SlideShare a Scribd company logo
1 of 402
Download to read offline
เลมท่ี 1   ต.ค. 2546            หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง                     พุทธศักราช 2546                  ประเภทวิชาอุตสาหกรรม                      1. สาขาวชาเครองกล                                ิ     ่ื                      2. สาขาวิชาเทคนิคการผลิต                      3. สาขาวิชาเทคนิคโลหะ                      4. สาขาวชาเขยนแบบเครองกล                                  ิ ี         ่ื                      5. สาขาวชาเทคนคอตสาหกรรม                              ิ           ิ ุ                      6. สาขาวชาการตอเรอ                                   ิ      ื                      7. สาขาวิชาเทคนิคการหลอ                   กระทรวงศึกษาธิการ
คานา                                          ํ ํ           หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พุทธศักราช 2546 พฒนาขนใหสอดคลองกบความ                                         ้                        ั  ้ึ             ัเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีในยุคโลกาภิวตน เพือผลิตกําลังคนระดับผูชานาญการทีมความรู ความ                                      ั       ่                   ํ       ่ ีชํานาญในวิชาชีพ มีคุณธรรม วินย เจตคติ บุคลิกภาพ และเปนผมปญญาทเ่ี หมาะสม สามารถนําไปใชใน                             ั                        ู ี การประกอบอาชีพไดตรงตามความตองการของตลาดแรงงาน สอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจและสังคมทังในระดับชุมชน ระดับทองถิ่นและระดับชาติ โดยเปดโอกาสใหผเู รยนเลอกระบบและวธการเรยนได     ้                                                        ี ื              ิี     ีอยางเหมาะสมตามศักยภาพ ความสนใจและโอกาสของตน สงเสรมการประสานความรวมมอในการจด                                                        ิ                      ื        ัการศึกษาและพัฒนาหลักสูตรรวมกัน ระหวางสถาบัน หนวยงาน และองคกรตาง ๆ ทั้งในระดับชาติ ทองถนและชมชน  ่ิ     ุ            การพัฒนาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พุทธศักราช 2546 สําเร็จลงไดดวยความ                                                      ้                             รวมมืออยางดียิ่งจากหนวยราชการ สถาบนการศกษา อาจารยผูสอน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒภาคเอกชน                                      ั      ึ                                  ิโดยเฉพาะคณะกรรมการดังรายนามที่ปรากฏ ซึงไดอทศสติปญญา ความรู ประสบการณ ตลอดจนสละ                                           ่ ุ ิ        เวลามาชวยงานเพื่อพัฒนาการศึกษาของประเทศชาติเปนสําคัญ กระทรวงศึกษาธิการจึงขอขอบคุณผูมี  สวนรวมในการดําเนินการทุกทานเปนอยางสูงไว ณ ทีน้ี                                                  ่                                                       กระทรวงศกษาธการ                                                               ึ ิ                                                            2546
สารบญ                                                                   ั                                                                                                                                       หนาคํานําประกาศกระทรวงศึกษาธิการหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546     หลักการ ..................................................................................................................................1     จุดหมาย ..................................................................................................................................2หลักเกณฑการใชหลักสูตร............................................................................................................3รหัสวิชาหลักสูตร ..........................................................................................................................7โครงสรางหลักสตร                   ู     สาขาวิชาเครื่องกล ..................................................................................................................9     สาขาวิชาเทคนิคการผลิต .....................................................................................................81     สาขาวิชาเทคนิคโลหะ .......................................................................................................133     สาขาวิชาเขียนแบบเครื่องกล ..............................................................................................177     สาขาวิชาเทคนิคอุตสาหกรรม ............................................................................................199     สาขาวิชาการตอเรือ ............................................................................................................251     สาขาวิชาเทคนิคการหลอ ...................................................................................................281กลุมวิชาเรียนรวม     รายวิชาสามัญ......................................................................................................................... ก     รายวชาเรยนรวมประเภทวชา................................................................................................. ข            ิ ี                         ิภาคผนวก     คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร             กรมอาชีวศึกษา ที่ 299/2546             กรมอาชีวศึกษา ที่ 427/2546             กรมอาชีวศึกษา ที่ 620/2546
1             หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง                                พุทธศักราช 2546                                       หลักการ1. เปนหลักสูตรที่มุงผลิตและพัฒนาแรงงานระดับผูชํานาญการเฉพาะสาขาอาชีพ สอดคลองกับ   ตลาดแรงงาน สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม สามารถเปน   หัวหนางานหรือเปนผูประกอบการได2. เปนหลักสูตรที่มุงเนนใหผูเรียนมีสมรรถนะในการประกอบอาชีพ มีความรูเต็มภูมิ ปฏิบัติไดจริง   และ เขาใจชีวต                ิ3. เปนหลักสูตรที่เปดโอกาสใหผูประกอบการวิชาชีพมีสวนรวมในการเรียนการสอนวิชาชีพ   สามารถถายโอนประสบการณการเรียนรูจากสถานประกอบการ และสามารถสะสมการเรียนรู   และประสบการณได                                              หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546
