SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
เดิน ทางโดยไม่ม ม ะฮฺร อม
                                    ี
 * ในการพิจารณาข้ออ้างต่างๆนั้น เราจะต้องวิเคราะห์ดูให้
ดีว่า ข้ออ้างหลัก คืออะไร และ เหตุผลกี่อย่างด้วยกันที่ถูก
นำามาใช้สนับสนุนข้ออ้างนั้น และ เหตุผลแต่ละอย่างที่ถูก
นำามาสนับสนุนข้ออ้างหลักนั้น ตัวมันเองจะต้องได้รับการ
สนับสนุนอีกทีหนึ่งหรือไม่ เพื่อที่จะถูกนำาไปใช้สนับสนุน
ข้ออ้างหลักอีกที... ยกตัวอย่างเช่น ก . เป็นข้ออ้างอันเป็น
จุดยืน โดยที่ ก. นี้ถูกสนับสนุน โดย 3 เหตุผล คือ ข . ค .
ง . แต่เมื่อวิเคราะห์ดูแล้ว พบว่า เหตุผล ค. และ ง. ไม่
สามารถถูกนำาไปใช้สนับสนุนข้ออ้าง ก. ได้ นอกเสียจากว่า
มันทั้งสองจะต้องถูกเหตุผลสนับสนุนอีกทีหนึ่งก่อน ... คือ
ทั้ง ค. และ ง. จะต้องถูกพิสูจน์ว่าเป็นจริงให้ได้เสียก่อน
เพราะถ้าไม่สามารถพิสูจน์ได้ ก็จะมีเพียงแค่เหตุผล ข. ตัว
เดียวเท่านั้นที่สามารถถูกนำาไปใช้สนับสนุนข้ออ้างหลัก คือ
ก. ได้ ... เพราะฉะนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ ตามหลักการวิเคราะห์
แล้ว เหตุผล ค. จะต้อ งถูก สนับ สนุน โดย จ. ( ถ้ามี)
และ เหตุผล ง. จะต้อ ถูก สนับ สนุน โดย ฉ. ( ถ้ามี) เพื่อ
ที่จะยังผลให้ ทั้ง เหตุผล ค. และ ง. นั้นสามารถถูกนำาไป
ใช้สนับสนุน ก. ซึงเป็นข้ออ้างหลัก ได้อีกที
                    ่

       และอีกสิ่งที่สำาคัญจะขาดเสียมิได้ก็คือ เราจะต้อง
วิเคราะห์ดูด้วยว่า ในความเป็นจริงแล้ว ข. นั้นสามารถถูก
นำาไปใช้เพื่อสนับสนุน ก. ได้จริงหรือไม่... หรือว่า ข.นั้น
ไม่ได้เกี่ยวข้องอะไรกันเลย กับการที่จะถูกนำาไปใช้เพื่อ
สนับสนุน ก. ...และเช่นกันทั้ง จ. และ ฉ. นั้นในความ
เป็นจริงแล้ว สามารถถูกนำาไปใช้เพื่อสนับสนุน ค. และ ง.
ตามลำาดับ หรือไม่... หรือว่า ทั้ง จ. และ ฉ. ต่างก็ไม่ได้เกี่ยว
อะไรกันเลยในการที่จะนำาไปใช้เพื่อสนับสนุน ค. และ ง.
... หรือ เฉพาะ จ. อย่างเดียวเท่านั้นที่สามารถนำาไปใช้เป็น
เหตุผลสนับสนุน ค. ได้เท่านั้น แต่ ฉ. ไม่ได้เกี่ยวข้องอะไร
ที่จะถูกนำาไปใช้เป็นเหตุผลสนับสนุน ง. ... นี้คือหลักหนึ่ง
ในการวิเคราะห์ เพราะมิเช่นนั้นแล้ว จะเกิดการทึกทักเอา
เองว่า เหตุผ ล ค. และ ง. นั้นเป็นจริงโดยที่ไม่ต้องการได้
รับการพิสูจน์ ทั้งๆที่ในความเป็นจริงแล้ว ทั้ง ค. และ ง. นั้น
จะต้องถูกพิสูจน์เสียก่อน มิเช่นนั้นแล้ว ก็จะยังผลทำาให้ ก.
ซึ่งเป็นข้ออ้างหลักมีเพียง ได้รับการสนับสนุนด้วยกับ
เหตุผลเดียวเท่านั้น นั้นคือ ข. ( ที่ยกตัวอย่างมานี้ ในกรณี
ที่ ข. คือความจริงที่ไม่ต้องพิสูจน์แล้ว)

     ในหลายกรณีด้วยกันที่ จะมีข้ออ้างหลักอยูหลายข้อ
                                              ่
ด้วยกัน และ ข้ออ้างหลักก็อาจจะมี เหตุผลย่อยๆที่จะมาส
นับสนุนข้ออ้างหลักหลายข้อนั้น ซึ่งข้อเหตุผลย่อยๆต่างๆ
เหล่านั้นก็อาจจะต้องมีเหตุผลมาสนับสนุนพวกมันอีกที
เหมือนกับที่ได้ยกตัวอย่างไปให้ดูข้างต้น และนี่คือสิ่งที่เรา
สามารถสัมผัสได้ในชีวิตประจำาวันของเรา ที่เราจะต้องเจอ
กับคำาพูด หรือ ประโยค ในรูปแบบต่างๆ

      ยกตัวอย่างให้เห็นภาพชัดๆ เช่น การอ้างว่า ฮะดีษต่อ
ไปนี้ คือฮะดีษที่เป็นหลักฐานว่าอนุญาตให้ผู้หญิงเดินทาง
คนเดียวได้โดยไม่ตองมีมะฮฺรอม
                     ้

“ หากว่า ชีว ิต ท่า นยืน ยาว แน่น อนท่า นจะได้เ ห็น
ผู้ห ญิง ที่อ ยูใ นกระโจมบนหลัง อูฐ คนเดีย วเดิน
                ่
ทางจาก อัล -ฮีเ ราะฮฺ ( เมือ งหนึ่ง ในอิร ัค ) จนกระ
ทั่ง ฏอวาฟ (เวีย นรอบ) กะฮฺบ ะอฺ เธอไม่ก ลัว สิ่ง ใด
ยกเว้น อัล ลอฮฺ ”

1. ข้ออ้างหลัก: อนุญาตให้ผู้หญิงเดินทางคนเดียวได้โดย
ไม่ตองมีมะฮฺรอม
     ้
2. เหตุผลข้อที่ 1 เพราะมีฮะดีษบ่งเอาไว้ว่าอนุญาต
3. เหตุผลข้อที่ 1 ถูกสนับสนุนด้วยเหตุผลอีก 2 ข้อคือ:

 1.1 ผู้หญิงคนนั้นเป็นผู้ที่ศรัทธา ที่ไม่ฝ่าฝืนอัลลอฮฺ โดยมี
เหตุผล:
1.1.1 มาสนับสนุน คือ ข้อความที่ว่า “ นางจะไม่
กลัว ใครนอกจากอัล ลอฮฺ” เพราะฉะนั้น หญิงที่ท่านนบี
พูด จึงกระทำาในสิ่งที่ไม่ฝ่าฝืนอัลลอฮฺ เพราะฉะนั้นการที่
นางเดินทางคนเดียวจึงถือว่าอนุญาต ไม่มีบาป

1.2 ฮะดีษบทนี้บ่งถึงความปลอดภัย โดยมี เหตุผล

     1.2.1 มาสนับสนุนคือ ข้อความที่ว่า        “ นางจะไม่
กลัวใครนอกจากอัลลอฮฺ”

     เมื่อพิสูจน์ได้เช่นนี้แล้ว จึงมีการสรุปว่า ฮะดีษต่างๆที่
ถูกห้ามไม่ผู้หญิงเดินทางคนเดียวนั้น ใช้เฉพาะในกรณีที่
กลัวว่าจะไม่ปลอดภัยเท่านั้น แต่ถ้าเดินทางคนเดียวแล้ว
ปลอดภัยก็ถือว่าไม่เป็นไร

