเฉกเช่นที่นักปรัชญาในอดีตเชื่อถือกันได้ อีก อุดมคติศาสตร์ของมันจึงดํารงสถานภาพในฐานะองค์ความรู้ที่คอยบอกยํ า ถึ ง ความผิ ด พลาดของมนุษ ย์ ใ นอดี ต กาลเพื่ อ ป องกัน ประวัติ ศ าสตร์ ‚ซํ า รอย‛ ของ          ้                                                   ้                       ้มนุษยชาติอีกครังคราหน้            กระนันก็ดีการขาด ‚แรงจูงใจ‛ อันเป็ นปรมัตถ์(ความจริ งสัมบูรณ์ -The Ultimate Truth)                 ้ของปรัชญาประวัติศาสตร์โลกีย์นี ้ได้ พิสจน์ถึงความผิดพลาดในรากฐานแห่งปรัชญาของพวกเขา                                              ูอุดมคติศาสตร์ที่วาประวัติศาสตร์คือสิ่งที่บอกบ่งและปองกันความผิดพลาดซํ ้าซากของมนุษยชาติ                       ่                                   ้ในอดีตกลับกลายมาเป็ นเพียงอุดมการณ์อนไร้ ซึ่ง ‚อาภาส‛ ปาน ‚วิมานในอากาศ‛ ของการศึกษา                                                ัที่ห่างไกลจากโลกแห่งความจริ ง หายนะแห่งสงครามโลกครังที่ ๑ ได้ บอกกล่าวถึงความวินาศ                                                                    ้ร้ ายแรงของมนุษยชาติ แต่กลับมิอาจปองกันหายนะที่อาจเกิดขึ ้นซํารอยเดิมได้ อีก ในเพียงไม่กี่ปี                                          ้                             ้ต่อมา สงครามโลกครังที่ ๒ จึงอุบติขึ ้นคล้ ายจะตอกยํ ้าการล่มสลายของปรัชญาประวัติศาสตร์ ใน                         ้            ัแบบ Secularism ที่แบ่งสันแยกส่วนปวงองค์ความรู้เ ดิมของมนุษยชาติออกจากกันตามแบบกระบวนการผลิตประเภทแบ่งงานกันทําของลัทธิเศรษฐกิจกาลีโลกอย่างทุนนิยม นักวิทยาศาสตร์จึงได้ ถูกแยกออกจากนัก ปรัช ญา, นักประวัติศาสตร์ จึงได้ ถูก แยกออกจากนัก การศาสนา วิช า
~6~ประวัติศาสตร์จึงได้ เคยถูกประกาศให้ ถึงจุดจบของการศึกษาเสียทีเนื่องจากไม่ช่วยเหลือเจือจุนมนุษยชาติจากความหลงผิดรวมถึงไม่ช่วยสรรสร้ างอารยะสังคมใดๆได้ อีก           อิสลามอันเป็ น ‚ระบอบวิถีสมบูรณ์ ‛ (Absolute System) ที่เ ป็ นเหนื อกว่าสถานะของ                                         ัความเชื่อทางศาสนาได้ หล่อหลอมองค์รวมแห่งความรู้, การดําเนินชีวิตและวิถีก ารเมืองตลอดจนเศรษฐกิจของมวลมนุษย์เข้ าอยู่ภายใต้ ร่มธงแห่ง ‚เอกภาพ‛ ของพระผู้เป็ นเจ้ า (Oneness of God)ดังนันการศึกษาประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติตามปรัชญาของอิสลามจึงมิอาจแยกส่วนออกจาก      ้ศาสนาได้ อย่างเด็ดขาด ในทางกลับกันความเข้ าใจอันถ่องแท้ ในประวัติศาสตร์จะก่อผลให้ เกิดองค์ความรู้ที่สมบูรณ์ตอศาสนาโดยตรง ดังที่เราจะพบว่าภายใต้ การศึกษาอิสลามนัน ประวัติศาสตร์จะ                     ่                                                             ้เข้ าไปเป็ นกลไกแห่งความรู้ของอิสลามทังในวิชา ‚ซิเราะฮฺ ‛,ตัฟซีร,หะดีษและแม้ กระทั่งวิชาอากี                                               ้ดะฮฺ (Theology) เองก็ ต าม ความแตกต่างของอิสลามกับ ปรัช ญาประวัติศาสตร์ (HistoricalPhilosophy) ของพวกฆราวาสนิย มจึงมีหัวใจสําคัญอยู่ตรงเปาหมายของการศึกษา กล่าวคือ                                                                       ้สําหรับอิสลามแล้ วการศึกษาประวัติศาสตร์ล้วนเป็ นไปเพื่อสนองรับเจตนารมณ์ของพระผู้เป็ นเจ้ าเป็ นการศึกษาว่าด้ วยเรื่องพัฒนาการของมนุษย์ที่มีเปาหมายสูงสุดเพื่อการเสริ มสร้ างศรั ทธาและ                                                         ้ความยําเกรงของมวลมนุษย์ตอพระองค์ตลอดจนยืนยันถึงความเป็ นหนึ่งเดียวในพลานุภาพแห่ง                                  ่ผองจัก รวาลที่ ปวงสรรพสิ่งต่างอาศัย อยู่ใ นร่ มเงาของพระองค์ ดังที่ พระองค์ได้ ทรงบัญ ชาผองมนุษย์ให้ ออกเดินทางเพื่อศึกษาร่องรอยความหายนะของมนุษยชาติตลอดในหน้ าประวัติศาสตร์(3:137) เพื่อที่มนุษย์จะได้ เรี ยนรู้ถึงความหลงผิดของบุคคลในอดีตพร้ อมนําบทเรี ยนเหล่านันไป    ้สานสูความเคารพภักดีตอพระองค์ (29:20) เปาหมายของการศึกษาประวัติศาสตร์ ในปรัชญาของ        ่                     ่                     ้อิสลามจึงเป็ นไปเพื่อความศรัทธาอย่างแท้ จริ งและนี่คืออุดมการณ์เชิงประวัติศาสตร์ (HistoricalIdeology) อันเป็ นปรมัตถ์ของประชาชาตินี ้ เป็ นประวัติศาสตร์ ที่มิได้ มีจุดหมายปลายทางแห่งการศึกษาเพื่อการรู้จกมนุษย์เพียงอย่างเดียว หากแต่มีปลายทางเพื่อการศรัทธาในพระเจ้ า เป็ น                       ัประวัติศ าสตร์ เ พื่ อพระเจ้ าอย่ า งแท้ จ ริ ง เป็ นการกระทํ าที่ อยู่ใ นกรอบคิดแห่ง “เอกพฤตินัย ”1(Tawheed of Action) และ ‚เอกวิทยา‛ (Tawheed of Knowledge) ที่ทุกก้ าวกระบวนของการขับเคลื่อนองค์ความรู้นนจะถูกย้ อนกลับไปยังพระเป็ นเจ้ าเพื่อสัตย์ปฏิญาณถึงความเกรียงไกรของ                           ั้พระองค์เพียงผู้เดียวเท่านัน     ้           แต่แม้ กระนันก็ตาม! ไม่ว่าผองความรู้และปรัชญาในด้ านประวัติศ าสตร์ ของอิสลามจะ                         ้วิเศษวิโรจกันปานใด การเสริ มสร้ างความรู้ทางประวัติศาสตร์ อย่างลึกซึงให้ แก่เยาวชนมุสลิมใน                                                                              ้ระดับที่จะกลายเป็ นพลังทางความคิดความเคลื่อนไหวของพวกเขานัน กลับดุจราวความรู้ที่ไร้ ซึ่ง                                                                            ้1  หลักคิดประการนี ้ท่านผู้อ่านสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ ในหนังสือของกลุ่มอัซซาบิกูนชื่อว่า ‚เอกพฤตินัย‛ เขียนโดย ท่านชัยคุลมุญาฮิดีน อับดุลลอฮฺอซซาม แปลโดย สหายบัยตุลอันศอร หาอ่านได้ ที่ www.baitulansar.info                                    ั
~7~คุณค่าทางจิตวิทยามากที่สด ลักษณะวิธีการศึกษาประวัติศาสตร์ ของอิสลามตามที่เห็นกันอยู่ใน                               ุหน้ าหนังสือต่างๆทุกวันนีกลับมีลกษณะที่หยาบกร้ านและไร้ สีสนที่สด กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือเรา                             ้           ั                              ั ุปราศจากสิ่งที่เ ป็ น ‚ทฤษฎี ‛ (Theory) ที่ หลากหลายในการใช้ วิภาษและศึกษาประวัติศาสตร์อิส ลามให้ เกิ ด สี สัน และดูน่ า สนใจเพื่ อ สร้ างคํ า อธิ บ ายที่ ห ลากหลายต่อ การเปลี่ ย นผ่า นในประวัติศาสตร์ อิสลาม เนื่องจากทฤษฎีทุกชนิดคือกรอบคิดที่มีลกษณะเฉพาะตนในการอธิบาย                                                                         ัเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์หนึ่งใดได้ แตกต่างกันไปตามอัตภาพของแต่ละทฤษฎีจะกระทําได้ แต่ดังที่กล่าวไปแล้ วว่าโดยมากของการศึกษาประวัติศาสตร์อิสลามจะเป็ นการเล่าเรื่ องไปเรื่ อยเปื่ อยเหมือนเส้ นตรงหรื อเส้ นขนานว่าคนนันทําอย่างไร คนนีเ้ ป็ นแบบไหน หรื ออาจจะกล่าวได้ ว่าเป็ น                                               ้ประวัติสาสตร์ที่ถกมองจากนักวิชาการตะวันตกในรูปของประวัติศาสตร์ ที่มีจุดเริ่ มต้ นและจุดจบ                     ูตายตัว มากกว่าจะเป็ นประวัติศาสตร์ ที่เสริ มสร้ างพลังทางความคิดเชิงอิสลามแก่เยาวชน ทังที่        ้ประวัติศาสตร์คือวิชาที่มีพลังในการผลักดันการต่อสู้ทางการเมืองในระดับสูงมาโดยตลอด บรรดานักปกครองและนักปฏิวติทังดีและชั่วบนบรรณพิ ภพนี ต่างก็ เคยใช้ ประวัติศาสตร์ เป็ นอาวุธทาง                            ั ้                               ้การเมืองเพื่ อกระตุ้น การขับ เคลื่อนของมวลชนมาแล้ วทังสิน ดังที่ อดอล์ฟ ฮิ ต เลอร์ แห่งนาซี                                                                  ้ ้เยอรมันเคยใช้ ประวัติศาสตร์ชาติพนธุ์วาด้ วยชนอารยันในการระดมคนเยอรมันเพื่อการกวาดล้ าง                                           ั ่ชนชาติยิว หรือแม้ กระทังการที่พวกยิวไซออนิสต์ใช้ ประวัติศาสตร์ เพื่อตบตาชาวโลกให้ สนับสนุน                          ่ขบวนการของพวกเขาที่ได้ ทําการเบียดเบียนชีวิตของชาวปาเลสไตน์ ซึ่งนับว่าน่ าเศร้ าใจมากที่ประวัติศาสตร์อนยาวนานของประชาชาติอิสลามกลับไม่ถูกนํามาเป็ นพลังการต่อสู้ทางการเมือง                   ัโดยเฉพาะในกาลปั จ จุบัน ที่ โลกกํ าลังอธรรมต่ออิสลามจากวาทกรรมเรื่ อง ‚ลัท ธิ ก่ อการร้ าย‛(Terrorism) ทังที่หากเราพิจารณากระบวนการศึกษาประวัติศาสตร์ ของกลุ่มอื่นๆที่โลกให้ ความ                 ้สนใจกัน เช่น ลัทธิมาร์ก เราจะพบว่ากรอบคิดทางประวัติศาสตร์ของมาร์กซิสต์ (Marxism) มีเพียงแค่เรื่องของเศรษฐกิจและการต่อสู้ทางชนชันเท่านันโดยปฏิเสธอิทธิพลของจิตโดยสิ ้นเชิง แต่ไฉน                                                 ้     ้เลยกรอบคิด อัน จํากัด ดังกล่าวนีจึงกลับกลายมาเป็ นพลังทางความคิดแก่เ ยาวชนหนุ่ มสาวใน                                       ้ศตวรรษที่ 20 ที่ทรงพลังที่สดจนผลักดันโลกให้ เกิดการปฏิวติ, สงครามปลดแอกประชาชนผู้ยากไร้                                 ุ                                 ัและพลังทางการเมืองที่แบ่งขัวโลกทังสองออกจากกันได้ อย่างน่าทึ่ง แต่ในทางกลับกันกรอบคิด                                   ้         ้ทางประวัติศาสตร์ของอิสลามแม้ จะมีกรอบคิดมากมายหลายแขนงไม่วาจะ การต่อสูระหว่างความ                                                                            ่         ้จริ งกับความเท็จ(อิ สลามและอื่นๆ),การต่อสูระหว่างศรัทธาและปฏิ เสธ,การต่อสูกบความงมงายใน                                                   ้                              ้ ัอารยธรรมเจว็ดของมนุษยชาติ ,ปรัชญาเศรษฐกิ จแบบอิ สลาม,กฎหมายและหลักความยุติธรรมในทัศนะอิ สลาม,การปกครองและรัฐอิ สลาม ฯลฯ ทังหมดนีกลับกลายเป็ นเรื่ องมหัศจรรย์ของมหา                                                         ้      ้จักรวาลมากที่ประชาชาติอิสลามมีฐานความคิดมากมายแต่กลับไม่มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบโลกแม้ กระทังการเสนอความคิดในทางปรัชญาประวัติศาสตร์เอาเสียเลย การต่อสู้ทางความคิดใน              ่ปั จจุบนที่มีกระแส ‚อิสลามานุวตร‛ (Islamization = กระบวนการทําทุกอย่างให้ เป็ นอิสลาม)เป็ น        ั                            ั
~8~ตัวชี ้นําในระดับสามารถที่จะเขย่าปรัชญาตะวันตกก็ยงจัดว่าน้ อย,สงครามญิฮาดเพื่อการปลดแอก                                                     ัมุสลิมที่ถกกดขี่ก็แทบไม่ต้องพูดถึง(ทังที่ประวัติศาสตร์อิสลามกลับถูกจารึกด้ วยเลือดของชุฮะดะอฺ            ู                          ้ทังสิ ้น-อัมตะวาทะของเชคอับดุลลอฮฺ อัซซาม) ,การแบ่งโลกออกเป็ นสองค่ายคือค่ายแห่งความ   ้ศรัทธาและค่ายแห่งการปฏิเสธก็หายต๋อมเป็ นสุญญากาศ(ทังที่มสลิมเคยมีอาณาจักรอิสลามที่                                                                 ้ ุกําราบมหาอํานาจค่ายปฏิเสธอย่างโรมันและเปอร์เซียมาแล้ วในอดีต) และที่เล่นเอาข้ าฯต้ องอยากมุดดินแทรกหนีลี ้หายไปจากผู้คนสักครังคราวก็คือ นอกจากกลุ่มกิจกรรมตามแนวทางสังคมนิยม                                           ้หรือลัทธิมาร์กจะตีความคําว่า ‚สิทธิสตรี ‛ สลับขัวกับนิยามของฝ่ ายประชาธิปไตยแล้ วพวกเขายัง                                                  ้มองการเปลือยเปล่าอวดเรื อนร่ างของสตรี ว่าหมายถึงการกดขี่ต่อสตรี เพศและสตรี แห่งชนชัน          ้กรรมาชีพ(มิใช่เรื่องของศีลธรรม) แรงขับเคลื่อนในแนวคิดสตรีของพวกเขาสามารถทําให้ ช่วงหนึ่งของการประกวดนางงามในหน้ าประวัติศาสตร์ไทยต้ องประสบภาวะวิกฤติจนเกือบสูญหายไปจากสังคมเพราะถูกพิษสังคมนิยมต่อต้ าน และข่าวล่าสุดที่ข้าฯได้ รับมาว่าในช่วงที่โลกกําลังรื่ นเริ งไปกับด้ วยเทศกาลบอลโลก (ค.ศ.2010) ชาติมสลิมต่างๆอย่าง อินโดนีเซียและตุรกีกลับส่งนางงาม                                               ุโง่ๆเข้ าประกวด ในขณะชาติคอมมิวนิสต์อย่างเกาหลีใต้ กลับปฏิเสธการส่งสตรี เข้ าร่วมกิจกรรมวิตถารนี ้ด้ วยเหตุผลว่ามันเป็ นกิจกรรมจากกระบวยกลของทุนนิยมโสโครกนันเอง!!!? และสิ่งที่เล่น                                                                            ่เอาข้ าฯต้ องแทบแทรกแผ่นดินหนีก็จากคําถามซึ่งอาจารย์ของข้ าฯผู้ถือมันในลัทธิสงคมนิยมได้                                                                          ่        ัถามข้ าฯว่า ‚ทังที่มสลิ มมี ทงบัญญัติเรื่ องแต่งกายสตรี ที่เข้มงวดมากแต่ทาไมพวก Activists (นัก                 ้ ุ          ั้กิ จกรรม) ในวงการมุสลิ มจึงไม่สามารถปลุกระดมให้มสลิ มใช้สิทธิ ของพลเมืองไทยประท้วงต่อต้าน                                                       ุการประกวดนางสาวไทยหรื อแม้กระทังการประกวดระดับโลก ?‛ ถ้ าท่านเป็ นข้ าฯท่านจะตอบเขา                                         ่อย่างไรหรือ?? โอ้ มสลิมทังหลาย                     ุ      ้                      ‚ปวงเขา เบา‘ศรัทธา’ กลับยาตราท้ามารยล                               ปวงเรา‘ศรัทธาชน’ มิ วายพ้นจนปากรู ‛         นี่คือพวกเรา! ที่มีปรัชญาคําสอนทางศาสนาอย่างวิโรจโสตประสาทแต่กลับส่งผลต่อการจัดระเบีย บสังคมได้ น้อยมาก ผลแห่งความอัปยศที่เ กิดขึนเหล่านีล้วนหาใช่เกิดจากการที่ เรามี                                                      ้         ้ปรัชญาแห่งคําสอนที่ออนด้ อยไร้ สีสนอุดมการณ์ หากแต่รากฐานของปั ญหามาจากการขาดการ                       ่            ัสอนอิสลามในเชิงอุดมการณ์อย่างเพียงพอที่จะเป็ นพลังทางความคิดแก่วิญํูชน พูดอีกนัยหนึ่งก็คือ โลกอิสลามขาดการสอนอิสลามอย่างเป็ น ‚วิทยาศาสตร์‛ มาอย่างช้ านานแล้ วว่าอิสลามดีและเจ๋งกว่าชาวบ้ านเขา (ทุนนิยม,ประชาธิปไตย,สังคมนิยม) อย่างไร ?และระบอบของคนอื่นเขากดขี่รังแกเพื่อนมนุษย์อย่างไร ? คําว่าศึกษาอย่างเป็ นวิทยาศาสตร์ หมายถึงการนําเสนอสมมุติฐานและทําการตรวจสอบ,วิจย,วิพากษ์ หรือพิสจน์ให้ เห็นในเชิงประจักษ์ วามัน ‚จริง‛ ดังที่ คาร์ ล มาร์ ก                          ั              ู                        ่