2                                          จุดหมาย    1. เพื่อใหมีความรูและทักษะพืนฐานในการดํารงชีวิต สามารถศึกษาคนควาเพิ่มเติมหรือศึกษาตอใน                                     ้       ระดับที่สูงขึ้น    2. เพื่อใหมีทกษะและสมรรถนะในงานอาชีพตามมาตรฐานวิชาชีพ                    ั    3. เพื่อใหสามารถบูรณาการความรู ทักษะจากศาสตรตาง ๆ ประยุกตใชในงานอาชีพ สอดคลอง       กับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี    4. เพื่อใหมเี จตคติที่ดีตออาชีพ มีความมั่นใจและภาคภูมิใจในงานอาชีพ รักงาน รักองคกร สามารถ       ทํางานเปนหมูคณะไดดี และมีความภาคภูมใจในตนเองตอการเรียนวิชาชีพ                                                  ิ    5. เพื่อใหมีปญญา ใฝรู ใฝเรียน มีความคิดสรางสรรค มีความสามารถในการจัดการ การ       ตัดสินใจและการแกปญหา รูจักแสวงหาแนวทางใหม ๆ มาพัฒนาตนเอง ประยุกตใชความรูใน       การสรางงานใหสอดคลองกับวิชาชีพ และการพัฒนางานอาชีพอยางตอเนื่อง    6. เพื่อใหมีบุคลิกภาพทีดี มีคณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย มีวินย มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรงทั้ง                                ่      ุ                             ั       รางกายและจิตใจ เหมาะสมกับการปฏิบัติในอาชีพนัน ๆ   ้    7. เพื่อใหเปนผูมพฤติกรรมทางสังคมที่ดีงาม ทั้งในการทํางาน การอยูรวมกัน มีความรับผิดชอบ                       ี       ตอครอบครัว องคกร ทองถิ่นและประเทศชาติ อุทิศตนเพื่อสังคม เขาใจและเห็นคุณคาของ       ศิลปวัฒนธรรม ไทย ภูมิปญญาทองถิ่น ตระหนักในปญหาและความสําคัญของสิ่งแวดลอม    8. เพื่อใหตระหนักและมีสวนรวมในการพัฒนาและแกไขปญหาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเปนกําลัง       สําคัญในดานการผลิตและใหบริการ    9. เพื่อใหเห็นคุณคาและดํารงไวซึ่งสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย ปฏิบัติตนในฐานะ       พลเมืองดีตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข                                                                ประเภทวิชาอุตสาหกรรม / อุตสาหกรรมสิ่งทอ / สารสนเทศและการสื่อสาร
3                         หลักเกณฑการใชหลักสูตร                ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 25461. การเรียนการสอน   1.1 การเรียนการสอนตามหลักสูตรนี้ ผูเรียนสามารถลงทะเบียนเรียนไดทกวิธเี รียนทีกําหนด และ                                                                        ุ        ่       นําผลการเรียนแตละวิธีมาประเมินผลรวมกันได สามารถโอนผลการเรียน และขอเทียบความรู       และประสบการณได   1.2 การจัดการเรียนการสอนเนนการปฏิบัติจริง โดยสามารถนํารายวิชาไปจัดฝกในสถาน       ประกอบการ ไมนอยกวา 1 ภาคเรียน2. เวลาเรียน   2.1 ในปการศึกษาหนึ่ง ๆ ใหแบงภาคเรียนออกเปน 2 ภาคเรียนปกติ ภาคเรียนละ 20 สัปดาห โดยมี       เวลาเรียนและจํานวนหนวยกิตตามที่กําหนด และสถานศึกษาอาจเปดสอนภาคเรียนฤดูรอนได       อีกตามที่เห็นสมควร ประมาณ 5 สัปดาห   2.2 การเรียนในระบบชั้นเรียน ใหสถานศึกษาเปดทําการสอนไมนอยกวาสัปดาหละ 5 วัน       คาบละ 60 นาที (1 ชั่วโมง)   2.3 เวลาเรียนตามปกติ สําหรับผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ       เทียบเทาในประเภทวิชาและสาขาวิชาที่กาหนด 2 ป สําหรับผูสาเร็จการศึกษาในระดับ                                               ํ                  ํ       มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา ผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพตาง       ประเภทวิชา/สาขาวิชาที่กําหนด ประมาณ 3 ป3. หนวยกิต         ใหมีจํานวนหนวยกิตตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 85 หนวยกิต และไมเกิน 100 หนวยกิต                                                 การคิดหนวยกิตถือเกณฑดงนี้                         ั   3.1 รายวิชาภาคทฤษฎี 1 ชั่วโมงตอสัปดาห ตลอดภาคเรียนไมนอยกวา 20 ชั่วโมง                                                                       มีคา 1 หนวยกิต   3.2 รายวิชาที่ประกอบดวยภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติใหบูรณาการการเรียนการสอน กําหนด       2 - 3 ชั่วโมงตอสัปดาห ตลอดภาคเรียนไมนอยกวา 40 - 60 ชั่วโมง มีคา 1 หนวยกิต   3.3 รายวิชาที่นําไปฝกงานในสถานประกอบการ กําหนดเวลาในการฝกปฏิบัติงานไมนอยกวา        40 ชั่วโมง มีคา 1 หนวยกิต   3.4 การฝกอาชีพในระบบทวิภาคี ใชเวลาฝกไมนอยกวา 40 ชั่วโมง มีคา 1 หนวยกิต                                                                         3.5 การทําโครงการใหเปนไปตามที่กําหนดไวในหลักสูตร                                              หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546
44. โครงสราง          โครงสรางของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 แบงเปน 3 หมวดวิชาฝกงาน และกิจกรรมเสริมหลักสูตร ดังนี้    4.1 หมวดวิชาสามัญ        4.1.1 วิชาสามัญทั่วไป เปนวิชาทีเ่ ปนพื้นฐานในการดํารงชีวต  ิ        4.1.2 วิชาสามัญพื้นฐานวิชาชีพ เปนวิชาที่เปนพื้นฐานสัมพันธกบวิชาชีพ                                                                          ั    4.2 หมวดวิชาชีพ แบงเปน        4.2.1 วิชาชีพพื้นฐาน เปนกลุมวิชาชีพสัมพันธที่เปนพื้นฐานทีจาเปนในประเภทวิชานั้น ๆ                                                                       ่ํ        4.2.2 วิชาชีพสาขาวิชา เปนกลุมวิชาชีพหลักในสาขาวิชานั้น ๆ        4.2.3 วิชาชีพสาขางาน เปนกลุมวิชาชีพที่มุงใหผูเรียนมีความรูและทักษะเฉพาะดานในงาน               อาชีพตามความถนัดและความสนใจ        4.2.4 โครงการ    4.3 หมวดวิชาเลือกเสรี    4.4 ฝกงาน    4.5 กิจกรรมเสริมหลักสูตร          จํานวนหนวยกิตและรายวิชาของแตละหมวดวิชาตลอดหลักสูตร ใหเปนไปตามกําหนดไวในโครงสรางของแตละประเภทวิชาและสาขาวิชา สวนรายวิชาแตละหมวดวิชา สถานศึกษาสามารถจัดตามที่กําหนดไวในหลักสูตร หรือจัดตามความเหมาะสมของสภาพทองถิ่น ทั้งนี้ สถานศึกษาตองกําหนดรหัสวิชา จํานวนคาบเรียนและจํานวนหนวยกิต ตามระเบียบทีกําหนดไวในหลักสูตร                                                           ่5. โครงการ   5.1 สถานศึกษาตองจัดใหผูเรียนจัดทําโครงการในภาคเรียนที่ 4 ไมนอยกวา 160 ชั่วโมง       กําหนดใหมีคา 4 หนวยกิต   5.2 การตัดสินผลการเรียนและใหระดับผลการเรียน ใหปฏิบัติเชนเดียวกับรายวิชาอื่น6. ฝกงาน   6.1 ใหสถานศึกษานํารายวิชาในหมวดวิชาชีพไปจัดฝกในสถานประกอบการ อยางนอย 1 ภาคเรียน   6.2 การตัดสินผลการเรียนและใหระดับผลการเรียน ใหปฏิบัติเชนเดียวกับรายวิชาอื่นประเภทวิชาอุตสาหกรรม / อุตสาหกรรมสิ่งทอ / สารสนเทศและการสื่อสาร