      แต่ถ้าเราวิเคราะห์ดูให้ดีแล้ว เราจะพบว่า เหตุผล 1.1
ถูกทึกทักว่าเป็นจริง โดยอ้างเหตุผล 1.1.1 ทั้งๆที่เหตุผล
1.1.1 ก็ยังไม่ได้รับการพิสูจน์เลยว่าสามารถถูกนำาไปใช้
สนับสนุน 1.1 ได้จริงหรือไม่ เพราะฉะนั้น สาเหตุที่ เหตุผล
1.1 ถูกทึกทักว่าเป็นความจริง ก็เพราะมีสาเหตุมาจากการที่
เหตุผล 1.1.1 ถูกทึกทักว่าสามารถนำาไปใช้สนับสนุน 1.1
ได้อีกทีหนึ่ง เมื่อเหตุผล 1.1.1 ถูกทึกทักว่าเป็นความจริง
นั่นก็เท่ากับไปสนับสนุนเหตุผล 1.1 โดยปริยาย
      และเช่นกัน สาเหตุที่ 1.2 ถูกทึกทักว่าเป็นความจริง ก็
อันเนื่องมาจากการที่ 1.2.1 ถูกทึกทักว่าเป็นความจริง ที่
สามารถถูกนำาไปใช้สนับสนุน 1.2 ได้

     แต่ความจริงหาได้เป็นเช่นนั้นไม่ ... เพราะถ้า เรา
สามารถหัก ล้า ง ข้อ 1.1.1 และ ข้อ 1.2.1 ได้ นั้นก็จะ
เท่ากับเป็นผลทำาให้ ข้อ 1.1 และ 1.2 ไร้ผลไปโดยปริยาย
และเมื่อเป็นเช่นนั้น ก็จะเท่ากับพิสูจน์ไปโดยปริยายว่า ฮะ
ดีษที่ถูกนำามาอ้างนั้น ไม่สามารถถูกนำามาใช้เป็นเหตุผล
หรือหลักฐาน ในการที่จะอนุญาตให้ผู้หญิงเดินทางคน
เดียวได้

     ตอนนี้เรามาวิเคราะห์กัน:

1.1 ผู้หญิงคนนั้นเป็นผู้ที่ศรัทธา ที่ไม่ฝ่าฝืนอัลลอฮฺ โดยมี
เหตุผล:

     1.1.1 มาสนับสนุน คือ ข้อความที่ว่า “ นางจะไม่
กลัว ใครนอกจากอัล ลอฮฺ” เพราะฉะนั้น หญิงที่ท่านนบี
พูด จึงกระทำาในสิ่งที่ไม่ฝ่าฝืนอัลลอฮฺ เพราะฉะนั้นการที่
นางเดินทางคนเดียวจึงถือว่าอนุญาต ไม่มีบาป

ชี้แ จง:

      สิ่งที่จะต้องถามก็คือ ผู้ที่กล่าวว่า เขาไม่กลัวสิ่งใน
นอกจากอัลลอฮฺนั้น ไม่สามารถทำาในสิ่งที่ฝ่าฝืนกับคำา
สั่งของพระองค์อัลลอฮฺได้หรือ ... ซอฮาบะฮฺของท่านนบี
เป็นมะอฺซูมไม่มีบาปเลยอย่างนั้นหรือ ...เปล่าเลย ... แต่
กระนั้นก็ตามพวกเขาไม่เกรงกลัวใครนอกจากอัลลอฮฺ...
เพราะฉะนั้น คำาพูดที่ว่า “ไม่กลัวสิ่งใดยกเว้นอัลลอฮฺ ”
ไม่ได้เป็นเงื่อนไขบังคับเลยว่าเขาผู้นั้นจะไม่สามารถทำา
บาปใดๆได้ เพราะฉะนั้นตรงนี้ไม่สามารถถูกนำามาใช้
เป็นหลักฐานยืนยันได้ว่า หญิงผู้ไม่ได้ทำาในสิ่งที่ฝ่าฝืน
หลักการศาสนา ... เขาอาจจะทำาก็ได้ หรือ อาจจะไม่
กระทำาก็ได้ จะรู้ได้ว่าเขาทำาบาปหรือไม่ก็จะต้อง ดู
ว่าการกระทำาของเขาผู้นั้นว่าไปฝ่าฝืนข้อห้ามใดๆใน
ศาสนาหรือไม่ ... แน่นอน หญิงคนนั้นที่ท่านนบีพูดถึง
ในฮะดีษคงจะไม่ดีและประเสริฐไปกว่าท่านหญิงอาอิ
ชะฮฺเป็นแน่ แต่กระนั้นก็ตามเราพบว่า แม้แต่ท่านหญิง
อาอิชะฮฺ ในบางกรณีก็ฝ่าฝืนคำาสอนบางอย่าง จะอัน
เนื่องมาจากเหตุผลใดก็แล้วแต่ ...


1.2 ฮะดีษบทนี้บ่งถึงความปลอดภัย โดยมี เหตุผล
      1.2.1 มาสนับสนุนคือ ข้อความที่ว่า “ นางจะไม่
กลัวใครนอกจากอัลลอฮฺ”
ชี้แ จง:

      ประเด็นต่อมาก็คือ การนำาความปลอดภัยมาโยง
เข้ากับ การไม่กลัวสิ่งใดยกเว้นอัลลอฮฺ ซึงเป็นคนละ
                                            ่
เรื่องกัน เพราะ ถ้าเราจะถามว่า บรรดาซอฮาบะฮฺที่ไป
ออกรบนั้น เกรงกลัวสิ่งใดไหมนอกจากอัลลอฮฺ ...คำา
ตอบคือไม่อย่างแน่นอน ... แต่ถามว่าในสนามรบ มี
ความปลอดภัยไหม... ก็ไม่อย่างแน่นอนเช่นกัน ...
เพราะฉะนั้นการที่ท่านนบีพูดว่า ผู้หญิงคนนี้ “ เธอไม่
กลัวสิ่งใดยกเว้นอัลลอฮฺ ” ไม่ได้หมายความโดยปริยาย
ว่า การเดินทางจะปลอดภัย ... อาจจะปลอดภัย หรือไม่
ก็ได้ จะรู้ได้ก็ต่อเมื่อมีฮะดีษอีกบทหนึ่งมาขยายเพื่อให้
ข้อมูลเพิ่มเติม เพราะฉะนั้น คำาพูดดังกล่าวจึงไม่
สามารถถูกนำามาใช้สนับสนุน หรือโยง ในเรื่องความ
ปลอดภัยได้




ฮะดีษที่ถูกหยิบยกนำามาอ้างว่าอนุญาตให้ผู้หญิงเดิน
ทางคนเดียวได้โดยไม่ต้องมีมะฮฺรอมก็คือ

“ หากว่า ชีว ิต ท่า นยืน ยาว แน่น อนท่า นจะได้เ ห็น
ผู้ห ญิง ที่อ ยูใ นกระโจมบนหลัง อูฐ คนเดีย วเดิน
                ่
ทางจาก อัล -ฮีเ ราะฮฺ ( เมือ งหนึ่ง ในอิร ัค ) จนกระ
ทั่ง ฏอวาฟ (เวีย นรอบ) กะฮฺบ ะอฺ เธอไม่ก ลัว สิ่ง ใด
ยกเว้น อัล ลอฮฺ ”

วิเคราะห์:

     สิ่งที่จะต้องถามก็คือ ถามว่า ผู้ที่กล่าวว่า เขาไม่
กลัวสิ่งในนอกจากอัลลอฮฺนั้น ไม่สามารถทำาในสิ่งที่
ฝ่าฝืนกับคำาสั่งของพระองค์อัลลอฮฺได้หรือ ... ซอฮาบะฮฺ
ของท่านนบีเป็นมะอฺซูมไม่มีบาปเลยอย่างนั้นหรือ
...เปล่าเลย ... แต่กระนั้นก็ตามพวกเขาไม่เกรงกลัวใคร
นอกจากอัลลอฮฺ... เพราะฉะนั้น คำาพูดที่ว่า “ไม่กลัวสิ่ง
ใดยกเว้นอัลลอฮฺ ” ไม่ได้เป็นเงื่อนไขบังคับเลยว่าเขาผู้
นั้นจะไม่สามารถทำาบาปใดๆได้ ... เขาอาจจะทำาก็ได้
หรือ อาจจะไม่กระทำาก็ได้ จะรู้ได้ว่าเขาทำาบาปหรือไม่ก็
จะต้อง ดูว่าการกระทำาของเขาผู้นั้นไปฝ่าฝืนข้อห้าม
ใดๆในศาสนาหรือไม่ ... แน่นอน หญิงคนนั้นที่ท่านนบี
พูดถึงในฮะดีษคงจะไม่ดีและประเสริฐไปกว่าท่านหญิง
อาอิชะฮฺเป็นแน่ แต่กระนั้นก็ตามเราพบว่า แม้แต่ท่าน
หญิงอาอิชะฮฺก็สามารถฝ่าฝืนคำาสอนบางอย่างของ
ศาสนาได้ จะอันเนื่องมาจากเหตุผลใดก็แล้วแต่