~9~ได้ ชี ้ให้ เห็นถึงระบอบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมว่าเลวร้ ายอย่างไร ? จากทฤษฎี ‚มูลค่าส่วนเกิน‛ อันลือลันของเขา แล้ วประชาชาติอิสลามของเราล่ะเชื่อว่าระบอบเศรษฐกิจแบบอิสลามที่ห้ามดอกเบี ้ย         ่อนุญาตกําไรและมีแนวทางซะกาตดีกว่าของชาวบ้ านเขาแต่ก็ยงขาดนักคิดของโลกมุสลิมที่จะมา                                                               ัอธิ บายบอกชาวโลกว่าเศรษฐกิ จของอิสลามดีกว่าทุน นิย มในระดับที่ สามารถสะเทื อนโลกได้ 2ปั ญหาดังที่เอ่ยมานีจึงเป็ นผลมาจากปั ญหาในทาง ‚ปั ญ ญา‛ ของมุสลิม เมื่อสภาพการณ์ เป็ น                          ้เช่นนี ้หนทางเดียวที่จะสามารถ ‚ปฏิวติปัญญา‛ ของมวลมุสลิมจนก่อกระแสการต่อสู้ทางความคิด                                       ัระหว่างอุดมการณ์อิสลามกับอนารยะชน (Barbarians) ในนามอื่นๆชนิดที่จะเกิดผลที่สดก็คือการ  ุปฏิวติท างการศึก ษาในวงวิช าการอิสลามที่จํ าต้ องสลัดมวลมุสลิมออกจากปลักแห่ง ‚นกแก้ ว           ันกขุนทอง‛ หรื อกระบวนการคิดที่ล้าหลังไม่เป็ นตรรกะ (Non-Logical Thinking) ตลอดจนการนิยมในอัตลักษณ์กลุมชนพวกพ้ องของตนเองว่าฉันคืออิควานคือสะละฟี ย์คือฮะฎอรี ย์อย่างมืดมัว                        ่ตาบอดจนขาดอิสรภาพทางความคิดของตนเองในการรับใช้ อิสลามซึ่งในทรรศนะของข้ าพเจ้ าแล้ วพิจารณาว่านอกเหนือจากวิชาการอิสลามที่มวลมุสลิมจําต้ องเรียนนันพวกเขายังต้ องเรี ยนศาสตร์                                                                   ้เหล่านี ้เพื่อการพัฒนาประชาชาติอิสลามโดยเฉพาะในหมูนกเผยแพร่อิสลาม                                                         ่ ั              1. วิชาตรรกะวิทยา (Logical Science) ความรู้ของวิชาดังกล่าวนี ้จะช่วยชําระความมืดบอดในทางความคิดต่างๆซึ่งแฝงตัวอยู่ในจิตใจของมวลมุสลิม ทังยังจะเป็ นวิชาที่คอยขัด                                                                         ้เกลาให้ ปัญญาชนมุสลิมรู้จักถึงวิธีของการอนุมานและให้ เหตุผลที่ถูกต้ องและยุติธรรม ปฏิเสธไม่ได้ เลยว่าส่วนหนึ่งของความวุนวายขัดแย้ งในสังคมมุสลิมนันก็ล้วนเป็ นผลมาจากการปราศจาก                                     ่                       ้การใช้ เหตุผลที่ดีเพียงพอในการจัดการปั ญหาความขัดแย้ งซึ่งกระบวนการดังกล่าวจะเกิดขึ ้นได้ ก็ต่อเมื่อมีการเรี ยนรู้ต รรกะ นอกเหนื อจากนีแล้ วตรรกะวิท ยายังใช้ เ ป็ นอาวุธอันทรงพลังในการ                                             ้ปกปองและอธิบายถึงสัจธรรมของอิสลามในกาลปั จจุบน แม้ กระทั่งกับคําถามที่แสนยากเย็นเช่น      ้                                               ัใครสร้ างอัล ลอฮฺ เราก็ จ ะพบว่าตรรกะสามารถช่ว ยมุส ลิมให้ ต อบคํ าถามนี ไ้ ด้ อ ย่ างง่ายดายเพราะฉะนันความคิดล้ าหลังที่วาตรรกะคือวิชาที่หะรอมต้ องห้ ามอันเป็ นผลมาจากการใช้ ขนตอน                ้                  ่                                                       ั้ทางตรรกะที่ผิดพลาดหรื อไม่สมบูรณ์ของอุลามาอ์โลกมุสลิมในอดีตจึงควรที่จะต้ องปั ดทิงความ   ้เข้ าใจครํ่าครึดงกล่าวนี ้เสียใหม่                    ั2    แต่ก็ยงนับว่าดีที่กระแสการฟื นฟูอิสลามภายใต้ วาทกรรมทางปั ญญาที่ว่า ‚อิสลามานุวัตร‛ (Islamization) ใน          ั                      ้รอบหลายทศวรรษมานี ้ได้ สงผลต่อการเปลียนแปลงอย่างเป็ นรูปธรรมขึ ้นในโลกจนก่อเกิดภาวะปฏิ กิริยาจากฝ่ าย                              ่           ่ตรงข้ ามที่ ต่ อ ต้ านโลกอิ ส ลามในระดั บ ที่ ใ กล้ ก้ าวไปถึง การต่ อ สู้ท างความคิ ด แล้ ว ตั ว อย่ า งเช่ น ปรั ช ญาวิทยาศาสตร์ ของยุโรปที่อยู่บนฐานของการปฏิเสธพระเจ้ าตามลัทธิดาร์ วิน (Darwinism) มาหลายศตวรรษได้ ถูกสันสะเทือนและพิสจน์ว่า ‚เทียม‛ ภายหลังกระแส ‚วิทยาศาสตร์ อิสลาม‛ (Islamic Science) เติบโตขึ ้น การมา  ่                    ูของท่านฮารูน ยะหฺยาและทีมงานวิจยของเขาได้ สงผลให้ เกิดการต่อต้ านวิทยาศาสตร์ อิสลามเพื่อปกปองทฤษฎี                                      ั              ่                                                       ้โบราณเหล่านั ้น ดังที่ปรากฏว่ารัฐบาลอังกฤษและฝรั่งเศสสังห้ ามหนังสือของท่านเข้ าประเทศ                                                              ่
~ 10 ~           2. วิชาปรัชญา (Philosophy) ปรัชญาคือวิชาที่วาด้ วยการศึกษาความคิดและกฎเกณฑ์                                                                     ่ทางความรู้ตางๆที่นกปรัชญาในอดีตได้ ปพื ้นวางไว้ การศึกษาวิชาดังกล่าวนีมิได้ หมายความว่าให้                  ่     ั                            ู                              ้เราทําการศึกษาเพื่อที่จะได้ หลงใหลหรือเชื่อตามปรัชญาดังกล่าวนัน เพราะในความเป็ นจริ งแล้ ว                                                                              ้ปรัชญาแตกต่างจากตรรกะตรงที่ปรัชญาคือวิชาที่หาความชัดเจนและคําตอบตายตัวของแต่ ละปั ญหาไม่ได้ ในขณะที่ตรรกะคื อกระบวนการหาความจริ งสูงสุด หากแต่การศึกษาปรัชญานัน ก็                 ้เพียงเพื่อที่จะรับทราบถึงความคิดพื ้นฐานของชาวตะวันตกและตะวันออกอันเป็ นความคิดที่ เป็ นขัว            ้ตรงข้ ามกับอิสลาม กล่าวคือทุกความคิดนอกรี ตในยุคสมัยของเรานีไ้ ม่ว่าจะเป็ น ฆราวาสนิยม,สตรี นิยม,วัตถุนิยมหรือแม้ แต่ Post Modern เองต่างล้ วนแล้ วผ่านขันตอนของการเป็ นปรัชญามา                                                                                ้ก่อนทังสิ ้น ดังนันการต่อสู้กบความคิดเหล่านี ้จะไม่อาจบรรลุผลสําเร็จได้ หากเราไร้ ซึ่งความรู้ในทาง         ้          ้              ัปรัชญา เพราะปรัชญาจะเป็ นความรู้ที่ทําให้ เรารู้ถึงความคิดมูลฐานและช่องโหว่ของลัท ธิเหล่านี ้ได้อย่างดี และตรรกะวิทยาจะเป็ นอาวุธที่คอยประหัตประหารปรัชญาที่เป็ นขัวตรงข้ ามกับอิสลามอีก                                                                                  ้ขันตอนหนึ่ง   ้           3. สังคมศาสตร์ (Social Science) การศึกษาวิชาสังคมศาสตร์ จะช่วยหล่อหลอมโลกทัศน์ของชาวมุสลิมให้ อยู่ในรูปแบบที่สมบูรณ์ยิ่งขึ ้น การศึกษาศาสตร์ ในแขนงนีจะทําให้ บรรดา                                                                                       ้เยาวชนมุสลิมเกิดอุดมการณ์ที่จะรับใช้ ศาสนาและประชาคมมุสลิม เพราะแม้ ว่าในบางส่วนของศาสตร์แขนงนี ้จะมีปรัชญาที่เป็ นพิษภัยต่ออิสลามในการศึกษาแต่โดยภาพรวมแล้ วสังคมศาสตร์คือวิชาที่มีกระบวนการในการขัดเกลาให้ ผ้ ศึกษาเกิดอุดมการณ์ของการทํางานเสียสละหรื อ ‚จิต                                                         ูสาธารณะ‛ ที่จะรับใช้ ประชาชนผู้ทกข์ยาก การที่ประชาชนคนต่างศาสนิกมักต่อขานชาวมุสลิมว่า                                              ุเป็ นชนที่ เ ห็ น แก่ ต ั ว นั น ก็ สื บ เนื่ อ งจากการที่ สั ง คมมุ ส ลิ ม ปราศจากการทํ า งานบริ การ                               ้สาธารณประโยชน์แก่มวลมนุษย์ การที่สงคมมุสลิมในยุคปั จจุบันว่างเว้ นจากผู้ร้ ูที่จะคอยลุกขึ ้น                                                       ัต่อสู้กบทรราชเพื่อสิทธิประโยชน์ของประชาชนนันก็สืบเนื่องจากเหล่าผู้ร้ ูอิสลามปราศจากความ       ั                                                   ้เข้ าใจอันถ่องแท้ ตอศาสตร์แขนงนี ้ พวกเขาเหล่านันเพียงแต่ศกษาวิชาการศาสนาอย่างซังกะตาย                      ่                                      ้         ึและท้ ายที่สดก็เป็ นเพียงชนชันที่เห็นแก่ตวซึ่งคอยตักตวงผลประโยชน์ของเม็ดเงินในองค์ กรศาสนา              ุ                      ้             ัหนําซํ ้ายังวางตัวเป็ นชนชันกลาง-สูงในสังคมที่ประชาชนตาดําๆจะเข้ าถึงก็ยากเย็นแสนเข็ญเป็ น                                 ้หนัก หนา ซึ่ง แตกต่า งจากพวกชี อ ะฮฺ รอฟิ เฎาะฮฺ ที่ ผ้ ร้ ู ของพวกเขาต่างรํ่ า เรี ย นความรู้ ในด้ า น                                                                 ูสังคมศาสตร์อย่างขะมักเขม้ นแล้ วก็นําไปประยุกต์กบลัทธิของพวกเขาอย่างลงตัว เราจึงพบผู้ร้ ูของ                                                               ัพวกเขาที่คอยเป็ นกระบอกเสียงแก่ประชาชนมาตลอด ในอิรัคภายใต้ การกดขี่ของซัดดาม อัลลามะฮฺมุฮัมมัด บาเก็ ร ศ็อดรฺ ได้ ต่อสู้ร่วมกับประชาชนจนตนเองต้ องเสียชี พไปในที่ สด ในอิหร่ าน                                                                                           ุดร.อะลี ชาริอะตี คือแกนนําคนสําคัญก่อนการมาของโคมัยนีที่ได้ เรียกร้ องความยุติ ธรรมในสังคมอิหร่านแก่ประชาชนจากกษัตริย์วงศ์ปะฮฺละสีย์จนต้ องถูกกุมขังและทรมานในคุกมาอย่างยาวนานอัลลามะฮฺมรตะฏอ อัลมุเตาะฮฺฮะรีย์คือหนึ่งในนักปราชญ์ชีอะฮฺที่เคลื่อนไหวทางสังคมเพื่อตอบโต้                ุ
~ 11 ~แนวคิดขัวตรงข้ ามกับอิสลามอาทิสตรี นิยม,มาร์ กซิสต์จนตัวเขาได้ ถูกฝ่ ายที่ นิยมในระบอบเซคิว           ้ลาร์สงหารลงอย่างโหดร้ าย และแม้ กระทังผู้นําสูงสุดของพวกรอฟิ เฎาะฮฺอย่างอะลีคอมาเนอีย์นน       ั                                    ่                                                   ั้ก็เคยผ่านสมรภูมิรบในการปกปองประเทศอิหร่านจากการบุกรุกของอิรัคมาแล้ วจนทุกวันนี ้ร่องรอย                                ้ของสงครามยังคงปรากฏอยู่ในตัวของเขาดังที่เราจะเห็นว่ามือขวาของเขานั นใช้ การไม่ได้ จากการ                                                                             ้ถูกกับระเบิดในสงคราม          4. รั ฐศาสตร์ (Political Science) ศาสตร์ ดังกล่าวนี จะช่วยสรรสร้ างการตระหนักรู้ใ น                                                                ้ความสําคัญ ของการมีอยู่ของสิ่งต่างๆเช่น รัฐอิสลาม, อุดมการณ์ทางเมืองและการเคลื่อนไหว,การคัดค้ านต่อระบอบการเมืองอื่นๆ, และรวมไปถึงการญิ ฮาดด้ วยเช่นกัน          5. วิทยาศาสตร์ (Science) พื น ฐานของอารยธรรมยุคใหม่นัน คือวิท ยาศาสตร์ และ                                                ้                          ้วิทยาศาสตร์นนถูกมองว่าเป็ นความจริงอันสูงสุดเสมอที่คอยนิยามสิ่งอื่นเช่นศาสนาให้ เป็ นความ                 ั้เท็จ หรื อความงมงายอยู่ตลอด การศึก ษาวิทยาศาสตร์ นอกจากจะช่วยเป็ นกําลังสําคัญในการพัฒนาโลกมุสลิมและคัด ค้ านปรัชญาของการปฏิเสธพระเจ้ าแล้ ว ยังคอยเป็ นรากฐานสําคัญ ที่ยืนยันถึงความยิ่งใหญ่และการมีอยู่ของพระองค์อลลอฮฺได้ อย่างดีเยี่ยมผ่านสาขาทังทางด้ านดารา                                                    ั                              ้ศาสตร์และชีววิทยา          ศาสตร์ทง 5 แขนงข้ างต้ นนีจําต้ องได้ รับการศึกษาอย่างแท้ จริ งในหมู่นักวิชาการอิสลาม                    ั้                ้ทังหลาย และจําต้ องพึงระวังในการศึกษาเพราะในศาสตร์บางแขนงดังกล่าวย่อมต้ องมีสิ่งที่ขดแย้ ง   ้                                                                                          ักับหลักการอิสลามโดยตรง ดังนันการศึกษาศาสตร์ทง 5 แขนงนี ้จะได้ ผลตรงตามเจตนารมณ์ของ                                  ้                     ั้อิสลามมากน้ อยเพียงใดก็ขึ ้นอยู่กบความรู้ในวิชาการอิสลามของผู้ศกษาว่ามีมากน้ อยเพียงใดด้ วย                                    ั                             ึเป็ นเงาตามตัว และเมื่อนันแหละที่ปัญญาชนมุสลิมจะทําการสลัดความคิดมืดบอดของตัวเองออก                           ้จากปลักแห่งปั ญญาเก่าแล้ วกระโจนเข้ าสูคําว่าปั ญญาชนมุสลิมที่รับใช้ อิสลามอย่างแท้ จริงได้                                              ่          ปฏิเสธไม่ได้ เลยว่าในภาวะที่สงคมมุสลิมทังไทยและเทศน์ต่างต้ องประสบกับการรุมเร้ า                                        ั             ้จากอุดมการณ์ และมรสุมวิช าการของเหล่าศัตรูอิสลามที่ม่งร้ ายหมายขวัญ วาดทําลายอิสลาม                                                              ุอย่างเป็ นระบบผ่านกระบวนวิธีคิดอย่างดีของศัตรูอยู่นน หนังสือตําราอิสลามเอาเฉพาะที่ปรากฏ                                                           ั้อยู่ในแผงหนังสือของประเทศไทยกลับดาษดื่นไปด้ วยงานวรรณกรรมอิสลามที่อ่อนด้ อยทังในเชิง      ้การวิเคราะห์,อุดมการณ์และความเป็ นวิชาการ ดังที่บังเกิดปรากฏการณ์ ‚สภาวะการขาดการโต้กลับ‛ (Non Rebuttal) ต่อศัตรูอิสลามซึ่ง ‚อ้ างตน‛ ว่าหลงผิดตีพิมพ์หนังสือหมิ่นเกียรติคณของ  ุท่านศาสนทูต มุฮัมมัด ศ็อลฯ เพื่อตอกยําในทฤษฎี Muhammad’s Pedophilia ( ยุวกาม) อันถูก                                          ้โฆษณาชวนเชื่อจากต่างประเทศ ในทางกลับกันตําราอิสลามในบ้ านเรากลับยังล้ าหลังด้ วยการตีพิมพ์หนังสืออัตชีวประวัติท่านนบี ศ็อลฯ ,ในขณะที่การวิพากษ์ ท่านศาสนทูตได้ ก่อสร้ างทฤษฎีที่อธิบายใหม่อย่างมากมายในโลกตะวันตกหนังสือในเชิงนักบูรพาคดีอิสลามฉบับภาษาไทยเพียงพึง                 ่จะคลําหางฟาดฟั นกับพวกนักบูรพาคดีโบราณอย่าง Sir William Moor และ มาโกลิอธด้ วยซํา,      ุ       ้