57. การเขาเรียน            ผูเขาเรียนตองมีพื้นความรูและคุณสมบัติ ดังนี้     7.1 พื้นความรู            สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา หรือสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา            ผูเขาเรียนที่สาเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา                            ํ                                                        และผูสําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพตางประเภทวิชาและสาขาวิชาที่กําหนด ตองเรียนรายวิชาปรับพื้นฐานวิชาชีพใหครบตามที่ระบุไวในหลักสูตรแตละประเภทวิชาและสาขาวิชา            การเรียนรายวิชาปรับพื้นฐานวิชาชีพ ใหเปนไปตามขอกําหนดที่ระบุไวในแตละสาขาวิชา     7.2 คุณสมบัติ            ใหเปนไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการจัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศ-นียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 พ.ศ. 25468. การประเมินผลการเรียน        ใหเปนไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 พ.ศ. 25469. กิจกรรมเสริมหลักสูตร         สถานศึกษาตองจัดใหมกิจกรรมเพื่อปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม คานิยม ระเบียบวินัยของ                             ีตนเอง การสันทนาการ และการสงเสริมการทํางานโดยใชกระบวนการกลุมในการทําประโยชนตอชุมชน ทํานุบํารุงขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม        ซึ่งประกอบดวยการวางแผน ลงมือปฏิบัติประเมินผล และปรับปรุงการทํางาน ไมนอยกวา 120 ชั่วโมง                                    10. การสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร    10.1 ประเมินผานรายวิชาในหมวดวิชาสามัญ หมวดวิชาชีพ และหมวดวิชาเลือกเสรี ตาม          มาตรฐานที่กาหนดไวในหลักสูตรแตละประเภทวิชาและสาขาวิชา                      ํ    10.2 ไดจานวนหนวยกิตสะสมครบตามโครงสรางของหลักสูตรแตละประเภทวิชาและสาขาวิชา              ํ    10.3 ไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 2.00                    10.4 เขารวมกิจกรรมเสริมหลักสูตรและผานการประเมินตามที่กําหนด    10.5 ประเมินผานมาตรฐานวิชาชีพสาขาวิชา                                                 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546
611. การแกไขเปลียนแปลงหลักสูตร                ่    11.1 ใหปลัดกระทรวงศึกษาธิการเปนผูมีอํานาจในการแกไข เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลงและยกเลิก         ประเภทวิชาและสาขาวิชา ในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546    11.2 ใหอธิบดีกรมอาชีวศึกษาเปนผูมอํานาจในการแกไข เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลงสาขางาน ใน                                       ี         หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546    11.3 ใหสถานศึกษาเปนผูมอํานาจพัฒนา เพิ่มเติมรายวิชา ใหเหมาะสมกับสภาพทองถิ่น โดย                             ี         ตองรายงานใหตนสังกัดทราบประเภทวิชาอุตสาหกรรม / อุตสาหกรรมสิ่งทอ / สารสนเทศและการสื่อสาร
7                  รหัสหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 25461 2 3 4 - 5 6 7 8                                         ชื่อวิชา                                หนวยกิต           (ชั่วโมง)                                                               ลําดับที่วิชา      01 - 99                 สาขาวิชา/วิชาเรียนรวม                        กลุมวิชา3 0 0 0 วิชาเรียนรวมหลักสูตร                                  01 กลุมบริหารงานคุณภาพ                                                               02 กลุมเทคโนโลยีคอมพิวเตอร                                                               0X3 0 0 0 วิชาเรียนรวม(หมวดวิชาสามัญ)                           11    กลุมวิชาภาษาไทย                        ลําดับที่วิชาสามัญ                                                               12    กลุมวิชาภาษาอังกฤษและภาษาอื่น ๆ        01-19 ทั่วไป                                                               13    กลุมวิชาสังคมศึกษา                     20-99 พื้นฐานวิชาชีพ                                                               14    กลุมวิชาวิทยาศาสตร                                                               15    กลุมวิชาคณิตศาสตร                                                               16    กลุมวิชามนุษยศาสตร3 0 0 0 วิชาเรียนรวมหลักสูตร                                  20 กิจกรรมรวมหลักสูตร3 1 0 0 วิชาเรียนรวม(ประเภทวิชา)                              00    วิชาปรับพื้นฐานวิชาชีพประเภทวิชา                                                               01    วิชาชีพพื้นฐาน(รวมประเภทวิชา)                                                               02    วิชาชีพสาขางานเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม                                                               03    วิชาชีพพื้นฐาน(รวมคณะวิชาเครื่องกล)                                                               04    วิชาชีพพื้นฐาน(รวมคณะวิชาไฟฟา)                                                               05    วิชาชีพพื้นฐาน(รวมคณะวิชากอสราง)                                                               06    วิชาชีพพื้นฐาน(รวมคณะวิชาเคมี)3 1 X X สาขาวิชา . . . . . . . . . . . . . . . . . . .         00 วิชาปรับพื้นฐานวิชาชีพสาขาวิชา                                                               10 วิชาชีพพื้นฐาน                                                               20 วิชาชีพสาขาวิชา                                                               21 - 39 วิชาชีพสาขางานและการฝกงาน                                                               40 - 59 วิชาทวิภาคี (สาขาวิชาและสาขางาน)                                                               60 โครงการ                 ประเภทวิชา                  1 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม                 6 ประเภทวิชาประมง                  2 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม                 7 ประเภทวิชาอุตสาหกรรมทองเทียว                  3 ประเภทวิชาศิลปกรรม                   8 ประเภทวิชาอุตสาหกรรมสิ่งทอ                  4 ประเภทวิชาคหกรรม                     9 ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร                  5 ประเภทวิชาเกษตรกรรม                 หลักสูตร                  3 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง                                            ปวส.                                                                 