      ประเด็นต่อมาก็คือ การนำาความปลอดภัยมาโยง
เข้ากับ การไม่กลัวสิ่งใดยกเว้นอัลลอฮฺ ซึงเป็นคนละ
                                           ่
เรื่องกัน เพราะ ถ้าเราจะถามว่า บรรดาซอฮาบะฮฺที่ไป
ออกรบนั้น เกรงกลัวสิ่งใดไหมนอกจากอัลลอฮฺ ...ไม่
อย่างแน่นอน ... แต่ถามว่าในสนามรบ มีความปลอดภัย
ไหม... ก็ไม่อย่างแน่นอน ... เพราะฉะนั้นการที่ท่านนบี
พูดว่า ผู้หญิงคนนี้ “ เธอไม่กลัวสิ่งใดยกเว้นอัลลอฮฺ ”
ไม่ได้หมายความโดยปริยายว่า การเดินทางจะปลอดภัย
... อาจจะปลอดภัย หรือไม่ก็ได้ จะรู้ได้ก็ต่อเมื่อมีฮะดีษ
อีกบทหนึ่งมาขยายเพื่อให้ข้อมูลเพิ่มเติม
และถามว่าเรื่องของการห้ามผู้หญิงเดินทางโดย
ปราศจากมะฮฺรอมนั้น ท่าน นบีบ่งบอกเอาไว้ไหมว่า อัน
เนื่องจากเหตุผลทางด้านความปลอดภัย? ... ท่านนบี
บอกเอาไว้ไหมว่า ถ้าเดินทางแล้วเกิดความปลอดภัยก็
อนุญาตให้นางเดินทางคนเดียวได้?.... คำาตอบคือเปล่า
เลย... ถ้าท่านนบีไม่ได้บอก เช่นนั้นก็แสดงว่าเรา
ทึกทักไปเอง แทนท่านนบี ...และถ้าราเห็นด้วยว่า ไม่
จำาเป็นที่ท่านนบีต้องบอกสาเหตุ แต่เราสามารถวิเคราะห์
หาสาเหตุเองได้ นั่นก็หมายความว่า หญิงที่ถูกหย่าก็ไม่
จำาเป็นต้องรอให้หมดประจำาเดือนถึง 3 ครั้ง เพราะนาง
สามารถไปตรวจดูได้ด้วยการแพทย์สมัยใหม่ว่านางตั้ง
ท้องหรือไม่ ... เพราะเป้าหมายที่ให้หมดประจำาเดือนถึง
3 ครั้งก็เพื่อที่จะมั่นใจว่านางไม่ได้ตั้งท้องกับสามีคน
ก่อน ... เพราะฉะนั้น เมื่อตรวจดูแล้ว พบว่าไม่มีการ
ต้องท้องเกิดขึ้นแน่นอน เช่นนี้นางก็สามารถที่จะไป
แต่งงานกับชายคนใหม่ได้เลย โดยไม่จำาเป็นต้องรอให้
หมดประจำาเดือนถึง 3 ครั้ง...อย่างนี้ใช่ไหม?... แต่
กระนั้นก็ตามไม่มใครยอมรับแน่นอนว่าอนุญาตให้ทำา
                     ี
เช่นนั้นได้ ทั้งๆที่เรื่องนี้เป็นเรื่องทางโลก ... เมื่อเป็นเช่น
นี้เราจึงได้รับบทเรียนว่า เรื่องใดก็แล้วแต่ที่เป็นเรื่องทาง
โลก แต่มีหลักฐานจากทางศาสนาระบุห้ามเอาไว้ไม่ให้
ทำา เมื่อเป็นเช่นนี้ เราจะต้องหยุดไม่กระทำาสิ่งที่ถูกห้าม
เอาไว้ โดยเราจะต้องไม่ทึกทักหาสาเหตุของการสั่งการ
ห้ามเอาเอง ว่าที่ห้ามนั้น มีสาเหตุมาจากสิ่งนั้น หรือ สิ่ง
นี้ เพื่อที่จะหาข้อยกเว้น ในกรณีที่สาเหตุแห่งการห้าม
นั้นได้หมดไปแล้ว นอกจากจะมีสาเหตุระบุเอาไว้จาก
หลักฐานทางศาสนาว่าสาเหตุที่ห้ามเอาไว้นั้นเพราะ
อะไร และถ้าสาเหตุแห่งการห้ามนั้นได้หมดไปแล้วก็
สามารถทำาสิ่งนั้นๆได้ ...

    การคลุมฮิญาบก็เช่นกัน พระองค์อัลลอฮฺทรงระบุ
สาเหตุที่ให้คลุมเอาไว้ว่า เพื่อ ที่พ วกนางจะไม่ถ ูก
รบกวน (33:59) จะสังเกตุได้ว่า ถึงแม้แต่พระองค์ได้
บอกสาเหตุที่ให้คลุมฮิญาบเอาไว้อย่างชัดเจน แต่
กระนั้นก็ไม่มีใครคนไหน กล่าวว่า “ เพราะฉะนั้นถ้านาง
มั่นใจว่าจะไม่ถูกรบกวน จากเพศตรงกันข้าม ก็อนุญาต
ให้นางไม่ต้องใส่ฮิญาบได้ ” ... แล้วทำาไมทีกับคำาสั่งที่
แม้แต่ตัวท่านนบีเองก็ไม่ได้บอกสาเหตุที่ห้ามเอาไว้ว่าทำา
ไม่ถึงห้ามผู้หญิงเดิน คนเดียวโดยไม่มมะฮฺรอม แต่เรา
                                         ี
กลับไม่ยอมทำาตาม แต่พยายามทึกทักหาสาเหตุเอาเอง
เพื่อที่จะหาข้อยกเว้นให้ได้ ... แต่ทีเรื่องการคลุมฮิญา
บที่อัลลอฮฺบอกสาเหตุเอาไว้อย่างชัดเจน แต่กระนั้นเรา
ก็ไม่ เข้าใจไปว่า ถ้าสาเหตุแห่งการห้ามหมดไปแล้ว
เพราะฉะนั้นอนุญาตให้ไม่ต้องคลุมฮิญาบ ... แต่ก็ยัง
ต้องคลุมฮิญาบอยู่ดี ( ซึ่งนั่นเป็นความเข้าใจที่ถูก)
เพราะฉะนั้น ตรงนี้เราได้รับบทเรียนว่า ถึงแม้ว่าสาเหตุ
แห่งการห้ามสิ่งหนึ่งๆจะถูกบอกเอาไว้ก็ตาม แต่นั่นก็
เป็นการอธิบายให้รับรู้เอาไว้ว่า เพราะอะไรถึงสั่งใช้
หรือสั่งห้ามสิ่งนั้นเอาไว้ แต่นั่นก็ไม่ได้เป็นเหตุผลว่า
ถ้าสาเหตุที่ห้ามสิ่งนั้นๆเอาไว้ได้หมดไปแล้ว ในชั่วเวลา
หนึ่งเวลาใด ก็จะหมายความว่าอนุญาตให้ทำาสิ่งนั้นๆ
ได้...เปล่าเลย ... นอกจากจะมีระบุเอาไว้อย่างชัดเจน
จากตัวบทหลักฐานว่า ถ้าสาเหตุแห่งการห้ามสิ่งนั้นๆได้
หมดไปแล้วก็อนุญาตให้ทำาสิ่งนั้นๆได้ เช่น พระองค์
อัลลอฮฺอนุญาตให้ผู้หญิงไม่ต้องคลุมศีรษะได้ในกรณีที่
อยู่ต่อหน้ามะฮฺรอม ซึงเป็นการยกเว้นจากการห้ามเปิด
                        ่
ศีษระ โดยมีหลักฐานระบุเอาไว้ ไม่ใช่การยกเว้นที่
ทึกทักหาสาเหตุกันขึ้นมาเอง ... เพราะฉะนั้นสิ่งหนึ่งที่
ถูกสั่งห้าม หรือ สั่งใช้ด้วยกับหลักฐานจากอัล-กุรอาน
หรือ ฮะดีษ ถ้าจะยกเว้นข้อสั่งห้าม หรือข้อ สั่งใช้นั้นๆ ก็
จะต้องด้วยกับหลักฐานที่มาจาก อัล-กุรอาน หรือ ฮะดีษ
จะมาคิดหาข้อยกเว้นเอาเองไม่ได้
       เพราะฉะนั้นข้อสั่งใช้ หรือข้อสั่งห้ามใดก็แล้วแต่ ที่
หลักฐานไม่ได้ระบุถึงข้อยกเว้นเอาไว้ เราไม่มหน้าที่ๆที่
                                                ี
จะทึกทักหาสาเหตุไปเอง เพื่อที่จะนำาไปสู่ข้อยกเว้น ของ
สิ่งนั้นๆ ...