~ 12 ~ในขณะที่ลทธิอบาทว์กาลีโลกอย่างรอฟิ เฎาะฮฺตีพิมพ์หนังสือเชิง‛ชําเรา‛ ประวัติศาสตร์ อิสลามใน               ั ุนาม “ชําระประวัติศาสตร์ อิสลามและโลกมุสลิม ” ฝ่ ายซุนนะฮฺพึ่งจะตีพิมพ์หนังสือประวัติ 4 คอลีฟะฮฺในแบบพื ้นฐานอยู่เลย และที่เจ็บชํ ้าระกํากายใจที่สดก็คือสถิติที่ข้าฯได้ สอบถามจากร้ านค้ า                                                               ุหนังสืออิสลามเกี่ยวกับประเภทหนังสืออิสลามที่ขายดีที่สดของร้ านค้ าก็ปรากฏว่าหนังสืออิสลามที่                                                                 ุขายดีที่สดกลับไม่พ้นเทือกเถาเหล่ากอจําพวกหนังสือรักโรแมนติกแบบอิสลาม,รักชายหญิ ง,รั กใน           ุชมรมมุสลิม,ซึ่งได้ ถูก ตีพิมพ์ ออกมาด้ วยนํ าพัก นําแรงของเยาวชนมุสลิมหลากหลายเล่มและ                                                    ้     ้รูป แบบ ในขณะที่ หนังสืออย่ างเช่น ตัฟซีรฟิ ซิลาลกุรอาน กลับหาเยาวชนแค่ห ยิ บมือซื ออ่านก็     ้ยากเย็นแสนเข็ญปานงมเข็ม แม้ กระทังการจัดเสวนาถ้ าเข่าข่ายหัวข้ อเรื่ องรักๆใคร่ๆห้ องประชุมก็                                              ่จะล้ นหลามไปด้ วยผู้คนปานปลาในมหาสมุทร นี่หรือสิ่งที่ผองวิญํูชนฝั นใฝ่ ??! นี่หรือคือมวลชาติผู้สืบทอดมรดกแห่งปวงศาสนทูตในฐานะ ‚อุลามาอฺ‛ !!? นี่หรือกลุมชนที่ท่านซัยยิดกุฏฏ๊ บและผอง                                                                         ่                 ุปราชญ์ตางหมายมันไว้ ว่าจะเป็ นกําลังพลในการปฏิวติโลกสู่อิสลาม ในเมื่อเปาหมายสูง สุดของ             ่          ่                                    ั                          ้เยาวชนกลับกลายมาเป็ นเรื่องราวเข้ าข่าย ‚ต่อหน้ ามะพลับลับหลังสะโก‛ ไปเสียแทน!!!??!!           ถ้ าท่านสอบถามเยาวชนที่เกิดทันยุคสังคมนิยม (The Socialist) เฟื่ องฟูหรื อแม้ แต่พวกแอคติวิสต์หน้ าใหม่ที่เคลื่อนไหวตามความคิดนี ้ที่พอจะเหลือรอดอยู่ในประเทศไทยว่าหนังสืออะไรที่ขายดีและทรงอิทธิพลที่สดในหมูพวกเขา เขาจะตอบว่า ‚โฉมหน้าศักดิ นาไทย‛ ของคุณ จิตร ภูมิ                               ุ       ่ศักดิ์ แต่ถ้าคุณถามเยาวชนมุสลิมว่าหนังสืออะไรที่พวกเขาซืออ่านมากที่สดในยุคแห่งการฟื ้นฟู                                                                     ้              ุอิสลามที่ปวงมุสลิมต้ องหลังเลือดชโลมดินถวายหัว,กายใจเพื่อปกปั กพิทักษ์ อิสลาม คํา ตอบก็คือ                                   ่หนังสือเชิง ‚รัก‛ ในมิติศาสนา ถ้ าคุณถามเยาวชนนักสังคมนิยมถึงหัวข้ อการบรรยายที่ผ้ คนเข้ าฟั ง                                                                                             ูมากที่สด พวกท่านจะได้ คําตอบจากเขาว่า หัวข้ อเกี่ยวกับการปฏิวติ,การล้ มศักดินา,การต่อสู้ทาง         ุ                                                                 ัการเมืองในช่วง 14-6 ตุลาฯ,ทฤษฎีมาร์กซิสต์ ฯลฯ ถามว่าข้ าฯรู้ได้ อย่างไร ? นันก็เพราะข้ าฯเคยมี                                                                                      ่โอกาสคลุกคลีตีโมงทางวิชาการกับเยาวชนกลุมนี ้มาบ้ างและเคยผ่านงานเขียนวรรณกรรมทางการ                                                      ่เมืองของพวกเขามาแล้ ว แต่เราล่ะเยาวชนมุสลิมฟั งหัวข้ ออะไรมากที่สดชนิดห้ องประชุมผู้คนถล่ม                                                                             ุทลายถ้ าไม่ใ ช่ เ รื่ อง ‚ปั ญ หารัก วัย รุ่ น ‛ !!? จึ งไม่แปลกที่ สังคมมุส ลิม ต้ องประสบภาวะขาดคนทํางานศาสนาในเมื่อเปาหมายหรื อความสมบูรณ์แห่งดุลยภาพชีวิตในความเป็ นมุสลิมถูก                                     ้กระพือฮือโหมว่าจักสมบูรณ์ได้ ก็ต้องผ่านการ ‚แต่งงาน‛ เท่านัน กิจกรรมที่เสริ มสร้ างการหาคู่แก่                                                                       ้เยาวชนจึงพรั่งพรูก้าวหน้ าปานดอกเห็ด เมื่อหาคูแต่งงานกันได้ เสร็จก็ เร้ นกายหายไปจากเวทีงาน                                                        ่ศาสนา แน่นอนว่าข้ าฯมิได้ ตําหนิกลุ่มองค์กรทางศาสนาที่อาสาเข้ ามาแก้ ปั ญหาชายหญิ งเพราะพวกเขากํ าลังขจัดความเสื่อมโทรมในสังคมแต่ข้าฯตําหนิเยาวชนมุสลิมที่ ปากก็ แสร้ งหลอกว่าอยากทํางานศาสนาแต่ก็รังแต่สร้ างปั ญหาเรื่องหญิงๆชายๆให้ เขาแก้ ไขกันไม่จบสิ ้นชั่วนาตาปี ก็ยังไม่เห็นคนเหล่านี ้หันมาปกปองอิสลามจากเหล่าศัตรู เสียเลย ในขณะที่กิจกรรมเสริมสร้ างความเป็ น                                 ้นักกิจกรรมวิชาการเฉพาะด้ าน (The Professional Activist) เพื่อรับมือกับภัยอุบาทว์เยี่ยง ชีอะฮฺ
~ 13 ~,กุรอานนิ ยูน ,พวกนิ ย มทฤษฎีวิวัฒนาการ (เช่น มุสลิมบางก๊ ก เชื่ อว่า มนุษ ย์ มาจากลิงด้ วยการกําหนดของ อัลลอฮฺ !!), พวกสังคมวิทยาอิสลาม 3และนักดาอีย์อีกหลายประเภทที่จะต้ องก้ าวมาล้ างบางความเสื่อมทรามของสังคมกลับหาไม่พบแม้ นเศษหยิบมือ ! ความสําคัญในกระบวนการสร้ างคนตรงนี กลับได้ รับ การเมิน เฉยจากองค์ก รมุสลิมทังหลายขณะเดีย วกัน กับ ที่ เราเองกลับ                    ้                                           ้เรี ย กร้ องให้ ฟื้นฟูโลกมุสลิมเพื่อแข็งขัน กับ ยิ ว !!? แล้ วแบบนี จ ะมีห น้ าไปเที ย บขัน กับพวกยิ วได้                                                                    ้                     ้อย่ า งไรในขณะที่ เ ราพึ่ง จะสอน ‚คน‛ ให้ เป็ นแพทย์ ยิ วเขาสอน ‚แพทย์ ‛ ให้ เ ป็ น ‚แพทย์ ‛ ที่เหนือกว่า ‚คน‛ ไปแล้ ว ด้ วยเหตุนี ้เองปรากฏการณ์ทางสังคมที่เกิดปั ญหาจึงมักไม่ได้ รับการแก้ ไขเนื่องจากขาดบุคคลากร เช่น ปั ญหาการขยายตัวของลัทธิชีอะฮฺในตอนใต้ ของไทยที่ยากเกินกว่าจะต้ านทานไหวเพราะขาดบุคลากรด้ านนี ้ ครันจะให้ อ.ฟารี ด เฟ็ นดี ้ รับเหมาปราบปรามชีอะฮฺคน                                                   ้เดียวทังประเทศก็ดจะเป็ นความอับปางของสังคมมุสลิมอย่างน่าอาดูร นี่ยังไม่นับเรื่ องสารพัดสาร          ้            ูเพปั ญหาที่ถาโถมใส่สงคมมุสลิมและไร้ การแก้ ไขจากการถืออีโก้ ของผู้ใหญ่มสลิมและความบ้ าคลัง                           ั                                                          ุ                 ่ในระบบการทํางานที่ถือพรรคถือพวกว่าฉันเป็ นอิควานเธอเป็ นสะละฟี ย์ ทงหลาย           ั้            เพราะฉะนันก้ าวแรกที่ควร ‚ปลดแอก‛ เยาวชนก็คือการปลดปล่อยพวกเขาจากระบอบ                         ้การศึกษาอิสลามแบบครํ่าครึที่ไม่เป็ นการคิดเชิงตรรกะ (Non Logical Thinking) หรื อปลดปล่อยพวกเขาจาก ‚ปลักแห่งปั ญญาเก่า‛ (The Wallow of Outmoded Intellect) ซึ่งการปฏิวติทาง                ัการศึกษาและความคิดที่ข้าฯเอ่ยไปนี ้ มิได้ หมายความว่าให้ ละทิ ้งแนวทางของเก่าและดังเดิมอย่าง    ้แนวทางแห่งกัลยาณชนชาวสะลัฟแต่ประการใด แต่หมายถึงการปฏิวติ ‚วิสยทัศน์ ‛ ในการมอง  ั      ัศาสนาโดยยึ ดรากเดิ มแห่งแนวทางชาวสะลัฟเป็ นกรอบคิดวิธีจากนัน จึงค่อยเริ่ มกระบวนการ                                                                               ้กระจายความคิดผ่านงานเขียน,สัมมนาบรรยายและการเรียนจนเป็ นผลให้ การสอนอิสลามในเชิงอุดมการณ์เกิดผลอย่างเป็ นรูปธรรมที่สด       ุ            ที่กล่าวมาอย่างยืดเยื ้อถึงกระบวนการสอนอิสลามเชิงอุดมการณ์นี ้ก็เพื่อที่จะปูฐานและชักลากเข้ ามาสู่ปั ญ หาในการศึก ษาประวัติศาสตร์ อิสลามของเรา ดังที่ ก ล่าวไปแล้ วว่าการศึก ษาประวัติศาสตร์ของเราเป็ นเพียงกระบวนการเล่าเหตุการณ์ในอดีตเพื่อให้ ‚ทราบ‛ เท่านันมิใช่เพื่อให้ ้‚คิ ด ‛ หรื อ ‚เคลื่ อ นไหว‛ พูด อี ก อย่ า งก็ คื อ เราศึก ษาประวัติ ศ าสตร์ อิ ส ลามนอกจากจะขาดกระบวนการวิเคราะห์ ในทางเหตุผลและตรรกะแล้ ว เรายังขาดการศึกษาประวัติศาสตร์ ในเชิ งอุด มการณ์ อี ก ด้ ว ย การศึก ษาประวัติ ศ าสตร์ อิ ส ลามในเชิ ง อุด มการณ์ ห มายถึ ง เราศึ ก ษาประวัติศาสตร์ อิสลามผ่านกระบวนการคิดวิเคราะห์ หรื อเป็ น ‚วิทยาศาสตร์ ‛ เพื่อหล่อหลอมให้ประวัติศาสตร์อิสลามเป็ นศาสตร์ที่ผลักดันให้ เกิดการจัดระเบียบสังคมหรือแม้ กระทังเปลี่ยนแปลง ่3  หมายถึงพวกนักวิชาการกาเฟรตามมหาวิทยาลัยทั ้งหลายที่มักจะสอนอิสลามอย่างเสียหายโดยอาศัยทฤษฎีในทางสังคมวิทยา
~ 14 ~โลกก็ ตาม ยกตัวอย่าง เราควรศึกษาถึงความสําเร็ จ ในด้ านการเมืองการปกครองตามระบอบคอลีฟะฮฺในสมัยของท่านอุมร รอฎิฯ ว่าอะไรคือปั จจัยก่อร่างสร้ างความสําเร็จด้ วยการวิเคราะห์                          ัตามกระบวนการ ‚วิทยาศาสตร์ ‛ จากนันจึงเป็ นการศึกษาประวัติศาสตร์ อิสลามช่วงดังกล่าวด้ วย                                   ้การสรรสร้ างอุดมการณ์ที่บทสรุปของมันคือการจัดระเบียบโลกอันหมายถึงความเคลื่อนไหวทางการเมืองเพื่ อสถาปนาระบอบคอลีฟะฮฺขึนมาใหม่!!และเราจะก้ าวไปสู่เ ปาหมายนัน อย่ างเป็ น                                      ้                              ้         ้วิทยาศาสตร์อย่างไร4        ประวัติศาสตร์กบวิวรณ์ธรรมปฏิพากย์ (Dialectical and Historical Revelation)                          ั        นอกจากการศึก ษาประวัติ ศาสตร์ อิสลามในเชิงอุดมการณ์ แล้ วหากขาดซึ่งทฤษฎีท างความรู้ อุดมการณ์ ที่ได้ เ อ่ยไปก็ มิอาจบังเกิ ดขึ ้นมาได้ สิ่งที่ ข้าฯหมายขวัญ และตังปณิธานที่ จ ะ                                                                                     ้นําเสนอทฤษฎีหนึ่งในกาลอนาคตอย่างเป็ นทางการ (อินชาอัลลอฮฺ) ก็คือ การศึกษาประวัติศาสตร์ของมวลมนุษย์ในเชิงอิสลาม ซึ่งตรงนีมิได้ หมายถึงการศึกษาประวัติศาสตร์ อิสลามเป็ นหลัก                                         ้โปรดอย่าได้ คลาดเคลื่อนความเข้ าใจไป แต่การศึกษาประวัติศาสตร์ เชิงอิสลามหมายถึง ‚วิวรณ์ธรรมปฏิพากย์‛, หรือการวิภาษประวัติศาสตร์เชิงวิธีอิสลาม ซึ่งสุดแต่จะเรี ยกขานกัน ตรงนีจะขอ  ้อธิบายความหมายของมันอย่างง่ายว่า คําว่า ‚วิวรณ์‛ เราอาจจะให้ ความหมายว่า วะฮีย์ ซึ่งก็คือพระวจนะ,สาสน์ แ ห่ ง อิ ส ลามที่ พ ระองค์ อัล ลอฮฺ ท รงประทานแก่ ท่า นนบี ส่ว นคํา ว่า ‚ธรรม‛(Dogma) ก็หมายถึงแก่นคําสอน,ส่วนคําว่า ‚ปฏิพากย์ ‛ อันใกล้ เคียงกันกับ ‚ปฏิวาท‛ หมายถึงการวิภาษ,โต้ แย้ ง,หักล้ าง ดังนันเมื่อรวมเป็ น ‚วิวรณ์ธรรมปฏิพากย์ ‛ (Dialectical and Historical                                 ้Revelation) จึงหมายถึง การวิภาษด้ วยคําสอนแห่งวิวรณ์ของพระผู้เป็ นเจ้ า ในทางทฤษฎีหมายถึงการศึกษาประวัติศาสตร์ ด้วยวิธีการโต้ แย้ งต่อทฤษฎีเก่าของพวกลัทธิปฏิเสธพระเจ้ า (Atheism)โดยใช้ คําสอนที่ถูก วะฮีย์จ ากพระเจ้ าเป็ นกรอบและแก่ นในการศึกษาประวัติศาสตร์ พูดง่ายๆหมายถึง การใช้ แนวคิดแบบอิสลามที่มีทงจิตนิยมและวัตถุนิยมควบคูกนไปเป็ นกรอบและแก่นใน                                           ั้                             ่ ัการวิภ าษปรากฏการณ์ ของสังคมมนุษ ย์ ใ นประวัติศ าสตร์ จากข้ อสรุ ป นี ก รอบในการวิ ภาษ                                                                                 ้ประวัติศาสตร์ ของอิสลามจึงกว้ างขวางแต่จะมีรากเหง้ าของการวิภาษคือเรื่ องของการศรัทธา(อีมาน)และการปฏิเสธศรัทธา(กุฟรฺ) ต่อพระเจ้ าเป็ นแกนหลักของเรื่ องในการอธิบายประวัติศาสตร์เพราะการศรัทธาและการปฏิเ สธเป็ นหน่วยที่สําคัญดุจรากแก้ วในทางกฎหมายอิสลาม ในเมื่อ4   ดังที่ขบวนการเคลือนไหวของพี่น้องมุสลิมในยุโรปภายใต้ นาม ‚ฮิสบุตตะฮฺรีร‛ ได้ ทําเอกสารมากมายเพื่อศึกษา                    ่เปรี ย บเที ย บระบอบการปกครองแบบคอลี ฟ ะฮฺ แ ละระบอบประชาธิ ป ไตย(ซึ่ ง เป็ นการศึ ก ษาอย่ า งเป็ นวิทยาศาสตร์ ) ผลจากการศึกษาประวัติศาสตร์ อิสลามในเชิงอุดมการณ์ นี ้ส่งผลให้ กลุ่มดัง กล่าวรวมตัวกันเพื่ อเคลื่อนไหวทางการเมืองในการสถาปนาระบอบคอลีฟะฮฺขึ ้นมาใหม่อีกครัง เราขอดุอาอ์ ต่อพระองค์ อัลลอฮฺไ ด้                                                                     ้โปรดสนับสนุนกลุมนี ้ด้ วยเทอญ                  ่
~ 15 ~รัฐ ศาสตร์ ยังมีก ารศึก ษาที่ อาศัย กรอบคิด แตกต่างกัน ไปในแต่ละสํานัก เช่น พวกหนึ่งศึก ษารัฐศาสตร์ ในเชิงพฤติ กรรมศาสตร์ อีก พวกหนึ่งศึกษารัฐ ศาสตร์ ใ นเชิ งจิตวิทยา พวกหนึ่งในเชิ งสังคมวิทยา แล้ วไฉนเล่าการศึกษาประวัติศาสตร์ของมนุษย์ทงที่เกี่ยวข้ องกับมุสลิมโดยตรงหรื อไม่                                                                  ั้ก็ตามจะไม่นํ าเอาการวิภาษประวัติศ าสตร์ แบบอิสลามมาเป็ นกรอบบ้ างเล่า !!? ถ้ าการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยครังหนึ่งเคยถูกศึกษาผ่านสกุลดํารงราชานุภาพในเชิ งชาตินิยมคติศกดินา ถ้ า                        ้                                                                 ัการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยครังหนึ่งเคยศึกษาผ่านการวิเคราะห์ในเชิงสังคมนิยมหรื อลัทธิมาร์ ก                                  ้(Marxism) โดยคุณ จิตร ภูมิศกดิ์ แล้ วไฉนกันเล่าในวันนี ้เมื่อกระแสอิสลามานุวตรกําลังขับเคลื่อน                                ั                                                 ัเราจะศึกษาประวัติศาสตร์ไทยและสากลที่ไม่ใช่เพียงแค่ประวัติศาสตร์ ของมุสลิมอย่างเดียวด้ วยกระบวนวิ ธี ท างประวัติ ศ าสตร์ ด ัง ที่ ก ล่า วไปบ้ างไม่ไ ด้ !!? ถ้ าการอธิ บ ายเหตุก ารณ์ ป ฏิ วัติประชาธิปไตยไทยปี พ.ศ. 2475 จะต้ องสรุปตามสํานักคิดชาตินิยมประวัติศาสตร์ สายศักดินาว่าเป็ นเพราะคณะราษฎรชิงสุกก่อนหามไม่เคารพภักดีใคร่เป็ นใหญ่ในแผ่ นดินแทนพระมหากษัตริ ย์แล้ วไซร้ ถ้ าการอธิบายปรากฏการณ์ปี 2475 ว่าหมายถึงการต่อสู้ทางชนชันระหว่างชนชันศักดินา                                                                            ้               ้กับชนชันกฎมพี(ชนชันกลาง)ที่เติบโตขึ ้นจากการพัฒนาของลัทธิทนนิยมและระบอบอุตสาหกรรม          ้ ุ             ้                                            ุตามสํานักมาร์ กซิสต์แล้ วไซร้ ข้ าฯในฐานะมุสลิมผู้ตํ่าต้ อยคนหนึ่งก็จ ะขอสรุปความตาม ‚วิวรณ์ธรรมปฏิพากย์‛ ว่าการการปฏิวติครังนีคือการต่อสู้และเข้ าแย่งชิงพืนที่อํานาจทางโลกของ ‚ลัทธิ                                    ั ้ ้                                ้ปฏิเสธพระเจ้ าใหม่‛ (Neo-Atheism) โดยคณะราษฎร( ในนามของประชาธิปไตย,ทุนนิยม,ชนชัน                    ้กลางซึ่ง ทัง หมดมี ฐ านมาจากปรั ช ญา Secularism ที่ ป ฏิ เ สธพระเจ้ าของยุโ รปยุค หลังปฏิวัติ              ้วิทยาศาสตร์ทงสิ ้น) แทนที่ ‚ลัทธิปฏิเสธพระเจ้ าเดิม‛ (Classical Atheism) ของชนชันศักดินาไทย                ั้                                                                    ้(ที่มาในนามของระบอบสมบูรณาญาสิท ธิราชย์ซึ่งยกกษั ตริ ย์เ ป็ นเทวะราชาหรื อกึ่ งเทพเจ้ ากึ่ งกษัตริ ย์) เหล่านีคื อการวิเ คราะห์ป ระวัติศาสตร์ ตามกรอบของ ‚วิวรณ์ธรรมปฏิพากย์ ‛ หรื อการ                   ้วิภาษประวัติศาสตร์ในเชิงอิสลามที่มีแกนเรื่อง (Theme) ของการวิเคราะห์ประวัติศาสตร์ อยู่ตรงที่การศรั ท ธาและการปฏิเ สธพระเจ้ าเป็ นหลัก ดัง นัน หาก คาร์ ล มาร์ ก ในฐานะบิ ดาแห่ง ลัท ธิ                                                        ้คอมมิวนิสต์ จะสรุ ปใน The Communist Manifesto ของเขาว่าประวัติศ าสตร์ ของมวลสังคมมนุษย์คือประวัติศาสตร์ของการต่อสู้ทางชนชัน เช่น เสรี ชนกับทาส ผู้ถูกกดขี่กับผู้กดขี่ ผู้ปกครอง                                                 ้กับประชาชนโดยมีวตถุ(เศรษฐกิจ)เป็ นปั จจัยสําคัญในการต่อสู้ นอกจากข้ าฯจะค้ านแล้ วข้ าฯจะ                      ัขอยื น ยัน ว่าการต่อสู้ของมวลมนุษ ย์ ใ นตลอดประวัติศาสตร์ ที่ผ่านมานั น คือการต่อสู้ที่ เ กิ ดขึน                                                                              ้                       ้ระหว่าง ‚ระบอบอัตลักษณ์‛ (Identity System) ของในแต่ละลัทธิแต่ละกลุ่มต่างๆเป็ นหลักทังสิ ้น     ้ระบอบอัตลักษณ์หมายถึงระบอบหนึ่งใดก็ตามที่ถูกหล่อหลอมขึ ้นจนเป็ นโครงสร้ างชัดเจนและมีเอกลักษณ์ที่บ่งบอกถึงตัวตนเฉพาะของมันตลอดจนมีความแตกต่างจากสิ่งอื่น โดยพื ้นฐานแล้ วสิ่งที่เราเรียกว่า ระบอบอัตลักษณ์ จะมีองค์ประกอบ 2 ประการคือ 1. ความเชื่อถือศรัทธาต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดอัน เป็ นนัยยะทางนามธรรมหรื อจิ ตนิย ม 2. วัตถุ อัน หมายถึ งผลประโยชน์ ที่ระบอบนัน ๆ        ้
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1
ทาส1