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พุทธศักราช 2546                                     ้                    ประเภทวิชาอุตสาหกรรม                       สาขาวิชาเครื่องกล                                      จุดประสงค        ผูที่สําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาเครื่องกล สามารถปฏิบัติงานระดับชางเทคนิค ผูควบคุมงาน และผูชวยวิศวกรมความรู ความสามารถ เจตคตและประสบการณดานตาง ๆ ดงตอไปน้ี  ี                            ิ                       ั    1. เพื่อใหมีความรูและทักษะเกี่ยวกับ ภาษา สังคม มนุษยศาสตร คณิตศาสตร วิทยาศาสตร นําไป      ประยกตพฒนาตนเองและวชาชพเครองกลใหเ กดความเจรญกาวหนา             ุ  ั                 ิ ี ่ื          ิ        ิ          2. เพื่อใหมีความรูและทักษะในหลักการและกระบวนการทํางานพื้นฐานของชางเทคนิคที่เกี่ยวกับ      การบริหารจัดการและการวางแผนในงานอตสาหกรรม และสามารถติดตามความเจริญกาวหนา                                               ุ      ทางเทคโนโลยีนํามาพัฒนางานอาชีพเครื่องกลใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล   3. เพื่อใหมีความคิดวิเคราะห แกปญหา สรางสรรคและนําเทคโนโลยีมาใชในการพัฒนางาน      เทคนิคยานยนต เทคนิคเครืองกลอุตสาหกรรม เทคนิคเครืองกลเรือ เทคนิคเครืองกลเกษตร                                    ่                           ่                  ่      เทคนคเครองกลเรอพาณชย            ิ ่ื         ื     ิ   4. เพื่อใหมีบุคลิกภาพที่ดี มความรบผดชอบตอตนเอง ครอบครัวและสังคม มีคณธรรมจริยธรรม                                 ี     ั ิ                                    ุ      และกิจนิสัยที่ดีในงานอาชีพ   5. เพื่อใหสามารถประกอบอาชีพในสถานประกอบการอุตสาหกรรมหรือสรางสรรคหรือประกอบ      อาชีพอิสระในสาขาวิชาเครื่องกล
10                                       มาตรฐานวชาชพ                                               ิ ี       1. สื่อสารทางเทคนิคในงานอาชีพ       2. จดการระบบฐานขอมลในงานอาชพ            ั                                            ู           ี       3. แกปญหาโดยใชคณตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและกระบวนการแกปญหา                                                    ิ       4. จัดการ ควบคุม และพัฒนาคุณภาพงาน       5. แสดงบุคลิกภาพและคุณลักษณะของชางเทคนิค       6. ทดสอบการทํางานของเครืองยนต                             ่       7. ทดสอบคุณสมบัติของน้ํามันเชื้อเพลิง วัสดุหลอลื่นและของไหล       8. ทดสอบความแขงแรงของวสดุ                      ็             ั       9. ทดสอบการทํางานของระบบนิวเมติกสและไฮดรอลิกส       10. บริการเครื่องยนตแกสโซลีนและดีเซล       11. บริการระบบสงกําลังและระบบเครื่องลางรถยนต       12. บริการระบบไฟฟาและสิ่งอํานวยความสะดวกสาขางานเทคนิคยานยนต       13. บริการระบบฉีดเชื้อเพลิงแกสโซลีน       14. บริการระบบฉีดเชื้อเพลิงดีเซล       15. บรการระบบปรบอากาศ                         ิ                       ั       16. บรการเกยรอตโนมติ                 ิ           ี ั                        ัสาขางานเทคนคเครองกลอตสาหกรรม               ิ ่ื                          ุ       13. บริการเครืองยนตดเี ซลอุตสาหกรรม                                  ่       14. บริการเครืองกําเนิดไอน้าอุตสาหกรรม                                ่                             ํ       15. บริการเครืองทําความเย็นอุตสาหกรรม                                    ่สาขางานเทคนคเครองกลเรอ              ิ ่ื                             ื       13. บริการเครืองยนตเรือ                              ่       14. บริการระบบสงกําลังเรือ       15. บรการเรอและอปกรณ                     ิ     ื                       ุสาขางานเทคนิคเครื่องกลเกษตร       13. บรการเครองจกรกลงานพช                       ิ                  ่ื ั                  ื       14. บริการเครืองจักรกลงานสัตว   ่       15. บรการเครองจกรกลหนก                   ิ                  ่ื ั                  ัหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พทธศักราช 2546 (ปวส. 2546)                              ้     ุ
11สาขางานเทคนคเครองกลเรอพาณชย              ิ ่ื        ื       ิ       13. ดํารงชีวตในเรือ                    ิ       14. บรการเครองกลเรอพาณชย               ิ      ่ื    ื        ิ       15. บรการเครองกลไฟฟาเรอ                 ิ    ่ื          ื       16. บริการระบบปรับอากาศและเครื่องทําความเย็นสาขางานสิ่งแวดลอม       13. บําบัดน้าเพือการบริโภคจากแหลงธรรมชาติทางกายภาพและทางเคมี                   ํ ่       14. บาบดนาเสยและบารงรกษาระบบบาบดนาเสยจากอตสาหกรรม             ํ ั ้ํ ี         ํ ุ ั       ํ ั ้ํ ี     ุ       15. ควบคุมมลพิษทางอากาศ       16. ควบคุมมลพิษเสียงและความสั่นสะเทือน       17. จัดการสารอันตรายและกากของเสียสาขาวิชาเครื่องกล                                                      ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
12                                            โครงสราง                หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พทธศักราช 2546                                              ้     ุ                             ประเภทวิชาอุตสาหกรรม                                สาขาวิชาเครืองกล                                            ่              ผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาเครื่องกล ตองศึกษารายวิชาในหมวดวิชาตาง ๆ และเขารวมกจกรรมเสรม                                                                               ิ       ิหลักสูตร รวมไมนอยกวา 93 หนวยกิต ดงโครงสรางตอไปน้ี                                        ั               1. หมวดวิชาสามัญ ไมนอยกวา                                     24    หนวยกิต            1.1 วิชาสามัญทั่วไป                       ( 13 หนวยกิต )            1.2 วิชาสามัญพื้นฐานวิชาชีพ (ไมนอยกวา 11 หนวยกิต )        2. หมวดวิชาชีพ ไมนอยกวา                                       63    หนวยกิต            2.1 วิชาชีพพื้นฐาน                        ( 15 หนวยกิต )            2.2 วิชาชีพสาขาวิชา                       ( 26 หนวยกิต )            2.3 วิชาชีพสาขางาน              (ไมนอยกวา 18 หนวยกิต )            2.4 โครงการ                                 ( 4 หนวยกิต )        3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา                                  6    หนวยกิต        4. ฝกงาน (ไมนอยกวา 1 ภาคเรียน)        5. กจกรรมเสรมหลกสตร 120 ชวโมง            ิ          ิ ั ู             ่ั                                รวม ไมนอยกวา                           93   หนวยกิต      โครงสรางนี้สําหรับผูสําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรอเทยบเทาใน                                                                              ื ี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาเครื่องกล หรือสาขาวิชาชางยนตหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พทธศักราช 2546 (ปวส. 2546)                              ้     ุ