        ซึ่งในกรณีนี้แตกต่างจากการตีความตามตัวอักษร
ที่ รู้ได้ด้วยสามัญสำานึกเลยว่าจะเป็นการน่าเกลียด และ
ขัดกับสามัญสำานึก ถ้าเราไม่มองถึงเจตนารมณ์ในการ
ห้ามสิ่งนั้นๆ และตีความตามตัวอักษร เช่น ท่านนบี
ห้ามปัสสาวะลงในนำ้าที่ไม่ไหล (นำ้านิ่ง ) แต่กระนั้นก็ตาม
มีคนที่ปัสสาวะลงในแก้วนำ้า และจากนั้นก็นำาไปเทลงใน
นำ้านิ่งนั้น ...เช่นนี้สามัญสำานึกของทั้งผู้ที่เป็นมุสลิมและ
ไม่ใช่มุสลิมบ่งบอกว่า เป็นการกระทำาที่ผิด และจะ
ตีความตามตัวอักษรไม่ได้... และตรงนี้ไม่ได้กับข้อ
ยกเว้นแต่อย่างใด และไม่มีความแตกต่างกันได้ทาง
ความเป็นจริงเลยก็ว่าได้ เพราะ ปัสสาวะก็ลงไปผสมกับ
นำ้าอยู่ดี เพียงแต่จะลงไปผสมกับนำ้านิ่งทางไหนเท่านั้น
เอง ...
        และการหาสาเหตุเพื่อที่จะไม่ทำาตามข้อสั่งใช้ หรือ
สั่งห้ามนั้นๆ ย่อมแตกต่างกับ การหาสาเหตุเพื่อที่จะทำา
เพิ่มเติมเข้าไปจากสิ่งที่ถูกห้าม หรือ ถูกใช้นั้น เพราะ
อย่างหลังนี้ย่อมเป็นสิ่งที่ดี และรอบคอบ ไม่เป็นผลทำาให้
เกิดการละเมิดคำาสอน หรือตัดคำาสอนออกทิ้งไป เช่น
ท่านนบีได้สั่งห้ามไม่ให้ปัสสาวะลงในนำ้านิ่ง ... จะเห็น
ได้ว่า ถ้าเราวิเคราะห์ข้อห้ามนี้เราจะรู้ถึงสาเหตุของข้อ
ห้าม นั่นก็คือ เพื่อไม่ให้เกิดความสกปรกแก่นำ้านั้น
เพราะฉะนั้น การอุจจาระก็เป็นสิ่งที่ถูกห้ามไปโดย
ปริยาย การทิ้งขยะเน่าเสียจึงถูกห้ามโดยปริยายเช่น
กัน... และ ถึงแม้นำ้านิ่งนั้นจะมากขณะไหนก็ตาม... มาก
ขนาดที่การปัสสาวะลงไปแทบจะไม่มีผลใดๆกับนำ้านั้น
เลย... ก็ไม่ได้เป็นเหตุผลที่จะทำาให้เราสามารถปัสสาวะ
ลงในนำ้านิ่งนั้นได้... จะเห็นได้ว่าตรงนี้เป็นการหา
สาเหตุแห่งการห้ามเพื่อที่จะทำาเพิ่มเติมหรือเกินไปจาก
สิ่งที่ถูกห้ามนั้นๆ เพราะเป็นผลดี โดยไม่มีการตัดสิ่งใด
ทิ้งไปจากข้อห้าม... ซึงเหมือนกับ การคลุมฮิญาบ ก็
                        ่
เพื่อ ที่พ วกนางจะไม่ถ ูก รบกวน แต่นางอาจจะทำา
เพิ่มเติมมากไปกว่าข้อสั่งใช้นั้นก็ได้ โดยมองถึงเป้า
หมายทีให้คลุม นั่นก็คือ นางอาจจะคลุมหน้าด้วยก็ได้
          ่
ถ้ารู้ว่า เปิดหน้าแล้วจะทำาให้เกิดการถูกรบกวนได้ หรือ
ถ้ามั่นใจอย่างแน่นอนว่า ถ้าเปิดหน้าในสถานการณ์
นั้นๆแล้วจะทำาให้นางได้รับอันตรายจาการถูกรบกวน
เช่นนี้ก็ให้นางคลุมหน้าไปด้วย จากที่เคยคลุมเฉพาะศีษ
ระ ... ซึงต่างจาก เรื่องผู้หญิงเดินทางคนเดียวโดยไม่มี
            ่
มะฮฺรอม โดยมีการหาข้อยกเว้น โดยอาศัยข้ออ้างเรื่อง
ความปลอดภัย เพราะนั่นคือ การทำาให้ข้อสั่งห้ามถูกตัด
ทิ้งออกไป ( นั่นคือการห้ามไม่ให้หญิงเดินทางคน
เดียวโดยไม่มีมะฮฺรอม ) ...ซึ่งแตกต่างกับกรณีที่ ถ้าไป
กับมะฮฺรอมคนเดียวแล้วกลัวจะไปปลอดภัยเท่ากับไปกับ
มะฮฺรอม 2 คน ก็สนับสนุนให้ไปกับมะฮฺรอม 2 คน ...
จะเห็นได้ว่าในกรณีนี้เป็นการทำาเพิ่มเติมขึ้นมาจากข้อ
สั่งใช้ เพื่อประโยชน์มากกว่าที่จะเกิดขึ้น ย่อมเป็นสิ่งที่
สามารถกระทำาได้ ...

More Related Content

Viewers also liked

วิเคราะห์ความโอ้อวด
วิเคราะห์ความโอ้อวดวิเคราะห์ความโอ้อวด
วิเคราะห์ความโอ้อวดMuttakeen Che-leah
 
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลามการทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลามMuttakeen Che-leah
 
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...Muttakeen Che-leah
 
คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่
คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่
คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่Muttakeen Che-leah
 
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผยเหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผยMuttakeen Che-leah
 
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็นพระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็นMuttakeen Che-leah
 
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริงแนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริงMuttakeen Che-leah
 
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอมเดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอมMuttakeen Che-leah
 
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Completeถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ CompleteMuttakeen Che-leah
 
การเวียนว่ายตายเกิด
การเวียนว่ายตายเกิดการเวียนว่ายตายเกิด
การเวียนว่ายตายเกิดMuttakeen Che-leah
 

Viewers also liked (13)

วิเคราะห์ความโอ้อวด
วิเคราะห์ความโอ้อวดวิเคราะห์ความโอ้อวด
วิเคราะห์ความโอ้อวด
 
ทาส1
ทาส1ทาส1
ทาส1
 
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลามการทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
 
Pramote maolid
Pramote maolidPramote maolid
Pramote maolid
 
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
 
คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่
คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่
คิดถึงอิสลามยามมาร์กไม่อยู่
 
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผยเหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
 
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็นพระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
 
Radd qardjed
Radd qardjedRadd qardjed
Radd qardjed
 
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริงแนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
 
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอมเดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม
 
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Completeถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
 