More Related Content

What's hot

หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)
หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)
หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)chuvub
 
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์Sarod Paichayonrittha
 
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)chuvub
 
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สายคู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สายPanda Jing
 
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tongsamut vorasan
 
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551Chao Chao
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) Chor Chang
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒Tongsamut vorasan
 
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓Tongsamut vorasan
 
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์opalz
 
Ebook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติ
Ebook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติEbook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติ
Ebook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติPanda Jing
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒Tongsamut vorasan
 
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
รายงาน คอป. ฉบับเต็ม
รายงาน คอป. ฉบับเต็มรายงาน คอป. ฉบับเต็ม
รายงาน คอป. ฉบับเต็มSanchai San
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์Tongsamut vorasan
 
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 

What's hot (20)

หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)
หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)
หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)
 
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
พุทธประวัติจากพระโอษฐ์
 
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
 
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สายคู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย
 
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
 
ติวOne tsocial
ติวOne tsocialติวOne tsocial
ติวOne tsocial
 
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
 
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
 
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
แนวการปฏิบัติและวัดประเมินผลการเรียนรู้2551
 
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559) แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
แผนพัฒนาเศรษฐกิจฉบับที่ 11 (พ.ศ.2555-2559)
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๑ วินัยปิฎกที่ ๐๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๒ วินัยปิฎกที่ ๐๒ มหาวิภังค์ ภาค ๒
 
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
 
การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์การพัฒนาเว็บไซต์
การพัฒนาเว็บไซต์
 
Ebook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติ
Ebook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติEbook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติ
Ebook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติ
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๗ วินัยปิฎกที่ ๐๗ จุลวรรค ภาค ๒
 
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
 
รายงาน คอป. ฉบับเต็ม
รายงาน คอป. ฉบับเต็มรายงาน คอป. ฉบับเต็ม
รายงาน คอป. ฉบับเต็ม
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
 
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 02+มหาวิภังค์+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 

Viewers also liked

การลงของอัลลอฮฺ
การลงของอัลลอฮฺการลงของอัลลอฮฺ
การลงของอัลลอฮฺMuttakeen Che-leah
 
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลามการทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลามMuttakeen Che-leah
 
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...Muttakeen Che-leah
 
คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่
คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่
คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่Muttakeen Che-leah
 
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็นพระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็นMuttakeen Che-leah
 
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอมเดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอมMuttakeen Che-leah
 
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่Muttakeen Che-leah
 
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือ
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือ
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือMuttakeen Che-leah
 
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผยเหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผยMuttakeen Che-leah
 
วิเคราะห์ความโอ้อวด
วิเคราะห์ความโอ้อวดวิเคราะห์ความโอ้อวด
วิเคราะห์ความโอ้อวดMuttakeen Che-leah
 
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริงแนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริงMuttakeen Che-leah
 
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc  เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc Muttakeen Che-leah
 
การเวียนว่ายตายเกิด
การเวียนว่ายตายเกิดการเวียนว่ายตายเกิด
การเวียนว่ายตายเกิดMuttakeen Che-leah
 
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Completeถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ CompleteMuttakeen Che-leah
 

Viewers also liked (19)

การลงของอัลลอฮฺ
การลงของอัลลอฮฺการลงของอัลลอฮฺ
การลงของอัลลอฮฺ
 
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลามการทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
 
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
 
Pramote maolid
Pramote maolidPramote maolid
Pramote maolid
 
คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่
คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่
คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่
 
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็นพระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
 
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอมเดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม
 
Al kafi
Al kafiAl kafi
Al kafi
 
Bidah
BidahBidah
Bidah
 
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่
 
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือ
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือ
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือ
 
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผยเหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
 
ค็อฏฏ๊อบ.Doc
 ค็อฏฏ๊อบ.Doc  ค็อฏฏ๊อบ.Doc
ค็อฏฏ๊อบ.Doc
 
Radd qardjed
Radd qardjedRadd qardjed
Radd qardjed
 
วิเคราะห์ความโอ้อวด
วิเคราะห์ความโอ้อวดวิเคราะห์ความโอ้อวด
วิเคราะห์ความโอ้อวด
 
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริงแนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
 
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc  เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 
การเวียนว่ายตายเกิด
การเวียนว่ายตายเกิดการเวียนว่ายตายเกิด
การเวียนว่ายตายเกิด
 
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Completeถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
 

More from Muttakeen Che-leah

เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc  เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc Muttakeen Che-leah
 
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกดวิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกดMuttakeen Che-leah
 
วิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษวิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษMuttakeen Che-leah
 
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัย
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัยลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัย
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัยMuttakeen Che-leah
 