13                             รายวิชาปรับพื้นฐานวิชาชีพ        สําหรับผูสําเร็จการศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาหรือสาขาวิชาอื่นหรือมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรอเทยบเทา จะตองเรยนรายวชาปรบพนฐานวชาชพตอไปน้ี                                     ื ี         ี         ิ ั ้ื       ิ ี       รหัส          ชือวิชา                      ่                                        หนวยกิต (ชั่วโมง)      3100-0001     งานเทคนคพนฐานิ ้ื                            3          (5)      3100-0002     เขยนแบบเทคนค                        ี             ิ                          2          (4)      3100-0003     งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส                    2          (4)      3101-0001     งานเครองยนตเ ลก                            ่ื          ็                        3          (5)      3101-0002     งานจกรยานยนต                          ั                                      3          (5)      3101-0003     งานเครื่องยนตแกสโซลีน                      3          (5)      3101-0004     งานเครืองยนตดเี ซล                               ่                                 3          (5)                    รวม                                         19          (33)สาขาวิชาเครื่องกล                                                       ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
141. หมวดวิชาสามัญ                                             24          หนวยกิต           1.1 วิชาสามัญทั่วไป              ( 13 หนวยกิต )      รหัส         ชือวิชา                     ่                                      หนวยกิต (ชั่วโมง)     3000-110X กลุมวิชาภาษาไทย                               3          (3)     3000-1201 ทักษะพัฒนาเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษ 1          2          (3)     3000-1202 ทักษะพัฒนาเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษ 2          2          (3)     3000-1301 ชวตและวฒนธรรมไทย                       ีิ    ั                                1          (1)     3000-130X กลุมวิชาสังคมศึกษา                            2          (2)     3000-1601 หองสมุดกับการรูสารสนเทศ                      1          (1)     3000-160X กลุมวิชามนุษยศาสตร                           2          (2)           1.2 วิชาสามัญพื้นฐานวิชาชีพ (ไมนอยกวา 11 หนวยกิต )      รหัส         ชือวิชา                     ่                                            หนวยกิต (ชั่วโมง)      3000-122X กลุมวิชาภาษาอังกฤษ                                 1          (2)      3000-122X กลุมวิชาภาษาอังกฤษ                                 1          (2)      3000-142X กลุมวิชาวิทยาศาสตร                                3          (4)      3000-1522 คณิตศาสตร 2                                        3          (3)      3000-1526 แคลคูลัส 1                                          3          (3)2. หมวดวิชาชีพ ไมนอยกวา                                            63          หนวยกิต        2.1 วิชาชีพพื้นฐาน                                        15 หนวยกิต        ใหเ รยนรายวชา ลําดับที่ 1 - 3 และเลือกเรียนรายวิชากลุมบริหารงานคุณภาพ 3000-010X และ              ี       ิกลมเทคโนโลยคอมพวเตอร 3000-020X กลุมละ 1 รายวิชา   ุ           ี         ิ      รหัส         ชือวิชา                        ่                                            หนวยกิต (ชั่วโมง)      3100-0101 กลศาสตรวศวกรรม 1 ิ                                    3          (3)      3100-0103 กลศาสตรของไหล                                         3          (3)      3100-0107 ความแขงแรงของวสดุ                               ็      ั                                3          (3)      3000-010X กลุมบริหารคุณภาพ                                      3          (3)      3000-020X กลมเทคโนโลยคอมพวเตอร                            ุ      ี   ิ                              3          (4)หมายเหตุ รหัสวิชาที่มีอักษร X ใหเลือกรายวิชาจากกลุมวิชานั้นๆหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พุทธศักราช 2546 (ปวส. 2546)                              ้
15        2.2 วิชาชีพสาขาวิชา                                        26 หนวยกิต            ใหเรียนรายวิชาลําดับ 1-9 และเลือกเรียนรายวิชาที่เหลือจนครบหนวยกิตที่กําหนด      รหัส         ชือวิชา                      ่                                              หนวยกิต (ชั่วโมง)      3100-0106 นิวเมติกสและไฮดรอลิกส                                3          (4)      3100-0111 เทอรโมไดนามิกส                                       3          (3)      3101-2001 เชื้อเพลิงและวัสดุหลอลื่น                             2          (2)      3101-2002 เครื่องยนตสันดาปภายใน                                 3          (3)      3101-2003 งานทดลองเครืองกล   ่                                   2          (3)      3101-2004 งานซอมเครองยนต                               ่ื                                     3          (5)      3101-2005 งานสงกําลังยานยนต                                    2          (3)      3101-2006 งานเครองลางยานยนต                           ่ื                                         2          (3)      3101-2007 งานไฟฟายานยนต                                        3          (5)      3101-2008 วศวกรรมยานยนต                    ิ                                                  3          (3)      3101-2009 งานแกปญหาเครืองกล                                    ่                                 3          (5)        2.3 วิชาชีพสาขางาน ไมนอยกวา                        18 หนวยกิต                 วิชาชีพสาขางาน แบงออกเปน 6 สาขาวิชาชีพ ใหเลือกเรียนสาขางานใดสาขางานหนึ่ง                                                         1. วิชาชีพสาขางานเทคนิคยานยนต      รหัส          ชือวิชา                      ่                                         หนวยกิต (ชั่วโมง)      3101-2101 งานระบบควบคมเครองยนตดวยอเิ ลกทรอนกส                                       ุ ่ื      ็    ิ           3        (5)      3101-2102 งานทดสอบปมและหัวฉีด                               3        (5)      3101-2103 งานปรับอากาศยานยนต                                 3        (5)      3101-2104 งานเกียรอตโนมัติ ั                                 3        (5)      3101-2105 งานซอมเครื่องยนตแกสโซลีน                         3        (5)      3101-2106 งานซอมเครองยนตดเี