การเวียนว่ายตายเกิด
การเวียนว่ายตายเกิดการเวียนว่ายตายเกิด
การเวียนว่ายตายเกิด
 

More from Muttakeen Che-leah

เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc  เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc Muttakeen Che-leah
 
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกดวิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกดMuttakeen Che-leah
 
วิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษวิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษMuttakeen Che-leah
 
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัย
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัยลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัย
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัยMuttakeen Che-leah
 
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์Muttakeen Che-leah
 
แผนที่ตรรกะ
แผนที่ตรรกะแผนที่ตรรกะ
แผนที่ตรรกะMuttakeen Che-leah
 
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรมตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรมMuttakeen Che-leah
 
ตรรก และ เหตุผลวิบัติ
ตรรก และ เหตุผลวิบัติตรรก และ เหตุผลวิบัติ
ตรรก และ เหตุผลวิบัติMuttakeen Che-leah
 
เล่ห์ชัยฏอน
เล่ห์ชัยฏอนเล่ห์ชัยฏอน
เล่ห์ชัยฏอนMuttakeen Che-leah
 
ถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสMuttakeen Che-leah
 
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษแนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษMuttakeen Che-leah
 

More from Muttakeen Che-leah (15)

ทุกศาสนา
ทุกศาสนาทุกศาสนา
ทุกศาสนา
 
Al kafi
Al kafiAl kafi
Al kafi
 
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc  เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกดวิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
 
วิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษวิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษ
 
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัย
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัยลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัย
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัย
 
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
 
แผนที่ตรรกะ
แผนที่ตรรกะแผนที่ตรรกะ
แผนที่ตรรกะ
 
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรมตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
 
ตรรก และ เหตุผลวิบัติ
ตรรก และ เหตุผลวิบัติตรรก และ เหตุผลวิบัติ
ตรรก และ เหตุผลวิบัติ
 
Guide of association
Guide of associationGuide of association
Guide of association
 
เล่ห์ชัยฏอน
เล่ห์ชัยฏอนเล่ห์ชัยฏอน
เล่ห์ชัยฏอน
 
ถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีส
 
Pramote tarorveah
Pramote tarorveahPramote tarorveah
Pramote tarorveah
 
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษแนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
 

เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc

  • 1. เดิน ทางโดยไม่ม ม ะฮฺร อม ี * ในการพิจารณาข้ออ้างต่างๆนั้น เราจะต้องวิเคราะห์ดูให้ ดีว่า ข้ออ้างหลัก คืออะไร และ เหตุผลกี่อย่างด้วยกันที่ถูก นำามาใช้สนับสนุนข้ออ้างนั้น และ เหตุผลแต่ละอย่างที่ถูก นำามาสนับสนุนข้ออ้างหลักนั้น ตัวมันเองจะต้องได้รับการ สนับสนุนอีกทีหนึ่งหรือไม่ เพื่อที่จะถูกนำาไปใช้สนับสนุน ข้ออ้างหลักอีกที... ยกตัวอย่างเช่น ก . เป็นข้ออ้างอันเป็น จุดยืน โดยที่ ก. นี้ถูกสนับสนุน โดย 3 เหตุผล คือ ข . ค . ง . แต่เมื่อวิเคราะห์ดูแล้ว พบว่า เหตุผล ค. และ ง. ไม่ สามารถถูกนำาไปใช้สนับสนุนข้ออ้าง ก. ได้ นอกเสียจากว่า มันทั้งสองจะต้องถูกเหตุผลสนับสนุนอีกทีหนึ่งก่อน ... คือ ทั้ง ค. และ ง. จะต้องถูกพิสูจน์ว่าเป็นจริงให้ได้เสียก่อน เพราะถ้าไม่สามารถพิสูจน์ได้ ก็จะมีเพียงแค่เหตุผล ข. ตัว เดียวเท่านั้นที่สามารถถูกนำาไปใช้สนับสนุนข้ออ้างหลัก คือ ก. ได้ ... เพราะฉะนั้น เมื่อเป็นเช่นนี้ ตามหลักการวิเคราะห์ แล้ว เหตุผล ค. จะต้อ งถูก สนับ สนุน โดย จ. ( ถ้ามี) และ เหตุผล ง. จะต้อ ถูก สนับ สนุน โดย ฉ. ( ถ้ามี) เพื่อ ที่จะยังผลให้ ทั้ง เหตุผล ค. และ ง. นั้นสามารถถูกนำาไป ใช้สนับสนุน ก. ซึงเป็นข้ออ้างหลัก ได้อีกที ่ และอีกสิ่งที่สำาคัญจะขาดเสียมิได้ก็คือ เราจะต้อง วิเคราะห์ดูด้วยว่า ในความเป็นจริงแล้ว ข. นั้นสามารถถูก นำาไปใช้เพื่อสนับสนุน ก. ได้จริงหรือไม่... หรือว่า ข.นั้น ไม่ได้เกี่ยวข้องอะไรกันเลย กับการที่จะถูกนำาไปใช้เพื่อ สนับสนุน ก. ...และเช่นกันทั้ง จ. และ ฉ. นั้นในความ เป็นจริงแล้ว สามารถถูกนำาไปใช้เพื่อสนับสนุน ค. และ ง. ตามลำาดับ หรือไม่... หรือว่า ทั้ง จ. และ ฉ. ต่างก็ไม่ได้เกี่ยว อะไรกันเลยในการที่จะนำาไปใช้เพื่อสนับสนุน ค. และ ง. ... หรือ เฉพาะ จ. อย่างเดียวเท่านั้นที่สามารถนำาไปใช้เป็น เหตุผลสนับสนุน ค. ได้เท่านั้น แต่ ฉ. ไม่ได้เกี่ยวข้องอะไร ที่จะถูกนำาไปใช้เป็นเหตุผลสนับสนุน ง. ... นี้คือหลักหนึ่ง ในการวิเคราะห์ เพราะมิเช่นนั้นแล้ว จะเกิดการทึกทักเอา
  • 2. เองว่า เหตุผ ล ค. และ ง. นั้นเป็นจริงโดยที่ไม่ต้องการได้ รับการพิสูจน์ ทั้งๆที่ในความเป็นจริงแล้ว ทั้ง ค. และ ง. นั้น จะต้องถูกพิสูจน์เสียก่อน มิเช่นนั้นแล้ว ก็จะยังผลทำาให้ ก. ซึ่งเป็นข้ออ้างหลักมีเพียง ได้รับการสนับสนุนด้วยกับ เหตุผลเดียวเท่านั้น นั้นคือ ข. ( ที่ยกตัวอย่างมานี้ ในกรณี ที่ ข. คือความจริงที่ไม่ต้องพิสูจน์แล้ว) ในหลายกรณีด้วยกันที่ จะมีข้ออ้างหลักอยูหลายข้อ ่ ด้วยกัน และ ข้ออ้างหลักก็อาจจะมี เหตุผลย่อยๆที่จะมาส นับสนุนข้ออ้างหลักหลายข้อนั้น ซึ่งข้อเหตุผลย่อยๆต่างๆ เหล่านั้นก็อาจจะต้องมีเหตุผลมาสนับสนุนพวกมันอีกที เหมือนกับที่ได้ยกตัวอย่างไปให้ดูข้างต้น และนี่คือสิ่งที่เรา สามารถสัมผัสได้ในชีวิตประจำาวันของเรา ที่เราจะต้องเจอ กับคำาพูด หรือ ประโยค ในรูปแบบต่างๆ ยกตัวอย่างให้เห็นภาพชัดๆ เช่น การอ้างว่า ฮะดีษต่อ ไปนี้ คือฮะดีษที่เป็นหลักฐานว่าอนุญาตให้ผู้หญิงเดินทาง คนเดียวได้โดยไม่ตองมีมะฮฺรอม ้ “ หากว่า ชีว ิต ท่า นยืน ยาว แน่น อนท่า นจะได้เ ห็น ผู้ห ญิง ที่อ ยูใ นกระโจมบนหลัง อูฐ คนเดีย วเดิน ่ ทางจาก อัล -ฮีเ ราะฮฺ ( เมือ งหนึ่ง ในอิร ัค ) จนกระ ทั่ง ฏอวาฟ (เวีย นรอบ) กะฮฺบ ะอฺ เธอไม่ก ลัว สิ่ง ใด ยกเว้น อัล ลอฮฺ ” 1. ข้ออ้างหลัก: อนุญาตให้ผู้หญิงเดินทางคนเดียวได้โดย ไม่ตองมีมะฮฺรอม ้ 2. เหตุผลข้อที่ 1 เพราะมีฮะดีษบ่งเอาไว้ว่าอนุญาต 3. เหตุผลข้อที่ 1 ถูกสนับสนุนด้วยเหตุผลอีก 2 ข้อคือ: 1.1 ผู้หญิงคนนั้นเป็นผู้ที่ศรัทธา ที่ไม่ฝ่าฝืนอัลลอฮฺ โดยมี เหตุผล:
  • 3. 1.1.1 มาสนับสนุน คือ ข้อความที่ว่า “ นางจะไม่ กลัว ใครนอกจากอัล ลอฮฺ” เพราะฉะนั้น หญิงที่ท่านนบี พูด จึงกระทำาในสิ่งที่ไม่ฝ่าฝืนอัลลอฮฺ เพราะฉะนั้นการที่ นางเดินทางคนเดียวจึงถือว่าอนุญาต ไม่มีบาป 1.2 ฮะดีษบทนี้บ่งถึงความปลอดภัย โดยมี เหตุผล 1.2.1 มาสนับสนุนคือ ข้อความที่ว่า “ นางจะไม่ กลัวใครนอกจากอัลลอฮฺ” เมื่อพิสูจน์ได้เช่นนี้แล้ว จึงมีการสรุปว่า ฮะดีษต่างๆที่ ถูกห้ามไม่ผู้หญิงเดินทางคนเดียวนั้น ใช้เฉพาะในกรณีที่ กลัวว่าจะไม่ปลอดภัยเท่านั้น แต่ถ้าเดินทางคนเดียวแล้ว ปลอดภัยก็ถือว่าไม่เป็นไร แต่ถ้าเราวิเคราะห์ดูให้ดีแล้ว เราจะพบว่า เหตุผล 1.1 ถูกทึกทักว่าเป็นจริง โดยอ้างเหตุผล 1.1.1 ทั้งๆที่เหตุผล 1.1.1 ก็ยังไม่ได้รับการพิสูจน์เลยว่าสามารถถูกนำาไปใช้ สนับสนุน 1.1 ได้จริงหรือไม่ เพราะฉะนั้น สาเหตุที่ เหตุผล 1.1 ถูกทึกทักว่าเป็นความจริง ก็เพราะมีสาเหตุมาจากการที่ เหตุผล 1.1.1 ถูกทึกทักว่าสามารถนำาไปใช้สนับสนุน 1.1 ได้อีกทีหนึ่ง เมื่อเหตุผล 1.1.1 ถูกทึกทักว่าเป็นความจริง นั่นก็เท่ากับไปสนับสนุนเหตุผล 1.1 โดยปริยาย และเช่นกัน สาเหตุที่ 1.2 ถูกทึกทักว่าเป็นความจริง ก็ อันเนื่องมาจากการที่ 1.2.1 ถูกทึกทักว่าเป็นความจริง ที่ สามารถถูกนำาไปใช้สนับสนุน 1.2 ได้ แต่ความจริงหาได้เป็นเช่นนั้นไม่ ... เพราะถ้า เรา สามารถหัก ล้า ง ข้อ 1.1.1 และ ข้อ 1.2.1 ได้ นั้นก็จะ เท่ากับเป็นผลทำาให้ ข้อ 1.1 และ 1.2 ไร้ผลไปโดยปริยาย และเมื่อเป็นเช่นนั้น ก็จะเท่ากับพิสูจน์ไปโดยปริยายว่า ฮะ