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์Muttakeen Che-leah
 
แผนที่ตรรกะ
แผนที่ตรรกะแผนที่ตรรกะ
แผนที่ตรรกะMuttakeen Che-leah
 
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรมตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรมMuttakeen Che-leah
 
ตรรก และ เหตุผลวิบัติ
ตรรก และ เหตุผลวิบัติตรรก และ เหตุผลวิบัติ
ตรรก และ เหตุผลวิบัติMuttakeen Che-leah
 
เล่ห์ชัยฏอน
เล่ห์ชัยฏอนเล่ห์ชัยฏอน
เล่ห์ชัยฏอนMuttakeen Che-leah
 
ถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสMuttakeen Che-leah
 
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษแนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษMuttakeen Che-leah
 

More from Muttakeen Che-leah (16)

ทุกศาสนา
ทุกศาสนาทุกศาสนา
ทุกศาสนา
 
Al kafi
Al kafiAl kafi
Al kafi
 
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc  เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกดวิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
 
วิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษวิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษ
 
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัย
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัยลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัย
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัย
 
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
 
แผนที่ตรรกะ
แผนที่ตรรกะแผนที่ตรรกะ
แผนที่ตรรกะ
 
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรมตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
 
ตรรก และ เหตุผลวิบัติ
ตรรก และ เหตุผลวิบัติตรรก และ เหตุผลวิบัติ
ตรรก และ เหตุผลวิบัติ
 
Names list of_logical_fallacy
Names list of_logical_fallacyNames list of_logical_fallacy
Names list of_logical_fallacy
 
Guide of association
Guide of associationGuide of association
Guide of association
 
เล่ห์ชัยฏอน
เล่ห์ชัยฏอนเล่ห์ชัยฏอน
เล่ห์ชัยฏอน
 
ถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีส
 
Pramote tarorveah
Pramote tarorveahPramote tarorveah
Pramote tarorveah
 
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษแนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
 