ซล                                   ่ื                             3        (5)      3101-2107 เทคโนโลยียานยนตสมัยใหม                            2        (2)      3101-2108 งานปรับแตงเครืองยนต   ่                           2        (3)      3101-2109 งานอิเล็กทรอนิกสยานยนต                            2        (3)      3101-2110 วิศวกรรมดีเซล                                       3        (3)      3101-2111 งานตวถงรถยนต                          ั ั                                       3        (5)      3101-2112 งานสีรถยนต                                         3        (5)      3101-2113 งานเชื้อเพลิงแกสยานยนต                            2        (3)      3101-2114 งานเครองมอกลยานยนต                             ่ื ื                                   3        (5)      3101-2115 งานประดบยนต    ั                                   2        (3)สาขาวิชาเครื่องกล                                                          ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
16      3101-2116        งานบรการยานยนต                              ิ                                                       3         (*)      3101-4101        ปฏิบัติงานเทคนิคยานยนต 1                                      5         (*)      3101-4102        ปฏิบัติงานเทคนิคยานยนต 2                                      5         (*)      3101-4103        ปฏิบัติงานเทคนิคยานยนต 3                                      4         (*)      3101-4104        ปฏิบัติงานเทคนิคยานยนต 4                                      4         (*)           2. วชาชพสาขางานเทคนคเครองกลอตสาหกรรม               ิ ี                                 ิ ่ื                   ุ      รหัส      ชือวิชา                  ่                                                                 หนวยกิต (ชั่วโมง)      3101-2201 งานบรการเทคโนโลยเี ครองกลตนกาลง                                   ิ                             ่ื          ํ ั     3          (5)      3101-2202 งานบรการระบบไอนาอตสาหกรรม                                 ิ                          ํ้ ุ                      3          (5)      3101-2203 งานบรการเครองทาความเยนอตสาหกรรม                               ิ           ่ื ํ                       ็ ุ             3          (5)      3101-2204 งานบริการเครืองปรับอากาศอุตสาหกรรม                                         ่                                            3          (5)      3101-2205 งานบารงรกษาเครองจกรกลอตสาหกรรม                            ํ ุ ั                ่ื ั                   ุ             3          (5)      3101-2206 งานบํารุงรักษาระบบนิวเมติกสและไฮดรอลิกส                             3          (5)      3101-2207 กระบวนการผลิต                                                         3          (3)      3101-2208 การสงถายความรอน                                                    3          (3)      3101-2209 การทําความเย็นอุตสาหกรรม                                              3          (3)      3101-2210 การปรับอากาศอุตสาหกรรม                                                3          (3)      3101-2211 วิศวกรรมโรงตนกําลัง                                                  3          (3)      3101-2212 เครืองสูบและเครืองอัดอากาศ                      ่                        ่                                      3          (3)      3101-2213 ชินสวนเครืองกล                    ้                  ่                                              3          (3)      3101-2214 ระบบจดการพลงงานในอตสาหกรรม                                     ั       ั                      ุ                 2          (2)      3101-4201 ปฏิบตงานเทคนิคเครืองกลอุตสาหกรรม 1                           ั ิ                            ่                           5          (*)      3101-4202 ปฏิบตงานเทคนิคเครืองกลอุตสาหกรรม 2                        ั ิ                         ่                                 5          (*)      3101-4203 ปฏิบตงานเทคนิคเครืองกลอุตสาหกรรม 3                         ั ิ                          ่                               4          (*)      3101-4204 ปฏิบตงานเทคนิคเครืองกลอุตสาหกรรม 4                          ั ิ                           ่                             4          (*)           3. วิชาชีพสาขางานเทคนิคเครื่องกลเรือ      รหัส       ชือวิชา                   ่                                                                หนวยกิต (ชั่วโมง)      3101-2301 งานติดตังเครืองยนตเรือ                          ้ ่                                                         3          (5)      3101-2302 เกยรเ รอ                     ี ื                                                              2          (3)      3101-2303 ใบจักรเรือ                                                            2          (3)      3101-2304 ไฟฟาในเรือ                                                           3          (5)      3101-2305 งานซอมเครืองยนตเรือ                            ่                                                         3          (5)      3101-2306 การเขยนแบบและอานแบบเรอ                        ี                 ื                                          2          (3)หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พทธศักราช 2546 (ปวส. 2546)                              ้     ุ
17      3101-2307     ความตานทานและกําลังเรือ                                 3         (3)      3101-2308     วศวกรรมเครองกลเรอ                     ิ                  ่ื        ื                          3         (3)      3101-2309     สัญญาณควบคมการเดนเรอ   ุ          ิ ื                    2         (3)      3101-2310     งานทอในเรือ                                             2         (3)      3101-2311     เครองมอวดและระบบควบคม                            ่ื ื ั                        ุ                  2         (3)      3101-2312     งานเครองมอกลเรอ                                  ่ื ื          ื                            3         (5)      3101-2313     การขนถายวัสดุในเรือ                                     2         (2)      3101-2314     ทฤษฎีเรือ                                                3         (3)      3101-2315     บคคลประจาเรอ                       ุ               ํ ื                                   2         (3)      3101-4301     ปฏิบตงานเทคนิคเครืองกลเรือ 1                              ั ิ                   ่                        5         (*)      3101-4302     ปฏบตงานเทคนคเครองกลเรอ 2                           ิ ั ิ               ิ ่ื             ื            5         (*)      3101-4303     ปฏบตงานเทคนคเครองกลเรอ 3                          ิ ั ิ               ิ ่ื            ื              4         (*)      3101-4304     ปฏบตงานเทคนคเครองกลเรอ 4                         ิ ั ิ               ิ ่ื           ื                4         (*)           4. วิชาชีพสาขางานเทคนิคเครื่องกลเกษตร      รหัส       ชือวิชา                   ่                                                       หนวยกิต (ชั่วโมง)      3101-2401 งานบรการเครองจกรกลงานพช                                 ิ           ่ื ั                    ื       3          (5)      3101-2402 งานบรการเครองจกรกลงานสตว                               ิ             ่ื ั                  ั         3          (5)      3101-2403 งานบรการเครองจกรกลหนก                             ิ             ่ื ั                  ั           3          (5)      3101-2404 งานบรการเครองจกรกลเกษตร                           ิ               ่ื ั                              3          (5)      3101-2405 งานเครื่องสูบและชลประทาน                                     3          (5)      3101-2406 งานเครืองจักรกลอาหาร ่                                       3          (5)      3101-2407 งานเทคโนโลยเี ครองจกรกลโรงงานฟารม   ่ื ั                    3          (5)      3101-2408 งานแกปญหาเครองกลเกษตร                                               ่ื                          3          (5)      3101-2409 งานเครืองทําความเย็นเพือการเกษตร                                   ่                           ่             3          (5)      3101-2410 งานไฟฟาในโรงงานฟารม                                        3          (5)      3101-2411 งานอเิ ลกทรอนกสเ ครองกลเกษตร                                       ็       ิ          ่ื                 3          (5)      3101-2412 งานเก็บรักษาผลผลิตเกษตร                                      3          (5)      3101-2413 งานขนถายและขนสงผลผลิตเกษตร                                 3          (5)      3101-2414 งานออกแบบและทดสอบชิ้นสวนเครื่องกลหนัก                       3          (5)      3101-2415 การใชคอมพวเตอรเ พอการเกษตร                                        ิ             ่ื                    2          (3)      3101-2416 เครื่องจักรกลสนามกอลฟ                                       3          (5)      3101-2417 การวางแผนและการบรหารงานการเกษตร              ิ               2          (2)      3101-2418 เทคโนโลยีเครื่องจักรกลเกษตรสมัยใหม                          2          (2)      3101-2419 เทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑการเกษตร                          2          (3)สาขาวิชาเครื่องกล                                                                  ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
18      3101-4401    ปฏบตงานเทคนคเครองกลเกษตร 1                        ิ ั ิ    ิ ่ื                             5         (*)      3101-4402    ปฏบตงานเทคนคเครองกลเกษตร 2                       ิ ั ิ    ิ ่ื                              5         (*)      3101-4403    ปฏบตงานเทคนคเครองกลเกษตร 3                      ิ ั ิ    ิ ่ื                               4         (*)      3101-4404    ปฏบตงานเทคนคเครองกลเกษตร 4                     ิ ั ิ    ิ ่ื                                4         (*)           5. วิชาชีพสาขางานเทคนิคเครื่องกลเรือพาณิชย      รหัส       ชือวิชา                   ่                                            หนวยกิต (ชั่วโมง)      3101-2501 งานเครองกลเรอพาณชย                              ่ื     ื       ิ                    3          (5)      3101-2502 งานเครองกลไฟฟาเรอ                              ่ื          ื                      3          (5)      3101-2503 งานระบบปรับอากาศและเครื่องทําความเย็น             3          (5)      3101-2504 งานเชอมประกอบและเครองมอกล                           ่ื                    ่ื ื             3          (5)      3101-2505 เครองจกรชวย 1                     ่ื ั                                        2          (2)      3101-2506 เครองจกรชวย 2                     ่ื ั                                        2          (2)      3101-2507 เครองสบเรอและระบบทอทาง                       ่ื ู ื                                    3          (3)      3101-2508 ทักษะชาวเรือ                                      2          (2)      3101-2509 โครงสรางเรอ       ื                              2          (2)      3101-2510 การดารงชพในเรอและการชวยชวต                         ํ ี           ื             ีิ          *          (*)      3101-2511 การปฐมพยาบาลและการดับไฟเบื้องตน                  *          (*)      3101-2512 ฝกภาคทะเล                                        *          (*)      3101-2513 การซอมบารงเครองจกรกลเรอ                           ํ ุ ่ื ั                 ื            3          (5)      3101-2514 อิเล็กทรอนิกสและการสื่อสารเรือ                   3          (5)      3101-2515 ภาษาอังกฤษพาณิชยนาวี 1                           2          (3)      3101-2516 ภาษาอังกฤษพาณิชยนาวี 2                           2          (3)      3101-2517 กฎหมายพาณิชยนาวี                                 2          (2)      3101-2518 วายน้ํา                                          1          (2)      3101-2519 ศิลปปองกันตัว                                    1          (2)      3101-4501 ปฏิบัติงานเทคนิคเครื่องกลเรือพาณิชย 1            5          (*)      3101-4502 ปฏิบัติงานเทคนิคเครื่องกลเรือพาณิชย 2            5          (*)      3101-4503 ปฏิบัติงานเทคนิคเครื่องกลเรือพาณิชย 3            4          (*)      3101-4504 ปฏิบัติงานเทคนิคเครื่องกลเรือพาณิชย 4            4          (*)หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พทธศักราช 2546 (ปวส. 2546)                              ้     ุ