  • 4. ดีษที่ถูกนำามาอ้างนั้น ไม่สามารถถูกนำามาใช้เป็นเหตุผล หรือหลักฐาน ในการที่จะอนุญาตให้ผู้หญิงเดินทางคน เดียวได้ ตอนนี้เรามาวิเคราะห์กัน: 1.1 ผู้หญิงคนนั้นเป็นผู้ที่ศรัทธา ที่ไม่ฝ่าฝืนอัลลอฮฺ โดยมี เหตุผล: 1.1.1 มาสนับสนุน คือ ข้อความที่ว่า “ นางจะไม่ กลัว ใครนอกจากอัล ลอฮฺ” เพราะฉะนั้น หญิงที่ท่านนบี พูด จึงกระทำาในสิ่งที่ไม่ฝ่าฝืนอัลลอฮฺ เพราะฉะนั้นการที่ นางเดินทางคนเดียวจึงถือว่าอนุญาต ไม่มีบาป ชี้แ จง: สิ่งที่จะต้องถามก็คือ ผู้ที่กล่าวว่า เขาไม่กลัวสิ่งใน นอกจากอัลลอฮฺนั้น ไม่สามารถทำาในสิ่งที่ฝ่าฝืนกับคำา สั่งของพระองค์อัลลอฮฺได้หรือ ... ซอฮาบะฮฺของท่านนบี เป็นมะอฺซูมไม่มีบาปเลยอย่างนั้นหรือ ...เปล่าเลย ... แต่ กระนั้นก็ตามพวกเขาไม่เกรงกลัวใครนอกจากอัลลอฮฺ... เพราะฉะนั้น คำาพูดที่ว่า “ไม่กลัวสิ่งใดยกเว้นอัลลอฮฺ ” ไม่ได้เป็นเงื่อนไขบังคับเลยว่าเขาผู้นั้นจะไม่สามารถทำา บาปใดๆได้ เพราะฉะนั้นตรงนี้ไม่สามารถถูกนำามาใช้ เป็นหลักฐานยืนยันได้ว่า หญิงผู้ไม่ได้ทำาในสิ่งที่ฝ่าฝืน หลักการศาสนา ... เขาอาจจะทำาก็ได้ หรือ อาจจะไม่ กระทำาก็ได้ จะรู้ได้ว่าเขาทำาบาปหรือไม่ก็จะต้อง ดู ว่าการกระทำาของเขาผู้นั้นว่าไปฝ่าฝืนข้อห้ามใดๆใน ศาสนาหรือไม่ ... แน่นอน หญิงคนนั้นที่ท่านนบีพูดถึง ในฮะดีษคงจะไม่ดีและประเสริฐไปกว่าท่านหญิงอาอิ ชะฮฺเป็นแน่ แต่กระนั้นก็ตามเราพบว่า แม้แต่ท่านหญิง
  • 5. อาอิชะฮฺ ในบางกรณีก็ฝ่าฝืนคำาสอนบางอย่าง จะอัน เนื่องมาจากเหตุผลใดก็แล้วแต่ ... 1.2 ฮะดีษบทนี้บ่งถึงความปลอดภัย โดยมี เหตุผล 1.2.1 มาสนับสนุนคือ ข้อความที่ว่า “ นางจะไม่ กลัวใครนอกจากอัลลอฮฺ” ชี้แ จง: ประเด็นต่อมาก็คือ การนำาความปลอดภัยมาโยง เข้ากับ การไม่กลัวสิ่งใดยกเว้นอัลลอฮฺ ซึงเป็นคนละ ่ เรื่องกัน เพราะ ถ้าเราจะถามว่า บรรดาซอฮาบะฮฺที่ไป ออกรบนั้น เกรงกลัวสิ่งใดไหมนอกจากอัลลอฮฺ ...คำา ตอบคือไม่อย่างแน่นอน ... แต่ถามว่าในสนามรบ มี ความปลอดภัยไหม... ก็ไม่อย่างแน่นอนเช่นกัน ... เพราะฉะนั้นการที่ท่านนบีพูดว่า ผู้หญิงคนนี้ “ เธอไม่ กลัวสิ่งใดยกเว้นอัลลอฮฺ ” ไม่ได้หมายความโดยปริยาย ว่า การเดินทางจะปลอดภัย ... อาจจะปลอดภัย หรือไม่ ก็ได้ จะรู้ได้ก็ต่อเมื่อมีฮะดีษอีกบทหนึ่งมาขยายเพื่อให้ ข้อมูลเพิ่มเติม เพราะฉะนั้น คำาพูดดังกล่าวจึงไม่ สามารถถูกนำามาใช้สนับสนุน หรือโยง ในเรื่องความ ปลอดภัยได้ ฮะดีษที่ถูกหยิบยกนำามาอ้างว่าอนุญาตให้ผู้หญิงเดิน ทางคนเดียวได้โดยไม่ต้องมีมะฮฺรอมก็คือ “ หากว่า ชีว ิต ท่า นยืน ยาว แน่น อนท่า นจะได้เ ห็น ผู้ห ญิง ที่อ ยูใ นกระโจมบนหลัง อูฐ คนเดีย วเดิน ่ ทางจาก อัล -ฮีเ ราะฮฺ ( เมือ งหนึ่ง ในอิร ัค ) จนกระ
  • 6. ทั่ง ฏอวาฟ (เวีย นรอบ) กะฮฺบ ะอฺ เธอไม่ก ลัว สิ่ง ใด ยกเว้น อัล ลอฮฺ ” วิเคราะห์: สิ่งที่จะต้องถามก็คือ ถามว่า ผู้ที่กล่าวว่า เขาไม่ กลัวสิ่งในนอกจากอัลลอฮฺนั้น ไม่สามารถทำาในสิ่งที่ ฝ่าฝืนกับคำาสั่งของพระองค์อัลลอฮฺได้หรือ ... ซอฮาบะฮฺ ของท่านนบีเป็นมะอฺซูมไม่มีบาปเลยอย่างนั้นหรือ ...เปล่าเลย ... แต่กระนั้นก็ตามพวกเขาไม่เกรงกลัวใคร นอกจากอัลลอฮฺ... เพราะฉะนั้น คำาพูดที่ว่า “ไม่กลัวสิ่ง ใดยกเว้นอัลลอฮฺ ” ไม่ได้เป็นเงื่อนไขบังคับเลยว่าเขาผู้ นั้นจะไม่สามารถทำาบาปใดๆได้ ... เขาอาจจะทำาก็ได้ หรือ อาจจะไม่กระทำาก็ได้ จะรู้ได้ว่าเขาทำาบาปหรือไม่ก็ จะต้อง ดูว่าการกระทำาของเขาผู้นั้นไปฝ่าฝืนข้อห้าม ใดๆในศาสนาหรือไม่ ... แน่นอน หญิงคนนั้นที่ท่านนบี พูดถึงในฮะดีษคงจะไม่ดีและประเสริฐไปกว่าท่านหญิง อาอิชะฮฺเป็นแน่ แต่กระนั้นก็ตามเราพบว่า แม้แต่ท่าน หญิงอาอิชะฮฺก็สามารถฝ่าฝืนคำาสอนบางอย่างของ ศาสนาได้ จะอันเนื่องมาจากเหตุผลใดก็แล้วแต่ ประเด็นต่อมาก็คือ การนำาความปลอดภัยมาโยง เข้ากับ การไม่กลัวสิ่งใดยกเว้นอัลลอฮฺ ซึงเป็นคนละ ่ เรื่องกัน เพราะ ถ้าเราจะถามว่า บรรดาซอฮาบะฮฺที่ไป ออกรบนั้น เกรงกลัวสิ่งใดไหมนอกจากอัลลอฮฺ ...ไม่ อย่างแน่นอน ... แต่ถามว่าในสนามรบ มีความปลอดภัย ไหม... ก็ไม่อย่างแน่นอน ... เพราะฉะนั้นการที่ท่านนบี พูดว่า ผู้หญิงคนนี้ “ เธอไม่กลัวสิ่งใดยกเว้นอัลลอฮฺ ” ไม่ได้หมายความโดยปริยายว่า การเดินทางจะปลอดภัย ... อาจจะปลอดภัย หรือไม่ก็ได้ จะรู้ได้ก็ต่อเมื่อมีฮะดีษ อีกบทหนึ่งมาขยายเพื่อให้ข้อมูลเพิ่มเติม
  • 7. และถามว่าเรื่องของการห้ามผู้หญิงเดินทางโดย ปราศจากมะฮฺรอมนั้น ท่าน นบีบ่งบอกเอาไว้ไหมว่า อัน เนื่องจากเหตุผลทางด้านความปลอดภัย? ... ท่านนบี บอกเอาไว้ไหมว่า ถ้าเดินทางแล้วเกิดความปลอดภัยก็ อนุญาตให้นางเดินทางคนเดียวได้?.... คำาตอบคือเปล่า เลย... ถ้าท่านนบีไม่ได้บอก เช่นนั้นก็แสดงว่าเรา ทึกทักไปเอง แทนท่านนบี ...และถ้าราเห็นด้วยว่า ไม่ จำาเป็นที่ท่านนบีต้องบอกสาเหตุ แต่เราสามารถวิเคราะห์ หาสาเหตุเองได้ นั่นก็หมายความว่า หญิงที่ถูกหย่าก็ไม่ จำาเป็นต้องรอให้หมดประจำาเดือนถึง 3 ครั้ง เพราะนาง สามารถไปตรวจดูได้ด้วยการแพทย์สมัยใหม่ว่านางตั้ง ท้องหรือไม่ ... เพราะเป้าหมายที่ให้หมดประจำาเดือนถึง 3 ครั้งก็เพื่อที่จะมั่นใจว่านางไม่ได้ตั้งท้องกับสามีคน ก่อน ... เพราะฉะนั้น เมื่อตรวจดูแล้ว พบว่าไม่มีการ ต้องท้องเกิดขึ้นแน่นอน เช่นนี้นางก็สามารถที่จะไป แต่งงานกับชายคนใหม่ได้เลย โดยไม่จำาเป็นต้องรอให้ หมดประจำาเดือนถึง 3 ครั้ง...อย่างนี้ใช่ไหม?... แต่ กระนั้นก็ตามไม่มใครยอมรับแน่นอนว่าอนุญาตให้ทำา ี เช่นนั้นได้ ทั้งๆที่เรื่องนี้เป็นเรื่องทางโลก ... เมื่อเป็นเช่น นี้เราจึงได้รับบทเรียนว่า เรื่องใดก็แล้วแต่ที่เป็นเรื่องทาง โลก แต่มีหลักฐานจากทางศาสนาระบุห้ามเอาไว้ไม่ให้ ทำา เมื่อเป็นเช่นนี้ เราจะต้องหยุดไม่กระทำาสิ่งที่ถูกห้าม เอาไว้ โดยเราจะต้องไม่ทึกทักหาสาเหตุของการสั่งการ ห้ามเอาเอง ว่าที่ห้ามนั้น มีสาเหตุมาจากสิ่งนั้น หรือ สิ่ง นี้ เพื่อที่จะหาข้อยกเว้น ในกรณีที่สาเหตุแห่งการห้าม นั้นได้หมดไปแล้ว นอกจากจะมีสาเหตุระบุเอาไว้จาก หลักฐานทางศาสนาว่าสาเหตุที่ห้ามเอาไว้นั้นเพราะ อะไร และถ้าสาเหตุแห่งการห้ามนั้นได้หมดไปแล้วก็ สามารถทำาสิ่งนั้นๆได้ ... การคลุมฮิญาบก็เช่นกัน พระองค์อัลลอฮฺทรงระบุ สาเหตุที่ให้คลุมเอาไว้ว่า เพื่อ ที่พ วกนางจะไม่ถ ูก