ทาส1

  • 1. ~1~
  • 2. ~2~
  • 3. ~3~“สิ่งที่ข้าพเจ้ าเชื่ออย่างมันใจก็คือความจริ งที่วาระบอบทาสในหมูชาวมุสลิมนัน ่ ่ ่ ้ ดีกว่าระบอบทาสที่ปรากฏอยูในหมูชนอื่นหมูชนใดทังหมด” ่ ่ ่ ้ กุสตาฟ เลอบอง (1841-1931)
  • 4. ~4~ สารบัญปฐมบทแห่ งการปลดแอก 5บทที่ 2 มายาคติทาสแห่ งโลกตะวันตก 39บทที่ 3 ทาสในกฎหมายอิสลาม 94ปั จฉิมวจี 195บรรณานุกรม 207
  • 5. ~5~ ปฐมบทแห่ งการปลดแอก ‫بِسـم اهللِ الرْحَـن الرحـِْيم‬ ِ َّ ِ ْ َّ ِْ ِ ِ ِ ‫اَْلَمد هللِ الْقائِل َب تِاَابِِ اااَلْيَـمم أَتمْت ُ لَمم دنْـكَمم أأََمَم ُ لتَْيمم عِممْى أريْي ُ لَمم‬ ِ ُُ ََ ْ َ ْ ْ ُ َ ْ ْ َ ْ ُ ْ ُ َ ْ َْ ْ ِ َ ُْْ ِ ‫اْإلسالَم دنْـكًا))، أالصالَةُ أالسالَم لتَى عَبِيِّ ِ الْقائِل ااإِنَّاتم أُمدثَات اْألُممر فَِإن شراْألُممر‬ ِ ُ َّ َ َّ ِ ُ ِ َ ُْ ُ ْ ْ َْ ِ َ َ ُ َّ َ َّ َ َ ِْ ‫ُمدثَاتُها))، ألتَى آلِِ أصحبِ ِ أمن تَبِع هدنَ ُ أأاالَهُ أَما بَـمد‬ ُ ْ َّ ََ ْ َ َ ْ َ َ ْ َ َ ََ َ ‫ُْ َ ـ‬ ประวัติ ศ าสตร์ คื อหนึ่งในสาขาวิช าที่ ถูก จัดแจงอยู่ใ นศาสตร์ แขนงมนุษ ยศาสตร์ และสังคมศาสตร์ อันเป็ นลัก ษณะวิธีการแบ่งประเภทแห่งองค์ความรู้ ของมนุษ ย์ที่ สะท้ อนถึ งมายาอิท ธิ พลแห่ งลัท ธิ Secularism (ฆราวาสนิ ย ม) ซึ่ง ทํ าการตัดผ่าความสัมพัน ธ์ แห่งองค์ความรู้ระหว่างฝ่ ายศาสนจักรกับฆราวาสออกจากกันโดยสิ ้นเชิงตามคติโลกทัศน์ของระบอบดังกล่าวเพราะฉะนันการศึกษาประวัติศาสตร์อนมีคํานิยามทางวิชาการว่าหมายถึงการศึกษาถึงพัฒนาการ ้ ัของมนุษย์และสังคมโลกอันมีมนุษย์เป็ นศูนย์กลางแห่งการศึกษาตามเจตคติของสํานักคิดสายนี ้จึงมีเปาหมายแห่งการศึกษาที่เป็ นไปเพียงเพื่อ ‚โลกแห่งฆราวาส‛ เท่านัน บทสรุปแห่งการศึกษา ้ ้ประวัติศาสตร์ ของมนุษยชาติที่ ถูกครอบงําผ่านปรัชญาแขนงนี ก็คืออุบาทว์การณ์ เดียวกันกับ ที่ ้วิท ยาศาสตร์ ถูก กระทํ า มานั่ น คื อ การเขี่ ย ศาสนาออกจากสารบบการศึก ษาและตี ก รอบให้ประวัติศาสตร์เป็ นเพียง ‚ศาสตร์ ‛ ที่ศกษาเรื่องราวของมนุษย์, ‚เพื่อ‛ มนุษย์และโดยมนุษย์เท่านัน ึ ้อันหมายความเป็ นนัยว่าพระเจ้ ามิอาจแทรกแซงประวัติศาสตร์ ของมวลมนุษยชาติเฉกเช่นที่นักปรัชญาในอดีตเชื่อถือกันได้ อีก อุดมคติศาสตร์ของมันจึงดํารงสถานภาพในฐานะองค์ความรู้ที่คอยบอกยํ า ถึ ง ความผิ ด พลาดของมนุษ ย์ ใ นอดี ต กาลเพื่ อ ป องกัน ประวัติ ศ าสตร์ ‚ซํ า รอย‛ ของ ้ ้ ้มนุษยชาติอีกครังคราหน้ กระนันก็ดีการขาด ‚แรงจูงใจ‛ อันเป็ นปรมัตถ์(ความจริ งสัมบูรณ์ -The Ultimate Truth) ้ของปรัชญาประวัติศาสตร์โลกีย์นี ้ได้ พิสจน์ถึงความผิดพลาดในรากฐานแห่งปรัชญาของพวกเขา ูอุดมคติศาสตร์ที่วาประวัติศาสตร์คือสิ่งที่บอกบ่งและปองกันความผิดพลาดซํ ้าซากของมนุษยชาติ ่ ้ในอดีตกลับกลายมาเป็ นเพียงอุดมการณ์อนไร้ ซึ่ง ‚อาภาส‛ ปาน ‚วิมานในอากาศ‛ ของการศึกษา ัที่ห่างไกลจากโลกแห่งความจริ ง หายนะแห่งสงครามโลกครังที่ ๑ ได้ บอกกล่าวถึงความวินาศ ้ร้ ายแรงของมนุษยชาติ แต่กลับมิอาจปองกันหายนะที่อาจเกิดขึ ้นซํารอยเดิมได้ อีก ในเพียงไม่กี่ปี ้ ้ต่อมา สงครามโลกครังที่ ๒ จึงอุบติขึ ้นคล้ ายจะตอกยํ ้าการล่มสลายของปรัชญาประวัติศาสตร์ ใน ้ ัแบบ Secularism ที่แบ่งสันแยกส่วนปวงองค์ความรู้เ ดิมของมนุษยชาติออกจากกันตามแบบกระบวนการผลิตประเภทแบ่งงานกันทําของลัทธิเศรษฐกิจกาลีโลกอย่างทุนนิยม นักวิทยาศาสตร์จึงได้ ถูกแยกออกจากนัก ปรัช ญา, นักประวัติศาสตร์ จึงได้ ถูก แยกออกจากนัก การศาสนา วิช า
  • 6. ~6~ประวัติศาสตร์จึงได้ เคยถูกประกาศให้ ถึงจุดจบของการศึกษาเสียทีเนื่องจากไม่ช่วยเหลือเจือจุนมนุษยชาติจากความหลงผิดรวมถึงไม่ช่วยสรรสร้ างอารยะสังคมใดๆได้ อีก อิสลามอันเป็ น ‚ระบอบวิถีสมบูรณ์ ‛ (Absolute System) ที่เ ป็ นเหนื อกว่าสถานะของ ัความเชื่อทางศาสนาได้ หล่อหลอมองค์รวมแห่งความรู้, การดําเนินชีวิตและวิถีก ารเมืองตลอดจนเศรษฐกิจของมวลมนุษย์เข้ าอยู่ภายใต้ ร่มธงแห่ง ‚เอกภาพ‛ ของพระผู้เป็ นเจ้ า (Oneness of God)ดังนันการศึกษาประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติตามปรัชญาของอิสลามจึงมิอาจแยกส่วนออกจาก ้ศาสนาได้ อย่างเด็ดขาด ในทางกลับกันความเข้ าใจอันถ่องแท้ ในประวัติศาสตร์จะก่อผลให้ เกิดองค์ความรู้ที่สมบูรณ์ตอศาสนาโดยตรง ดังที่เราจะพบว่าภายใต้ การศึกษาอิสลามนัน ประวัติศาสตร์จะ ่ ้เข้ าไปเป็ นกลไกแห่งความรู้ของอิสลามทังในวิชา ‚ซิเราะฮฺ ‛,ตัฟซีร,หะดีษและแม้ กระทั่งวิชาอากี ้ดะฮฺ (Theology) เองก็ ต าม ความแตกต่างของอิสลามกับ ปรัช ญาประวัติศาสตร์ (HistoricalPhilosophy) ของพวกฆราวาสนิย มจึงมีหัวใจสําคัญอยู่ตรงเปาหมายของการศึกษา กล่าวคือ ้สําหรับอิสลามแล้ วการศึกษาประวัติศาสตร์ล้วนเป็ นไปเพื่อสนองรับเจตนารมณ์ของพระผู้เป็ นเจ้ าเป็ นการศึกษาว่าด้ วยเรื่องพัฒนาการของมนุษย์ที่มีเปาหมายสูงสุดเพื่อการเสริ มสร้ างศรั ทธาและ ้ความยําเกรงของมวลมนุษย์ตอพระองค์ตลอดจนยืนยันถึงความเป็ นหนึ่งเดียวในพลานุภาพแห่ง ่ผองจัก รวาลที่ ปวงสรรพสิ่งต่างอาศัย อยู่ใ นร่ มเงาของพระองค์ ดังที่ พระองค์ได้ ทรงบัญ ชาผองมนุษย์ให้ ออกเดินทางเพื่อศึกษาร่องรอยความหายนะของมนุษยชาติตลอดในหน้ าประวัติศาสตร์(3:137) เพื่อที่มนุษย์จะได้ เรี ยนรู้ถึงความหลงผิดของบุคคลในอดีตพร้ อมนําบทเรี ยนเหล่านันไป ้สานสูความเคารพภักดีตอพระองค์ (29:20) เปาหมายของการศึกษาประวัติศาสตร์ ในปรัชญาของ ่ ่ ้อิสลามจึงเป็ นไปเพื่อความศรัทธาอย่างแท้ จริ งและนี่คืออุดมการณ์เชิงประวัติศาสตร์ (HistoricalIdeology) อันเป็ นปรมัตถ์ของประชาชาตินี ้ เป็ นประวัติศาสตร์ ที่มิได้ มีจุดหมายปลายทางแห่งการศึกษาเพื่อการรู้จกมนุษย์เพียงอย่างเดียว หากแต่มีปลายทางเพื่อการศรัทธาในพระเจ้ า เป็ น ัประวัติศ าสตร์ เ พื่ อพระเจ้ าอย่ า งแท้ จ ริ ง เป็ นการกระทํ าที่ อยู่ใ นกรอบคิดแห่ง “เอกพฤตินัย ”1(Tawheed of Action) และ ‚เอกวิทยา‛ (Tawheed of Knowledge) ที่ทุกก้ าวกระบวนของการขับเคลื่อนองค์ความรู้นนจะถูกย้ อนกลับไปยังพระเป็ นเจ้ าเพื่อสัตย์ปฏิญาณถึงความเกรียงไกรของ ั้พระองค์เพียงผู้เดียวเท่านัน ้ แต่แม้ กระนันก็ตาม! ไม่ว่าผองความรู้และปรัชญาในด้ านประวัติศ าสตร์ ของอิสลามจะ ้วิเศษวิโรจกันปานใด การเสริ มสร้ างความรู้ทางประวัติศาสตร์ อย่างลึกซึงให้ แก่เยาวชนมุสลิมใน ้ระดับที่จะกลายเป็ นพลังทางความคิดความเคลื่อนไหวของพวกเขานัน กลับดุจราวความรู้ที่ไร้ ซึ่ง ้1 หลักคิดประการนี ้ท่านผู้อ่านสามารถศึกษาเพิ่มเติมได้ ในหนังสือของกลุ่มอัซซาบิกูนชื่อว่า ‚เอกพฤตินัย‛ เขียนโดย ท่านชัยคุลมุญาฮิดีน อับดุลลอฮฺอซซาม แปลโดย สหายบัยตุลอันศอร หาอ่านได้ ที่ www.baitulansar.info ั
  • 7. ~7~คุณค่าทางจิตวิทยามากที่สด ลักษณะวิธีการศึกษาประวัติศาสตร์ ของอิสลามตามที่เห็นกันอยู่ใน ุหน้ าหนังสือต่างๆทุกวันนีกลับมีลกษณะที่หยาบกร้ านและไร้ สีสนที่สด กล่าวอีกนัยหนึ่งก็คือเรา ้ ั ั ุปราศจากสิ่งที่เ ป็ น ‚ทฤษฎี ‛ (Theory) ที่ หลากหลายในการใช้ วิภาษและศึกษาประวัติศาสตร์อิส ลามให้ เกิ ด สี สัน และดูน่ า สนใจเพื่ อ สร้ างคํ า อธิ บ ายที่ ห ลากหลายต่อ การเปลี่ ย นผ่า นในประวัติศาสตร์ อิสลาม เนื่องจากทฤษฎีทุกชนิดคือกรอบคิดที่มีลกษณะเฉพาะตนในการอธิบาย ัเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์หนึ่งใดได้ แตกต่างกันไปตามอัตภาพของแต่ละทฤษฎีจะกระทําได้ แต่ดังที่กล่าวไปแล้ วว่าโดยมากของการศึกษาประวัติศาสตร์อิสลามจะเป็ นการเล่าเรื่ องไปเรื่ อยเปื่ อยเหมือนเส้ นตรงหรื อเส้ นขนานว่าคนนันทําอย่างไร คนนีเ้ ป็ นแบบไหน หรื ออาจจะกล่าวได้ ว่าเป็ น ้ประวัติสาสตร์ที่ถกมองจากนักวิชาการตะวันตกในรูปของประวัติศาสตร์ ที่มีจุดเริ่ มต้ นและจุดจบ ูตายตัว มากกว่าจะเป็ นประวัติศาสตร์ ที่เสริ มสร้ างพลังทางความคิดเชิงอิสลามแก่เยาวชน ทังที่ ้ประวัติศาสตร์คือวิชาที่มีพลังในการผลักดันการต่อสู้ทางการเมืองในระดับสูงมาโดยตลอด บรรดานักปกครองและนักปฏิวติทังดีและชั่วบนบรรณพิ ภพนี ต่างก็ เคยใช้ ประวัติศาสตร์ เป็ นอาวุธทาง ั ้ ้การเมืองเพื่ อกระตุ้น การขับ เคลื่อนของมวลชนมาแล้ วทังสิน ดังที่ อดอล์ฟ ฮิ ต เลอร์ แห่งนาซี ้ ้เยอรมันเคยใช้ ประวัติศาสตร์ชาติพนธุ์วาด้ วยชนอารยันในการระดมคนเยอรมันเพื่อการกวาดล้ าง ั ่ชนชาติยิว หรือแม้ กระทังการที่พวกยิวไซออนิสต์ใช้ ประวัติศาสตร์ เพื่อตบตาชาวโลกให้ สนับสนุน ่ขบวนการของพวกเขาที่ได้ ทําการเบียดเบียนชีวิตของชาวปาเลสไตน์ ซึ่งนับว่าน่ าเศร้ าใจมากที่ประวัติศาสตร์อนยาวนานของประชาชาติอิสลามกลับไม่ถูกนํามาเป็ นพลังการต่อสู้ทางการเมือง ัโดยเฉพาะในกาลปั จ จุบัน ที่ โลกกํ าลังอธรรมต่ออิสลามจากวาทกรรมเรื่ อง ‚ลัท ธิ ก่ อการร้ าย‛(Terrorism) ทังที่หากเราพิจารณากระบวนการศึกษาประวัติศาสตร์ ของกลุ่มอื่นๆที่โลกให้ ความ ้สนใจกัน เช่น ลัทธิมาร์ก เราจะพบว่ากรอบคิดทางประวัติศาสตร์ของมาร์กซิสต์ (Marxism) มีเพียงแค่เรื่องของเศรษฐกิจและการต่อสู้ทางชนชันเท่านันโดยปฏิเสธอิทธิพลของจิตโดยสิ ้นเชิง แต่ไฉน ้ ้เลยกรอบคิด อัน จํากัด ดังกล่าวนีจึงกลับกลายมาเป็ นพลังทางความคิดแก่เ ยาวชนหนุ่ มสาวใน ้ศตวรรษที่ 20 ที่ทรงพลังที่สดจนผลักดันโลกให้ เกิดการปฏิวติ, สงครามปลดแอกประชาชนผู้ยากไร้ ุ ัและพลังทางการเมืองที่แบ่งขัวโลกทังสองออกจากกันได้ อย่างน่าทึ่ง แต่ในทางกลับกันกรอบคิด ้ ้ทางประวัติศาสตร์ของอิสลามแม้ จะมีกรอบคิดมากมายหลายแขนงไม่วาจะ การต่อสูระหว่างความ ่ ้จริ งกับความเท็จ(อิ สลามและอื่นๆ),การต่อสูระหว่างศรัทธาและปฏิ เสธ,การต่อสูกบความงมงายใน ้ ้ ัอารยธรรมเจว็ดของมนุษยชาติ ,ปรัชญาเศรษฐกิ จแบบอิ สลาม,กฎหมายและหลักความยุติธรรมในทัศนะอิ สลาม,การปกครองและรัฐอิ สลาม ฯลฯ ทังหมดนีกลับกลายเป็ นเรื่ องมหัศจรรย์ของมหา ้ ้จักรวาลมากที่ประชาชาติอิสลามมีฐานความคิดมากมายแต่กลับไม่มีส่วนร่วมในการจัดระเบียบโลกแม้ กระทังการเสนอความคิดในทางปรัชญาประวัติศาสตร์เอาเสียเลย การต่อสู้ทางความคิดใน ่ปั จจุบนที่มีกระแส ‚อิสลามานุวตร‛ (Islamization = กระบวนการทําทุกอย่างให้ เป็ นอิสลาม)เป็ น ั ั
  • 8. ~8~ตัวชี ้นําในระดับสามารถที่จะเขย่าปรัชญาตะวันตกก็ยงจัดว่าน้ อย,สงครามญิฮาดเพื่อการปลดแอก ัมุสลิมที่ถกกดขี่ก็แทบไม่ต้องพูดถึง(ทังที่ประวัติศาสตร์อิสลามกลับถูกจารึกด้ วยเลือดของชุฮะดะอฺ ู ้ทังสิ ้น-อัมตะวาทะของเชคอับดุลลอฮฺ อัซซาม) ,การแบ่งโลกออกเป็ นสองค่ายคือค่ายแห่งความ ้ศรัทธาและค่ายแห่งการปฏิเสธก็หายต๋อมเป็ นสุญญากาศ(ทังที่มสลิมเคยมีอาณาจักรอิสลามที่ ้ ุกําราบมหาอํานาจค่ายปฏิเสธอย่างโรมันและเปอร์เซียมาแล้ วในอดีต) และที่เล่นเอาข้ าฯต้ องอยากมุดดินแทรกหนีลี ้หายไปจากผู้คนสักครังคราวก็คือ นอกจากกลุ่มกิจกรรมตามแนวทางสังคมนิยม ้หรือลัทธิมาร์กจะตีความคําว่า ‚สิทธิสตรี ‛ สลับขัวกับนิยามของฝ่ ายประชาธิปไตยแล้ วพวกเขายัง ้มองการเปลือยเปล่าอวดเรื อนร่ างของสตรี ว่าหมายถึงการกดขี่ต่อสตรี เพศและสตรี แห่งชนชัน ้กรรมาชีพ(มิใช่เรื่องของศีลธรรม) แรงขับเคลื่อนในแนวคิดสตรีของพวกเขาสามารถทําให้ ช่วงหนึ่งของการประกวดนางงามในหน้ าประวัติศาสตร์ไทยต้ องประสบภาวะวิกฤติจนเกือบสูญหายไปจากสังคมเพราะถูกพิษสังคมนิยมต่อต้ าน และข่าวล่าสุดที่ข้าฯได้ รับมาว่าในช่วงที่โลกกําลังรื่ นเริ งไปกับด้ วยเทศกาลบอลโลก (ค.ศ.2010) ชาติมสลิมต่างๆอย่าง อินโดนีเซียและตุรกีกลับส่งนางงาม ุโง่ๆเข้ าประกวด ในขณะชาติคอมมิวนิสต์อย่างเกาหลีใต้ กลับปฏิเสธการส่งสตรี เข้ าร่วมกิจกรรมวิตถารนี ้ด้ วยเหตุผลว่ามันเป็ นกิจกรรมจากกระบวยกลของทุนนิยมโสโครกนันเอง!!!? และสิ่งที่เล่น ่เอาข้ าฯต้ องแทบแทรกแผ่นดินหนีก็จากคําถามซึ่งอาจารย์ของข้ าฯผู้ถือมันในลัทธิสงคมนิยมได้ ่ ัถามข้ าฯว่า ‚ทังที่มสลิ มมี ทงบัญญัติเรื่ องแต่งกายสตรี ที่เข้มงวดมากแต่ทาไมพวก Activists (นัก ้ ุ ั้กิ จกรรม) ในวงการมุสลิ มจึงไม่สามารถปลุกระดมให้มสลิ มใช้สิทธิ ของพลเมืองไทยประท้วงต่อต้าน ุการประกวดนางสาวไทยหรื อแม้กระทังการประกวดระดับโลก ?‛ ถ้ าท่านเป็ นข้ าฯท่านจะตอบเขา ่อย่างไรหรือ?? โอ้ มสลิมทังหลาย ุ ้ ‚ปวงเขา เบา‘ศรัทธา’ กลับยาตราท้ามารยล ปวงเรา‘ศรัทธาชน’ มิ วายพ้นจนปากรู ‛ นี่คือพวกเรา! ที่มีปรัชญาคําสอนทางศาสนาอย่างวิโรจโสตประสาทแต่กลับส่งผลต่อการจัดระเบีย บสังคมได้ น้อยมาก ผลแห่งความอัปยศที่เ กิดขึนเหล่านีล้วนหาใช่เกิดจากการที่ เรามี ้ ้ปรัชญาแห่งคําสอนที่ออนด้ อยไร้ สีสนอุดมการณ์ หากแต่รากฐานของปั ญหามาจากการขาดการ ่ ัสอนอิสลามในเชิงอุดมการณ์อย่างเพียงพอที่จะเป็ นพลังทางความคิดแก่วิญํูชน พูดอีกนัยหนึ่งก็คือ โลกอิสลามขาดการสอนอิสลามอย่างเป็ น ‚วิทยาศาสตร์‛ มาอย่างช้ านานแล้ วว่าอิสลามดีและเจ๋งกว่าชาวบ้ านเขา (ทุนนิยม,ประชาธิปไตย,สังคมนิยม) อย่างไร ?และระบอบของคนอื่นเขากดขี่รังแกเพื่อนมนุษย์อย่างไร ? คําว่าศึกษาอย่างเป็ นวิทยาศาสตร์ หมายถึงการนําเสนอสมมุติฐานและทําการตรวจสอบ,วิจย,วิพากษ์ หรือพิสจน์ให้ เห็นในเชิงประจักษ์ วามัน ‚จริง‛ ดังที่ คาร์ ล มาร์ ก ั ู ่