  • 8. รบกวน (33:59) จะสังเกตุได้ว่า ถึงแม้แต่พระองค์ได้ บอกสาเหตุที่ให้คลุมฮิญาบเอาไว้อย่างชัดเจน แต่ กระนั้นก็ไม่มีใครคนไหน กล่าวว่า “ เพราะฉะนั้นถ้านาง มั่นใจว่าจะไม่ถูกรบกวน จากเพศตรงกันข้าม ก็อนุญาต ให้นางไม่ต้องใส่ฮิญาบได้ ” ... แล้วทำาไมทีกับคำาสั่งที่ แม้แต่ตัวท่านนบีเองก็ไม่ได้บอกสาเหตุที่ห้ามเอาไว้ว่าทำา ไม่ถึงห้ามผู้หญิงเดิน คนเดียวโดยไม่มมะฮฺรอม แต่เรา ี กลับไม่ยอมทำาตาม แต่พยายามทึกทักหาสาเหตุเอาเอง เพื่อที่จะหาข้อยกเว้นให้ได้ ... แต่ทีเรื่องการคลุมฮิญา บที่อัลลอฮฺบอกสาเหตุเอาไว้อย่างชัดเจน แต่กระนั้นเรา ก็ไม่ เข้าใจไปว่า ถ้าสาเหตุแห่งการห้ามหมดไปแล้ว เพราะฉะนั้นอนุญาตให้ไม่ต้องคลุมฮิญาบ ... แต่ก็ยัง ต้องคลุมฮิญาบอยู่ดี ( ซึ่งนั่นเป็นความเข้าใจที่ถูก) เพราะฉะนั้น ตรงนี้เราได้รับบทเรียนว่า ถึงแม้ว่าสาเหตุ แห่งการห้ามสิ่งหนึ่งๆจะถูกบอกเอาไว้ก็ตาม แต่นั่นก็ เป็นการอธิบายให้รับรู้เอาไว้ว่า เพราะอะไรถึงสั่งใช้ หรือสั่งห้ามสิ่งนั้นเอาไว้ แต่นั่นก็ไม่ได้เป็นเหตุผลว่า ถ้าสาเหตุที่ห้ามสิ่งนั้นๆเอาไว้ได้หมดไปแล้ว ในชั่วเวลา หนึ่งเวลาใด ก็จะหมายความว่าอนุญาตให้ทำาสิ่งนั้นๆ ได้...เปล่าเลย ... นอกจากจะมีระบุเอาไว้อย่างชัดเจน จากตัวบทหลักฐานว่า ถ้าสาเหตุแห่งการห้ามสิ่งนั้นๆได้ หมดไปแล้วก็อนุญาตให้ทำาสิ่งนั้นๆได้ เช่น พระองค์ อัลลอฮฺอนุญาตให้ผู้หญิงไม่ต้องคลุมศีรษะได้ในกรณีที่ อยู่ต่อหน้ามะฮฺรอม ซึงเป็นการยกเว้นจากการห้ามเปิด ่ ศีษระ โดยมีหลักฐานระบุเอาไว้ ไม่ใช่การยกเว้นที่ ทึกทักหาสาเหตุกันขึ้นมาเอง ... เพราะฉะนั้นสิ่งหนึ่งที่ ถูกสั่งห้าม หรือ สั่งใช้ด้วยกับหลักฐานจากอัล-กุรอาน หรือ ฮะดีษ ถ้าจะยกเว้นข้อสั่งห้าม หรือข้อ สั่งใช้นั้นๆ ก็ จะต้องด้วยกับหลักฐานที่มาจาก อัล-กุรอาน หรือ ฮะดีษ จะมาคิดหาข้อยกเว้นเอาเองไม่ได้ เพราะฉะนั้นข้อสั่งใช้ หรือข้อสั่งห้ามใดก็แล้วแต่ ที่ หลักฐานไม่ได้ระบุถึงข้อยกเว้นเอาไว้ เราไม่มหน้าที่ๆที่ ี
  • 9. จะทึกทักหาสาเหตุไปเอง เพื่อที่จะนำาไปสู่ข้อยกเว้น ของ สิ่งนั้นๆ ... ซึ่งในกรณีนี้แตกต่างจากการตีความตามตัวอักษร ที่ รู้ได้ด้วยสามัญสำานึกเลยว่าจะเป็นการน่าเกลียด และ ขัดกับสามัญสำานึก ถ้าเราไม่มองถึงเจตนารมณ์ในการ ห้ามสิ่งนั้นๆ และตีความตามตัวอักษร เช่น ท่านนบี ห้ามปัสสาวะลงในนำ้าที่ไม่ไหล (นำ้านิ่ง ) แต่กระนั้นก็ตาม มีคนที่ปัสสาวะลงในแก้วนำ้า และจากนั้นก็นำาไปเทลงใน นำ้านิ่งนั้น ...เช่นนี้สามัญสำานึกของทั้งผู้ที่เป็นมุสลิมและ ไม่ใช่มุสลิมบ่งบอกว่า เป็นการกระทำาที่ผิด และจะ ตีความตามตัวอักษรไม่ได้... และตรงนี้ไม่ได้กับข้อ ยกเว้นแต่อย่างใด และไม่มีความแตกต่างกันได้ทาง ความเป็นจริงเลยก็ว่าได้ เพราะ ปัสสาวะก็ลงไปผสมกับ นำ้าอยู่ดี เพียงแต่จะลงไปผสมกับนำ้านิ่งทางไหนเท่านั้น เอง ... และการหาสาเหตุเพื่อที่จะไม่ทำาตามข้อสั่งใช้ หรือ สั่งห้ามนั้นๆ ย่อมแตกต่างกับ การหาสาเหตุเพื่อที่จะทำา เพิ่มเติมเข้าไปจากสิ่งที่ถูกห้าม หรือ ถูกใช้นั้น เพราะ อย่างหลังนี้ย่อมเป็นสิ่งที่ดี และรอบคอบ ไม่เป็นผลทำาให้ เกิดการละเมิดคำาสอน หรือตัดคำาสอนออกทิ้งไป เช่น ท่านนบีได้สั่งห้ามไม่ให้ปัสสาวะลงในนำ้านิ่ง ... จะเห็น ได้ว่า ถ้าเราวิเคราะห์ข้อห้ามนี้เราจะรู้ถึงสาเหตุของข้อ ห้าม นั่นก็คือ เพื่อไม่ให้เกิดความสกปรกแก่นำ้านั้น เพราะฉะนั้น การอุจจาระก็เป็นสิ่งที่ถูกห้ามไปโดย ปริยาย การทิ้งขยะเน่าเสียจึงถูกห้ามโดยปริยายเช่น กัน... และ ถึงแม้นำ้านิ่งนั้นจะมากขณะไหนก็ตาม... มาก ขนาดที่การปัสสาวะลงไปแทบจะไม่มีผลใดๆกับนำ้านั้น เลย... ก็ไม่ได้เป็นเหตุผลที่จะทำาให้เราสามารถปัสสาวะ ลงในนำ้านิ่งนั้นได้... จะเห็นได้ว่าตรงนี้เป็นการหา สาเหตุแห่งการห้ามเพื่อที่จะทำาเพิ่มเติมหรือเกินไปจาก สิ่งที่ถูกห้ามนั้นๆ เพราะเป็นผลดี โดยไม่มีการตัดสิ่งใด
  • 10. ทิ้งไปจากข้อห้าม... ซึงเหมือนกับ การคลุมฮิญาบ ก็ ่ เพื่อ ที่พ วกนางจะไม่ถ ูก รบกวน แต่นางอาจจะทำา เพิ่มเติมมากไปกว่าข้อสั่งใช้นั้นก็ได้ โดยมองถึงเป้า หมายทีให้คลุม นั่นก็คือ นางอาจจะคลุมหน้าด้วยก็ได้ ่ ถ้ารู้ว่า เปิดหน้าแล้วจะทำาให้เกิดการถูกรบกวนได้ หรือ ถ้ามั่นใจอย่างแน่นอนว่า ถ้าเปิดหน้าในสถานการณ์ นั้นๆแล้วจะทำาให้นางได้รับอันตรายจาการถูกรบกวน เช่นนี้ก็ให้นางคลุมหน้าไปด้วย จากที่เคยคลุมเฉพาะศีษ ระ ... ซึงต่างจาก เรื่องผู้หญิงเดินทางคนเดียวโดยไม่มี ่ มะฮฺรอม โดยมีการหาข้อยกเว้น โดยอาศัยข้ออ้างเรื่อง ความปลอดภัย เพราะนั่นคือ การทำาให้ข้อสั่งห้ามถูกตัด ทิ้งออกไป ( นั่นคือการห้ามไม่ให้หญิงเดินทางคน เดียวโดยไม่มีมะฮฺรอม ) ...ซึ่งแตกต่างกับกรณีที่ ถ้าไป กับมะฮฺรอมคนเดียวแล้วกลัวจะไปปลอดภัยเท่ากับไปกับ มะฮฺรอม 2 คน ก็สนับสนุนให้ไปกับมะฮฺรอม 2 คน ... จะเห็นได้ว่าในกรณีนี้เป็นการทำาเพิ่มเติมขึ้นมาจากข้อ สั่งใช้ เพื่อประโยชน์มากกว่าที่จะเกิดขึ้น ย่อมเป็นสิ่งที่ สามารถกระทำาได้ ...