  • 9. ~9~ได้ ชี ้ให้ เห็นถึงระบอบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมว่าเลวร้ ายอย่างไร ? จากทฤษฎี ‚มูลค่าส่วนเกิน‛ อันลือลันของเขา แล้ วประชาชาติอิสลามของเราล่ะเชื่อว่าระบอบเศรษฐกิจแบบอิสลามที่ห้ามดอกเบี ้ย ่อนุญาตกําไรและมีแนวทางซะกาตดีกว่าของชาวบ้ านเขาแต่ก็ยงขาดนักคิดของโลกมุสลิมที่จะมา ัอธิ บายบอกชาวโลกว่าเศรษฐกิ จของอิสลามดีกว่าทุน นิย มในระดับที่ สามารถสะเทื อนโลกได้ 2ปั ญหาดังที่เอ่ยมานีจึงเป็ นผลมาจากปั ญหาในทาง ‚ปั ญ ญา‛ ของมุสลิม เมื่อสภาพการณ์ เป็ น ้เช่นนี ้หนทางเดียวที่จะสามารถ ‚ปฏิวติปัญญา‛ ของมวลมุสลิมจนก่อกระแสการต่อสู้ทางความคิด ัระหว่างอุดมการณ์อิสลามกับอนารยะชน (Barbarians) ในนามอื่นๆชนิดที่จะเกิดผลที่สดก็คือการ ุปฏิวติท างการศึก ษาในวงวิช าการอิสลามที่จํ าต้ องสลัดมวลมุสลิมออกจากปลักแห่ง ‚นกแก้ ว ันกขุนทอง‛ หรื อกระบวนการคิดที่ล้าหลังไม่เป็ นตรรกะ (Non-Logical Thinking) ตลอดจนการนิยมในอัตลักษณ์กลุมชนพวกพ้ องของตนเองว่าฉันคืออิควานคือสะละฟี ย์คือฮะฎอรี ย์อย่างมืดมัว ่ตาบอดจนขาดอิสรภาพทางความคิดของตนเองในการรับใช้ อิสลามซึ่งในทรรศนะของข้ าพเจ้ าแล้ วพิจารณาว่านอกเหนือจากวิชาการอิสลามที่มวลมุสลิมจําต้ องเรียนนันพวกเขายังต้ องเรี ยนศาสตร์ ้เหล่านี ้เพื่อการพัฒนาประชาชาติอิสลามโดยเฉพาะในหมูนกเผยแพร่อิสลาม ่ ั 1. วิชาตรรกะวิทยา (Logical Science) ความรู้ของวิชาดังกล่าวนี ้จะช่วยชําระความมืดบอดในทางความคิดต่างๆซึ่งแฝงตัวอยู่ในจิตใจของมวลมุสลิม ทังยังจะเป็ นวิชาที่คอยขัด ้เกลาให้ ปัญญาชนมุสลิมรู้จักถึงวิธีของการอนุมานและให้ เหตุผลที่ถูกต้ องและยุติธรรม ปฏิเสธไม่ได้ เลยว่าส่วนหนึ่งของความวุนวายขัดแย้ งในสังคมมุสลิมนันก็ล้วนเป็ นผลมาจากการปราศจาก ่ ้การใช้ เหตุผลที่ดีเพียงพอในการจัดการปั ญหาความขัดแย้ งซึ่งกระบวนการดังกล่าวจะเกิดขึ ้นได้ ก็ต่อเมื่อมีการเรี ยนรู้ต รรกะ นอกเหนื อจากนีแล้ วตรรกะวิท ยายังใช้ เ ป็ นอาวุธอันทรงพลังในการ ้ปกปองและอธิบายถึงสัจธรรมของอิสลามในกาลปั จจุบน แม้ กระทั่งกับคําถามที่แสนยากเย็นเช่น ้ ัใครสร้ างอัล ลอฮฺ เราก็ จ ะพบว่าตรรกะสามารถช่ว ยมุส ลิมให้ ต อบคํ าถามนี ไ้ ด้ อ ย่ างง่ายดายเพราะฉะนันความคิดล้ าหลังที่วาตรรกะคือวิชาที่หะรอมต้ องห้ ามอันเป็ นผลมาจากการใช้ ขนตอน ้ ่ ั้ทางตรรกะที่ผิดพลาดหรื อไม่สมบูรณ์ของอุลามาอ์โลกมุสลิมในอดีตจึงควรที่จะต้ องปั ดทิงความ ้เข้ าใจครํ่าครึดงกล่าวนี ้เสียใหม่ ั2 แต่ก็ยงนับว่าดีที่กระแสการฟื นฟูอิสลามภายใต้ วาทกรรมทางปั ญญาที่ว่า ‚อิสลามานุวัตร‛ (Islamization) ใน ั ้รอบหลายทศวรรษมานี ้ได้ สงผลต่อการเปลียนแปลงอย่างเป็ นรูปธรรมขึ ้นในโลกจนก่อเกิดภาวะปฏิ กิริยาจากฝ่ าย ่ ่ตรงข้ ามที่ ต่ อ ต้ านโลกอิ ส ลามในระดั บ ที่ ใ กล้ ก้ าวไปถึง การต่ อ สู้ท างความคิ ด แล้ ว ตั ว อย่ า งเช่ น ปรั ช ญาวิทยาศาสตร์ ของยุโรปที่อยู่บนฐานของการปฏิเสธพระเจ้ าตามลัทธิดาร์ วิน (Darwinism) มาหลายศตวรรษได้ ถูกสันสะเทือนและพิสจน์ว่า ‚เทียม‛ ภายหลังกระแส ‚วิทยาศาสตร์ อิสลาม‛ (Islamic Science) เติบโตขึ ้น การมา ่ ูของท่านฮารูน ยะหฺยาและทีมงานวิจยของเขาได้ สงผลให้ เกิดการต่อต้ านวิทยาศาสตร์ อิสลามเพื่อปกปองทฤษฎี ั ่ ้โบราณเหล่านั ้น ดังที่ปรากฏว่ารัฐบาลอังกฤษและฝรั่งเศสสังห้ ามหนังสือของท่านเข้ าประเทศ ่
  • 10. ~ 10 ~ 2. วิชาปรัชญา (Philosophy) ปรัชญาคือวิชาที่วาด้ วยการศึกษาความคิดและกฎเกณฑ์ ่ทางความรู้ตางๆที่นกปรัชญาในอดีตได้ ปพื ้นวางไว้ การศึกษาวิชาดังกล่าวนีมิได้ หมายความว่าให้ ่ ั ู ้เราทําการศึกษาเพื่อที่จะได้ หลงใหลหรือเชื่อตามปรัชญาดังกล่าวนัน เพราะในความเป็ นจริ งแล้ ว ้ปรัชญาแตกต่างจากตรรกะตรงที่ปรัชญาคือวิชาที่หาความชัดเจนและคําตอบตายตัวของแต่ ละปั ญหาไม่ได้ ในขณะที่ตรรกะคื อกระบวนการหาความจริ งสูงสุด หากแต่การศึกษาปรัชญานัน ก็ ้เพียงเพื่อที่จะรับทราบถึงความคิดพื ้นฐานของชาวตะวันตกและตะวันออกอันเป็ นความคิดที่ เป็ นขัว ้ตรงข้ ามกับอิสลาม กล่าวคือทุกความคิดนอกรี ตในยุคสมัยของเรานีไ้ ม่ว่าจะเป็ น ฆราวาสนิยม,สตรี นิยม,วัตถุนิยมหรือแม้ แต่ Post Modern เองต่างล้ วนแล้ วผ่านขันตอนของการเป็ นปรัชญามา ้ก่อนทังสิ ้น ดังนันการต่อสู้กบความคิดเหล่านี ้จะไม่อาจบรรลุผลสําเร็จได้ หากเราไร้ ซึ่งความรู้ในทาง ้ ้ ัปรัชญา เพราะปรัชญาจะเป็ นความรู้ที่ทําให้ เรารู้ถึงความคิดมูลฐานและช่องโหว่ของลัท ธิเหล่านี ้ได้อย่างดี และตรรกะวิทยาจะเป็ นอาวุธที่คอยประหัตประหารปรัชญาที่เป็ นขัวตรงข้ ามกับอิสลามอีก ้ขันตอนหนึ่ง ้ 3. สังคมศาสตร์ (Social Science) การศึกษาวิชาสังคมศาสตร์ จะช่วยหล่อหลอมโลกทัศน์ของชาวมุสลิมให้ อยู่ในรูปแบบที่สมบูรณ์ยิ่งขึ ้น การศึกษาศาสตร์ ในแขนงนีจะทําให้ บรรดา ้เยาวชนมุสลิมเกิดอุดมการณ์ที่จะรับใช้ ศาสนาและประชาคมมุสลิม เพราะแม้ ว่าในบางส่วนของศาสตร์แขนงนี ้จะมีปรัชญาที่เป็ นพิษภัยต่ออิสลามในการศึกษาแต่โดยภาพรวมแล้ วสังคมศาสตร์คือวิชาที่มีกระบวนการในการขัดเกลาให้ ผ้ ศึกษาเกิดอุดมการณ์ของการทํางานเสียสละหรื อ ‚จิต ูสาธารณะ‛ ที่จะรับใช้ ประชาชนผู้ทกข์ยาก การที่ประชาชนคนต่างศาสนิกมักต่อขานชาวมุสลิมว่า ุเป็ นชนที่ เ ห็ น แก่ ต ั ว นั น ก็ สื บ เนื่ อ งจากการที่ สั ง คมมุ ส ลิ ม ปราศจากการทํ า งานบริ การ ้สาธารณประโยชน์แก่มวลมนุษย์ การที่สงคมมุสลิมในยุคปั จจุบันว่างเว้ นจากผู้ร้ ูที่จะคอยลุกขึ ้น ัต่อสู้กบทรราชเพื่อสิทธิประโยชน์ของประชาชนนันก็สืบเนื่องจากเหล่าผู้ร้ ูอิสลามปราศจากความ ั ้เข้ าใจอันถ่องแท้ ตอศาสตร์แขนงนี ้ พวกเขาเหล่านันเพียงแต่ศกษาวิชาการศาสนาอย่างซังกะตาย ่ ้ ึและท้ ายที่สดก็เป็ นเพียงชนชันที่เห็นแก่ตวซึ่งคอยตักตวงผลประโยชน์ของเม็ดเงินในองค์ กรศาสนา ุ ้ ัหนําซํ ้ายังวางตัวเป็ นชนชันกลาง-สูงในสังคมที่ประชาชนตาดําๆจะเข้ าถึงก็ยากเย็นแสนเข็ญเป็ น ้หนัก หนา ซึ่ง แตกต่า งจากพวกชี อ ะฮฺ รอฟิ เฎาะฮฺ ที่ ผ้ ร้ ู ของพวกเขาต่างรํ่ า เรี ย นความรู้ ในด้ า น ูสังคมศาสตร์อย่างขะมักเขม้ นแล้ วก็นําไปประยุกต์กบลัทธิของพวกเขาอย่างลงตัว เราจึงพบผู้ร้ ูของ ัพวกเขาที่คอยเป็ นกระบอกเสียงแก่ประชาชนมาตลอด ในอิรัคภายใต้ การกดขี่ของซัดดาม อัลลามะฮฺมุฮัมมัด บาเก็ ร ศ็อดรฺ ได้ ต่อสู้ร่วมกับประชาชนจนตนเองต้ องเสียชี พไปในที่ สด ในอิหร่ าน ุดร.อะลี ชาริอะตี คือแกนนําคนสําคัญก่อนการมาของโคมัยนีที่ได้ เรียกร้ องความยุติ ธรรมในสังคมอิหร่านแก่ประชาชนจากกษัตริย์วงศ์ปะฮฺละสีย์จนต้ องถูกกุมขังและทรมานในคุกมาอย่างยาวนานอัลลามะฮฺมรตะฏอ อัลมุเตาะฮฺฮะรีย์คือหนึ่งในนักปราชญ์ชีอะฮฺที่เคลื่อนไหวทางสังคมเพื่อตอบโต้ ุ
  • 11. ~ 11 ~แนวคิดขัวตรงข้ ามกับอิสลามอาทิสตรี นิยม,มาร์ กซิสต์จนตัวเขาได้ ถูกฝ่ ายที่ นิยมในระบอบเซคิว ้ลาร์สงหารลงอย่างโหดร้ าย และแม้ กระทังผู้นําสูงสุดของพวกรอฟิ เฎาะฮฺอย่างอะลีคอมาเนอีย์นน ั ่ ั้ก็เคยผ่านสมรภูมิรบในการปกปองประเทศอิหร่านจากการบุกรุกของอิรัคมาแล้ วจนทุกวันนี ้ร่องรอย ้ของสงครามยังคงปรากฏอยู่ในตัวของเขาดังที่เราจะเห็นว่ามือขวาของเขานั นใช้ การไม่ได้ จากการ ้ถูกกับระเบิดในสงคราม 4. รั ฐศาสตร์ (Political Science) ศาสตร์ ดังกล่าวนี จะช่วยสรรสร้ างการตระหนักรู้ใ น ้ความสําคัญ ของการมีอยู่ของสิ่งต่างๆเช่น รัฐอิสลาม, อุดมการณ์ทางเมืองและการเคลื่อนไหว,การคัดค้ านต่อระบอบการเมืองอื่นๆ, และรวมไปถึงการญิ ฮาดด้ วยเช่นกัน 5. วิทยาศาสตร์ (Science) พื น ฐานของอารยธรรมยุคใหม่นัน คือวิท ยาศาสตร์ และ ้ ้วิทยาศาสตร์นนถูกมองว่าเป็ นความจริงอันสูงสุดเสมอที่คอยนิยามสิ่งอื่นเช่นศาสนาให้ เป็ นความ ั้เท็จ หรื อความงมงายอยู่ตลอด การศึก ษาวิทยาศาสตร์ นอกจากจะช่วยเป็ นกําลังสําคัญในการพัฒนาโลกมุสลิมและคัด ค้ านปรัชญาของการปฏิเสธพระเจ้ าแล้ ว ยังคอยเป็ นรากฐานสําคัญ ที่ยืนยันถึงความยิ่งใหญ่และการมีอยู่ของพระองค์อลลอฮฺได้ อย่างดีเยี่ยมผ่านสาขาทังทางด้ านดารา ั ้ศาสตร์และชีววิทยา ศาสตร์ทง 5 แขนงข้ างต้ นนีจําต้ องได้ รับการศึกษาอย่างแท้ จริ งในหมู่นักวิชาการอิสลาม ั้ ้ทังหลาย และจําต้ องพึงระวังในการศึกษาเพราะในศาสตร์บางแขนงดังกล่าวย่อมต้ องมีสิ่งที่ขดแย้ ง ้ ักับหลักการอิสลามโดยตรง ดังนันการศึกษาศาสตร์ทง 5 แขนงนี ้จะได้ ผลตรงตามเจตนารมณ์ของ ้ ั้อิสลามมากน้ อยเพียงใดก็ขึ ้นอยู่กบความรู้ในวิชาการอิสลามของผู้ศกษาว่ามีมากน้ อยเพียงใดด้ วย ั ึเป็ นเงาตามตัว และเมื่อนันแหละที่ปัญญาชนมุสลิมจะทําการสลัดความคิดมืดบอดของตัวเองออก ้จากปลักแห่งปั ญญาเก่าแล้ วกระโจนเข้ าสูคําว่าปั ญญาชนมุสลิมที่รับใช้ อิสลามอย่างแท้ จริงได้ ่ ปฏิเสธไม่ได้ เลยว่าในภาวะที่สงคมมุสลิมทังไทยและเทศน์ต่างต้ องประสบกับการรุมเร้ า ั ้จากอุดมการณ์ และมรสุมวิช าการของเหล่าศัตรูอิสลามที่ม่งร้ ายหมายขวัญ วาดทําลายอิสลาม ุอย่างเป็ นระบบผ่านกระบวนวิธีคิดอย่างดีของศัตรูอยู่นน หนังสือตําราอิสลามเอาเฉพาะที่ปรากฏ ั้อยู่ในแผงหนังสือของประเทศไทยกลับดาษดื่นไปด้ วยงานวรรณกรรมอิสลามที่อ่อนด้ อยทังในเชิง ้การวิเคราะห์,อุดมการณ์และความเป็ นวิชาการ ดังที่บังเกิดปรากฏการณ์ ‚สภาวะการขาดการโต้กลับ‛ (Non Rebuttal) ต่อศัตรูอิสลามซึ่ง ‚อ้ างตน‛ ว่าหลงผิดตีพิมพ์หนังสือหมิ่นเกียรติคณของ ุท่านศาสนทูต มุฮัมมัด ศ็อลฯ เพื่อตอกยําในทฤษฎี Muhammad’s Pedophilia ( ยุวกาม) อันถูก ้โฆษณาชวนเชื่อจากต่างประเทศ ในทางกลับกันตําราอิสลามในบ้ านเรากลับยังล้ าหลังด้ วยการตีพิมพ์หนังสืออัตชีวประวัติท่านนบี ศ็อลฯ ,ในขณะที่การวิพากษ์ ท่านศาสนทูตได้ ก่อสร้ างทฤษฎีที่อธิบายใหม่อย่างมากมายในโลกตะวันตกหนังสือในเชิงนักบูรพาคดีอิสลามฉบับภาษาไทยเพียงพึง ่จะคลําหางฟาดฟั นกับพวกนักบูรพาคดีโบราณอย่าง Sir William Moor และ มาโกลิอธด้ วยซํา, ุ ้
  • 12. ~ 12 ~ในขณะที่ลทธิอบาทว์กาลีโลกอย่างรอฟิ เฎาะฮฺตีพิมพ์หนังสือเชิง‛ชําเรา‛ ประวัติศาสตร์ อิสลามใน ั ุนาม “ชําระประวัติศาสตร์ อิสลามและโลกมุสลิม ” ฝ่ ายซุนนะฮฺพึ่งจะตีพิมพ์หนังสือประวัติ 4 คอลีฟะฮฺในแบบพื ้นฐานอยู่เลย และที่เจ็บชํ ้าระกํากายใจที่สดก็คือสถิติที่ข้าฯได้ สอบถามจากร้ านค้ า ุหนังสืออิสลามเกี่ยวกับประเภทหนังสืออิสลามที่ขายดีที่สดของร้ านค้ าก็ปรากฏว่าหนังสืออิสลามที่ ุขายดีที่สดกลับไม่พ้นเทือกเถาเหล่ากอจําพวกหนังสือรักโรแมนติกแบบอิสลาม,รักชายหญิ ง,รั กใน ุชมรมมุสลิม,ซึ่งได้ ถูก ตีพิมพ์ ออกมาด้ วยนํ าพัก นําแรงของเยาวชนมุสลิมหลากหลายเล่มและ ้ ้รูป แบบ ในขณะที่ หนังสืออย่ างเช่น ตัฟซีรฟิ ซิลาลกุรอาน กลับหาเยาวชนแค่ห ยิ บมือซื ออ่านก็ ้ยากเย็นแสนเข็ญปานงมเข็ม แม้ กระทังการจัดเสวนาถ้ าเข่าข่ายหัวข้ อเรื่ องรักๆใคร่ๆห้ องประชุมก็ ่จะล้ นหลามไปด้ วยผู้คนปานปลาในมหาสมุทร นี่หรือสิ่งที่ผองวิญํูชนฝั นใฝ่ ??! นี่หรือคือมวลชาติผู้สืบทอดมรดกแห่งปวงศาสนทูตในฐานะ ‚อุลามาอฺ‛ !!? นี่หรือกลุมชนที่ท่านซัยยิดกุฏฏ๊ บและผอง ่ ุปราชญ์ตางหมายมันไว้ ว่าจะเป็ นกําลังพลในการปฏิวติโลกสู่อิสลาม ในเมื่อเปาหมายสูง สุดของ ่ ่ ั ้เยาวชนกลับกลายมาเป็ นเรื่องราวเข้ าข่าย ‚ต่อหน้ ามะพลับลับหลังสะโก‛ ไปเสียแทน!!!??!! ถ้ าท่านสอบถามเยาวชนที่เกิดทันยุคสังคมนิยม (The Socialist) เฟื่ องฟูหรื อแม้ แต่พวกแอคติวิสต์หน้ าใหม่ที่เคลื่อนไหวตามความคิดนี ้ที่พอจะเหลือรอดอยู่ในประเทศไทยว่าหนังสืออะไรที่ขายดีและทรงอิทธิพลที่สดในหมูพวกเขา เขาจะตอบว่า ‚โฉมหน้าศักดิ นาไทย‛ ของคุณ จิตร ภูมิ ุ ่ศักดิ์ แต่ถ้าคุณถามเยาวชนมุสลิมว่าหนังสืออะไรที่พวกเขาซืออ่านมากที่สดในยุคแห่งการฟื ้นฟู ้ ุอิสลามที่ปวงมุสลิมต้ องหลังเลือดชโลมดินถวายหัว,กายใจเพื่อปกปั กพิทักษ์ อิสลาม คํา ตอบก็คือ ่หนังสือเชิง ‚รัก‛ ในมิติศาสนา ถ้ าคุณถามเยาวชนนักสังคมนิยมถึงหัวข้ อการบรรยายที่ผ้ คนเข้ าฟั ง ูมากที่สด พวกท่านจะได้ คําตอบจากเขาว่า หัวข้ อเกี่ยวกับการปฏิวติ,การล้ มศักดินา,การต่อสู้ทาง ุ ัการเมืองในช่วง 14-6 ตุลาฯ,ทฤษฎีมาร์กซิสต์ ฯลฯ ถามว่าข้ าฯรู้ได้ อย่างไร ? นันก็เพราะข้ าฯเคยมี ่โอกาสคลุกคลีตีโมงทางวิชาการกับเยาวชนกลุมนี ้มาบ้ างและเคยผ่านงานเขียนวรรณกรรมทางการ ่เมืองของพวกเขามาแล้ ว แต่เราล่ะเยาวชนมุสลิมฟั งหัวข้ ออะไรมากที่สดชนิดห้ องประชุมผู้คนถล่ม ุทลายถ้ าไม่ใ ช่ เ รื่ อง ‚ปั ญ หารัก วัย รุ่ น ‛ !!? จึ งไม่แปลกที่ สังคมมุส ลิม ต้ องประสบภาวะขาดคนทํางานศาสนาในเมื่อเปาหมายหรื อความสมบูรณ์แห่งดุลยภาพชีวิตในความเป็ นมุสลิมถูก ้กระพือฮือโหมว่าจักสมบูรณ์ได้ ก็ต้องผ่านการ ‚แต่งงาน‛ เท่านัน กิจกรรมที่เสริ มสร้ างการหาคู่แก่ ้เยาวชนจึงพรั่งพรูก้าวหน้ าปานดอกเห็ด เมื่อหาคูแต่งงานกันได้ เสร็จก็ เร้ นกายหายไปจากเวทีงาน ่ศาสนา แน่นอนว่าข้ าฯมิได้ ตําหนิกลุ่มองค์กรทางศาสนาที่อาสาเข้ ามาแก้ ปั ญหาชายหญิ งเพราะพวกเขากํ าลังขจัดความเสื่อมโทรมในสังคมแต่ข้าฯตําหนิเยาวชนมุสลิมที่ ปากก็ แสร้ งหลอกว่าอยากทํางานศาสนาแต่ก็รังแต่สร้ างปั ญหาเรื่องหญิงๆชายๆให้ เขาแก้ ไขกันไม่จบสิ ้นชั่วนาตาปี ก็ยังไม่เห็นคนเหล่านี ้หันมาปกปองอิสลามจากเหล่าศัตรู เสียเลย ในขณะที่กิจกรรมเสริมสร้ างความเป็ น ้นักกิจกรรมวิชาการเฉพาะด้ าน (The Professional Activist) เพื่อรับมือกับภัยอุบาทว์เยี่ยง ชีอะฮฺ
  • 13. ~ 13 ~,กุรอานนิ ยูน ,พวกนิ ย มทฤษฎีวิวัฒนาการ (เช่น มุสลิมบางก๊ ก เชื่ อว่า มนุษ ย์ มาจากลิงด้ วยการกําหนดของ อัลลอฮฺ !!), พวกสังคมวิทยาอิสลาม 3และนักดาอีย์อีกหลายประเภทที่จะต้ องก้ าวมาล้ างบางความเสื่อมทรามของสังคมกลับหาไม่พบแม้ นเศษหยิบมือ ! ความสําคัญในกระบวนการสร้ างคนตรงนี กลับได้ รับ การเมิน เฉยจากองค์ก รมุสลิมทังหลายขณะเดีย วกัน กับ ที่ เราเองกลับ ้ ้เรี ย กร้ องให้ ฟื้นฟูโลกมุสลิมเพื่อแข็งขัน กับ ยิ ว !!? แล้ วแบบนี จ ะมีห น้ าไปเที ย บขัน กับพวกยิ วได้ ้ ้อย่ า งไรในขณะที่ เ ราพึ่ง จะสอน ‚คน‛ ให้ เป็ นแพทย์ ยิ วเขาสอน ‚แพทย์ ‛ ให้ เ ป็ น ‚แพทย์ ‛ ที่เหนือกว่า ‚คน‛ ไปแล้ ว ด้ วยเหตุนี ้เองปรากฏการณ์ทางสังคมที่เกิดปั ญหาจึงมักไม่ได้ รับการแก้ ไขเนื่องจากขาดบุคคลากร เช่น ปั ญหาการขยายตัวของลัทธิชีอะฮฺในตอนใต้ ของไทยที่ยากเกินกว่าจะต้ านทานไหวเพราะขาดบุคลากรด้ านนี ้ ครันจะให้ อ.ฟารี ด เฟ็ นดี ้ รับเหมาปราบปรามชีอะฮฺคน ้เดียวทังประเทศก็ดจะเป็ นความอับปางของสังคมมุสลิมอย่างน่าอาดูร นี่ยังไม่นับเรื่ องสารพัดสาร ้ ูเพปั ญหาที่ถาโถมใส่สงคมมุสลิมและไร้ การแก้ ไขจากการถืออีโก้ ของผู้ใหญ่มสลิมและความบ้ าคลัง ั ุ ่ในระบบการทํางานที่ถือพรรคถือพวกว่าฉันเป็ นอิควานเธอเป็ นสะละฟี ย์ ทงหลาย ั้ เพราะฉะนันก้ าวแรกที่ควร ‚ปลดแอก‛ เยาวชนก็คือการปลดปล่อยพวกเขาจากระบอบ ้การศึกษาอิสลามแบบครํ่าครึที่ไม่เป็ นการคิดเชิงตรรกะ (Non Logical Thinking) หรื อปลดปล่อยพวกเขาจาก ‚ปลักแห่งปั ญญาเก่า‛ (The Wallow of Outmoded Intellect) ซึ่งการปฏิวติทาง ัการศึกษาและความคิดที่ข้าฯเอ่ยไปนี ้ มิได้ หมายความว่าให้ ละทิ ้งแนวทางของเก่าและดังเดิมอย่าง ้แนวทางแห่งกัลยาณชนชาวสะลัฟแต่ประการใด แต่หมายถึงการปฏิวติ ‚วิสยทัศน์ ‛ ในการมอง ั ัศาสนาโดยยึ ดรากเดิ มแห่งแนวทางชาวสะลัฟเป็ นกรอบคิดวิธีจากนัน จึงค่อยเริ่ มกระบวนการ ้กระจายความคิดผ่านงานเขียน,สัมมนาบรรยายและการเรียนจนเป็ นผลให้ การสอนอิสลามในเชิงอุดมการณ์เกิดผลอย่างเป็ นรูปธรรมที่สด ุ ที่กล่าวมาอย่างยืดเยื ้อถึงกระบวนการสอนอิสลามเชิงอุดมการณ์นี ้ก็เพื่อที่จะปูฐานและชักลากเข้ ามาสู่ปั ญ หาในการศึก ษาประวัติศาสตร์ อิสลามของเรา ดังที่ ก ล่าวไปแล้ วว่าการศึก ษาประวัติศาสตร์ของเราเป็ นเพียงกระบวนการเล่าเหตุการณ์ในอดีตเพื่อให้ ‚ทราบ‛ เท่านันมิใช่เพื่อให้ ้‚คิ ด ‛ หรื อ ‚เคลื่ อ นไหว‛ พูด อี ก อย่ า งก็ คื อ เราศึก ษาประวัติ ศ าสตร์ อิ ส ลามนอกจากจะขาดกระบวนการวิเคราะห์ ในทางเหตุผลและตรรกะแล้ ว เรายังขาดการศึกษาประวัติศาสตร์ ในเชิ งอุด มการณ์ อี ก ด้ ว ย การศึก ษาประวัติ ศ าสตร์ อิ ส ลามในเชิ ง อุด มการณ์ ห มายถึ ง เราศึ ก ษาประวัติศาสตร์ อิสลามผ่านกระบวนการคิดวิเคราะห์ หรื อเป็ น ‚วิทยาศาสตร์ ‛ เพื่อหล่อหลอมให้ประวัติศาสตร์อิสลามเป็ นศาสตร์ที่ผลักดันให้ เกิดการจัดระเบียบสังคมหรือแม้ กระทังเปลี่ยนแปลง ่3 หมายถึงพวกนักวิชาการกาเฟรตามมหาวิทยาลัยทั ้งหลายที่มักจะสอนอิสลามอย่างเสียหายโดยอาศัยทฤษฎีในทางสังคมวิทยา
  • 14. ~ 14 ~โลกก็ ตาม ยกตัวอย่าง เราควรศึกษาถึงความสําเร็ จ ในด้ านการเมืองการปกครองตามระบอบคอลีฟะฮฺในสมัยของท่านอุมร รอฎิฯ ว่าอะไรคือปั จจัยก่อร่างสร้ างความสําเร็จด้ วยการวิเคราะห์ ัตามกระบวนการ ‚วิทยาศาสตร์ ‛ จากนันจึงเป็ นการศึกษาประวัติศาสตร์ อิสลามช่วงดังกล่าวด้ วย ้การสรรสร้ างอุดมการณ์ที่บทสรุปของมันคือการจัดระเบียบโลกอันหมายถึงความเคลื่อนไหวทางการเมืองเพื่ อสถาปนาระบอบคอลีฟะฮฺขึนมาใหม่!!และเราจะก้ าวไปสู่เ ปาหมายนัน อย่ างเป็ น ้ ้ ้วิทยาศาสตร์อย่างไร4 ประวัติศาสตร์กบวิวรณ์ธรรมปฏิพากย์ (Dialectical and Historical Revelation) ั นอกจากการศึก ษาประวัติ ศาสตร์ อิสลามในเชิงอุดมการณ์ แล้ วหากขาดซึ่งทฤษฎีท างความรู้ อุดมการณ์ ที่ได้ เ อ่ยไปก็ มิอาจบังเกิ ดขึ ้นมาได้ สิ่งที่ ข้าฯหมายขวัญ และตังปณิธานที่ จ ะ ้นําเสนอทฤษฎีหนึ่งในกาลอนาคตอย่างเป็ นทางการ (อินชาอัลลอฮฺ) ก็คือ การศึกษาประวัติศาสตร์ของมวลมนุษย์ในเชิงอิสลาม ซึ่งตรงนีมิได้ หมายถึงการศึกษาประวัติศาสตร์ อิสลามเป็ นหลัก ้โปรดอย่าได้ คลาดเคลื่อนความเข้ าใจไป แต่การศึกษาประวัติศาสตร์ เชิงอิสลามหมายถึง ‚วิวรณ์ธรรมปฏิพากย์‛, หรือการวิภาษประวัติศาสตร์เชิงวิธีอิสลาม ซึ่งสุดแต่จะเรี ยกขานกัน ตรงนีจะขอ ้อธิบายความหมายของมันอย่างง่ายว่า คําว่า ‚วิวรณ์‛ เราอาจจะให้ ความหมายว่า วะฮีย์ ซึ่งก็คือพระวจนะ,สาสน์ แ ห่ ง อิ ส ลามที่ พ ระองค์ อัล ลอฮฺ ท รงประทานแก่ ท่า นนบี ส่ว นคํา ว่า ‚ธรรม‛(Dogma) ก็หมายถึงแก่นคําสอน,ส่วนคําว่า ‚ปฏิพากย์ ‛ อันใกล้ เคียงกันกับ ‚ปฏิวาท‛ หมายถึงการวิภาษ,โต้ แย้ ง,หักล้ าง ดังนันเมื่อรวมเป็ น ‚วิวรณ์ธรรมปฏิพากย์ ‛ (Dialectical and Historical ้Revelation) จึงหมายถึง การวิภาษด้ วยคําสอนแห่งวิวรณ์ของพระผู้เป็ นเจ้ า ในทางทฤษฎีหมายถึงการศึกษาประวัติศาสตร์ ด้วยวิธีการโต้ แย้ งต่อทฤษฎีเก่าของพวกลัทธิปฏิเสธพระเจ้ า (Atheism)โดยใช้ คําสอนที่ถูก วะฮีย์จ ากพระเจ้ าเป็ นกรอบและแก่ นในการศึกษาประวัติศาสตร์ พูดง่ายๆหมายถึง การใช้ แนวคิดแบบอิสลามที่มีทงจิตนิยมและวัตถุนิยมควบคูกนไปเป็ นกรอบและแก่นใน ั้ ่ ัการวิภ าษปรากฏการณ์ ของสังคมมนุษ ย์ ใ นประวัติศ าสตร์ จากข้ อสรุ ป นี ก รอบในการวิ ภาษ ้ประวัติศาสตร์ ของอิสลามจึงกว้ างขวางแต่จะมีรากเหง้ าของการวิภาษคือเรื่ องของการศรัทธา(อีมาน)และการปฏิเสธศรัทธา(กุฟรฺ) ต่อพระเจ้ าเป็ นแกนหลักของเรื่ องในการอธิบายประวัติศาสตร์เพราะการศรัทธาและการปฏิเ สธเป็ นหน่วยที่สําคัญดุจรากแก้ วในทางกฎหมายอิสลาม ในเมื่อ4 ดังที่ขบวนการเคลือนไหวของพี่น้องมุสลิมในยุโรปภายใต้ นาม ‚ฮิสบุตตะฮฺรีร‛ ได้ ทําเอกสารมากมายเพื่อศึกษา ่เปรี ย บเที ย บระบอบการปกครองแบบคอลี ฟ ะฮฺ แ ละระบอบประชาธิ ป ไตย(ซึ่ ง เป็ นการศึ ก ษาอย่ า งเป็ นวิทยาศาสตร์ ) ผลจากการศึกษาประวัติศาสตร์ อิสลามในเชิงอุดมการณ์ นี ้ส่งผลให้ กลุ่มดัง กล่าวรวมตัวกันเพื่ อเคลื่อนไหวทางการเมืองในการสถาปนาระบอบคอลีฟะฮฺขึ ้นมาใหม่อีกครัง เราขอดุอาอ์ ต่อพระองค์ อัลลอฮฺไ ด้ ้โปรดสนับสนุนกลุมนี ้ด้ วยเทอญ ่
  • 15. ~ 15 ~รัฐ ศาสตร์ ยังมีก ารศึก ษาที่ อาศัย กรอบคิด แตกต่างกัน ไปในแต่ละสํานัก เช่น พวกหนึ่งศึก ษารัฐศาสตร์ ในเชิงพฤติ กรรมศาสตร์ อีก พวกหนึ่งศึกษารัฐ ศาสตร์ ใ นเชิ งจิตวิทยา พวกหนึ่งในเชิ งสังคมวิทยา แล้ วไฉนเล่าการศึกษาประวัติศาสตร์ของมนุษย์ทงที่เกี่ยวข้ องกับมุสลิมโดยตรงหรื อไม่ ั้ก็ตามจะไม่นํ าเอาการวิภาษประวัติศ าสตร์ แบบอิสลามมาเป็ นกรอบบ้ างเล่า !!? ถ้ าการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยครังหนึ่งเคยถูกศึกษาผ่านสกุลดํารงราชานุภาพในเชิ งชาตินิยมคติศกดินา ถ้ า ้ ัการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยครังหนึ่งเคยศึกษาผ่านการวิเคราะห์ในเชิงสังคมนิยมหรื อลัทธิมาร์ ก ้(Marxism) โดยคุณ จิตร ภูมิศกดิ์ แล้ วไฉนกันเล่าในวันนี ้เมื่อกระแสอิสลามานุวตรกําลังขับเคลื่อน ั ัเราจะศึกษาประวัติศาสตร์ไทยและสากลที่ไม่ใช่เพียงแค่ประวัติศาสตร์ ของมุสลิมอย่างเดียวด้ วยกระบวนวิ ธี ท างประวัติ ศ าสตร์ ด ัง ที่ ก ล่า วไปบ้ างไม่ไ ด้ !!? ถ้ าการอธิ บ ายเหตุก ารณ์ ป ฏิ วัติประชาธิปไตยไทยปี พ.ศ. 2475 จะต้ องสรุปตามสํานักคิดชาตินิยมประวัติศาสตร์ สายศักดินาว่าเป็ นเพราะคณะราษฎรชิงสุกก่อนหามไม่เคารพภักดีใคร่เป็ นใหญ่ในแผ่ นดินแทนพระมหากษัตริ ย์แล้ วไซร้ ถ้ าการอธิบายปรากฏการณ์ปี 2475 ว่าหมายถึงการต่อสู้ทางชนชันระหว่างชนชันศักดินา ้ ้กับชนชันกฎมพี(ชนชันกลาง)ที่เติบโตขึ ้นจากการพัฒนาของลัทธิทนนิยมและระบอบอุตสาหกรรม ้ ุ ้ ุตามสํานักมาร์ กซิสต์แล้ วไซร้ ข้ าฯในฐานะมุสลิมผู้ตํ่าต้ อยคนหนึ่งก็จ ะขอสรุปความตาม ‚วิวรณ์ธรรมปฏิพากย์‛ ว่าการการปฏิวติครังนีคือการต่อสู้และเข้ าแย่งชิงพืนที่อํานาจทางโลกของ ‚ลัทธิ ั ้ ้ ้ปฏิเสธพระเจ้ าใหม่‛ (Neo-Atheism) โดยคณะราษฎร( ในนามของประชาธิปไตย,ทุนนิยม,ชนชัน ้กลางซึ่ง ทัง หมดมี ฐ านมาจากปรั ช ญา Secularism ที่ ป ฏิ เ สธพระเจ้ าของยุโ รปยุค หลังปฏิวัติ ้วิทยาศาสตร์ทงสิ ้น) แทนที่ ‚ลัทธิปฏิเสธพระเจ้ าเดิม‛ (Classical Atheism) ของชนชันศักดินาไทย ั้ ้(ที่มาในนามของระบอบสมบูรณาญาสิท ธิราชย์ซึ่งยกกษั ตริ ย์เ ป็ นเทวะราชาหรื อกึ่ งเทพเจ้ ากึ่ งกษัตริ ย์) เหล่านีคื อการวิเ คราะห์ป ระวัติศาสตร์ ตามกรอบของ ‚วิวรณ์ธรรมปฏิพากย์ ‛ หรื อการ ้วิภาษประวัติศาสตร์ในเชิงอิสลามที่มีแกนเรื่อง (Theme) ของการวิเคราะห์ประวัติศาสตร์ อยู่ตรงที่การศรั ท ธาและการปฏิเ สธพระเจ้ าเป็ นหลัก ดัง นัน หาก คาร์ ล มาร์ ก ในฐานะบิ ดาแห่ง ลัท ธิ ้คอมมิวนิสต์ จะสรุ ปใน The Communist Manifesto ของเขาว่าประวัติศ าสตร์ ของมวลสังคมมนุษย์คือประวัติศาสตร์ของการต่อสู้ทางชนชัน เช่น เสรี ชนกับทาส ผู้ถูกกดขี่กับผู้กดขี่ ผู้ปกครอง ้กับประชาชนโดยมีวตถุ(เศรษฐกิจ)เป็ นปั จจัยสําคัญในการต่อสู้ นอกจากข้ าฯจะค้ านแล้ วข้ าฯจะ ัขอยื น ยัน ว่าการต่อสู้ของมวลมนุษ ย์ ใ นตลอดประวัติศาสตร์ ที่ผ่านมานั น คือการต่อสู้ที่ เ กิ ดขึน ้ ้ระหว่าง ‚ระบอบอัตลักษณ์‛ (Identity System) ของในแต่ละลัทธิแต่ละกลุ่มต่างๆเป็ นหลักทังสิ ้น ้ระบอบอัตลักษณ์หมายถึงระบอบหนึ่งใดก็ตามที่ถูกหล่อหลอมขึ ้นจนเป็ นโครงสร้ างชัดเจนและมีเอกลักษณ์ที่บ่งบอกถึงตัวตนเฉพาะของมันตลอดจนมีความแตกต่างจากสิ่งอื่น โดยพื ้นฐานแล้ วสิ่งที่เราเรียกว่า ระบอบอัตลักษณ์ จะมีองค์ประกอบ 2 ประการคือ 1. ความเชื่อถือศรัทธาต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดอัน เป็ นนัยยะทางนามธรรมหรื อจิ ตนิย ม 2. วัตถุ อัน หมายถึ งผลประโยชน์ ที่ระบอบนัน ๆ ้