19หมายเหตุ นักศึกษาตองผานการฝกอบรม หลักสูตรพิเศษของกรมการขนสงทางน้ําและพาณิชยนาวี         เพื่อใหสามารถลงปฏิบัติการในเรือไดตามมาตรฐานขององคกรทางทะเลระหวางประเทศ         (IMO) ดงตอไปน้ี                  ั               1. การปองกันและดับไฟ              2. การดํารงชีพในทะเล              3. ความปลอดภัยและความรับผิดชอบในเรือ              4. การปฐมพยาบาล 1           6. วิชาชีพสาขางานเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม      รหัส       ชือวิชา                   ่                                       หนวยกิต (ชั่วโมง)      3100-0221 เคมสงแวดลอมเบองตน                     ี ่ิ    ้ื                            2          (3)      3100-0222 จุลชีววิทยาสิ่งแวดลอมเบื้องตน              2          (3)      3100-0223 กลศาสตรของไหลและอุณหพลศาสตรเบื้องตน       3          (3)      3100-0224 เทคนิคการควบคุมและบําบัดน้ําเสีย             3          (5)      3100-0225 เทคนิคการควบคุมมลพิษทางอากาศ                 2          (3)      3100-0226 เทคนิคการควบคุมมลพิษเสียงและความสั่นสะเทือน 2           (3)      3100-0227 เทคนิคการจัดการสารอันตรายและกากของเสีย       2          (4)      3100-0228 เทคโนโลยีสะอาดสําหรับชางเทคนิค              2          (3)        สําหรับการเรียนการสอนระบบทวิภาคีใหสถานศึกษารวมกับสถานประกอบการ วเิ คราะหจด ุประสงครายวิชา มาตรฐานรายวชา กําหนดแผนการฝกและการประเมินผล โดยใชเวลาไมนอยกวา 40 ชั่ว                            ิโมงมีคาเทากับ 1 หนวยกิต        2.4 โครงการ                                          4        หนวยกิต      รหัส        ชือวิชา                    ่                                            หนวยกิต (ชั่วโมง)      3101-6001 โครงการ                                             4         (*)3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา                                         6 หนวยกิต         ใหผูเรียนเลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจ จากรายวิชาในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 ทุกประเภทวิชาสาขาวิชาเครื่องกล                                                        ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
204. ฝกงาน (ไมนอยกวา 1 ภาคเรียน)        ใหสถานศึกษานํารายวิชาในหมวดวิชาชีพไปจัดฝกในสถานประกอบการ อยางนอย 1 ภาคเรียน                                                                      5. กจกรรมเสรมหลกสตร 120 ชวโมง    ิ         ิ ั ู             ่ั       ใหจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร ภาคเรียนละ 40 ชวโมง รวมไมนอยกวา 120 ชวโมง                                                 ่ั                       ่ัหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พทธศักราช 2546 (ปวส. 2546)                              ้     ุ
21                     จดประสงค มาตรฐานและคําอธิบายรายวิชา                      ุ3101-0001 งานเครืองยนตเล็ก                 ่                                                3     (5)จุดประสงครายวิชา         1. เพอใหมความเขาใจเกยวกบโครงสรางและหลกการทางานของเครองยนตเ ลก                    ่ื  ี        ่ี ั                    ั     ํ     ่ื      ็         2. เพือใหมทกษะในการถอดประกอบ ตรวจ วิเคราะห แกไขปญหาขอขัดของและซอม เครืองยนต                ่        ี ั                                                              ่             เล็ก         3. เพอใหมกจนสยในการทางานทดี มวนย ตรงตอเวลา ซือสัตย ประหยัดและปลอดภัย                  ่ื  ี ิ ิ ั         ํ   ่ี ี ิ ั                 ่มาตรฐานรายวชา ิ         1. เขาใจโครงสรางและหลักการทํางานของเครืองยนตเล็ก                                                          ่         2. ตรวจ วิเคราะห แกไขปญหาขอขัดของเครืองยนตเล็ก                                                    ่         3. บํารุงรักษาและบริการระบบตาง ๆ ของเครองยนตเ ลก                                                      ่ื        ็         4. ถอดประกอบชินสวนเครืองยนตเล็ก และ ตดเครองยนตทางานได                               ้         ่               ิ ่ื        ํคําอธิบายรายวิชา         ศึกษาและปฏิบติ การทํางาน การใชเครืองมือ การถอดประกอบ ตรวจสอบชนสวนของระบบตางๆ                             ั                ่                              ้ิ            การปรับแตง และการบํารุงรักษาเครืองยนตเล็กแกสโซลีน และ ดีเซล รวมทั้งประมาณราคาคาบริการ                                     ่3101-0002 งานจักรยานยนต                                          3     (5)จุดประสงครายวิชา       1. เพอใหมความเขาใจเกยวกบโครงสรางและหลกการทางานรถจกรยานยนต                     ่ื  ี         ่ี ั          ั        ํ     ั       2. เพือใหมทกษะถอดประกอบ ตรวจ วิเคราะห แกไขปญหาขอขดของและซอมรถจกรยานยนต                 ่        ี ั                                   ั     ั       3. เพือใหมกจนิสยทีดในการทํางาน ตรงตอเวลา มนสยซอสตย ประหยัด และปลอดภัย                   ่       ีิ ั ่ี                   ี ิ ั ่ื ัมาตรฐานรายวชาิ       1. เขาใจโครงสรางและหลกการทางานของรถจกรยานยนต                                     ั   ํ      ั       2. ตรวจ วิเคราะห แกไขปญหาขอขดของของรถจกรยานยนต                                         ั         ั       3. บํารุงรักษาและบริการระบบตาง ๆ ของรถจักรยานยนต       4. ถอดประกอบชินสวนรถจักรยานยนตและติดเครืองยนตทางานได                                ้                        ่     ํสาขาวิชาเครื่องกล                                                        ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
22คําอธิบายรายวิชา         ศึกษาและปฏิบติ การทํางาน การใชเครืองมือ การถอดประกอบ ตรวจสอบชนสวนของ ระบบตาง ๆ                     ั                      ่                          ้ิ การปรับแตงและการบํารุงรักษารถจักรยานยนต รวมทั้งประมาณราคาคาบริการ3101-0003 งานเครืองยนตแกสโซลีน                 ่                                                3     (5)จุดประสงครายวิชา         1. เพือใหมความเขาใจเกียวกับ โครงสรางและหลักการทํางานของเครืองยนตแกสโซลีน                   ่    ี           ่                                                 ่         2. เพือใหมทกษะถอดประกอบ ตรวจ วิเคราะห แกไขปญหาขอขัดของ และ ซอมเครืองยนตแกสโซ                ่      ี ั                                                                ่             ลีน         3. เพอใหมกจนสยในการทางานทดี มวนย ตรงตอเวลา ซือสัตย ประหยัดและปลอดภัย                  ่ื  ี ิ ิ ั        ํ      ่ี ี ิ ั                   ่มาตรฐานรายวชา ิ         1. เขาใจโครงสรางและหลักการทํางานของเครืองยนตแกสโซลีน                                                              ่         2. ตรวจ วิเคราะห แกไข ปญหาขอขัดของ ของเครองยนตแกสโซลน  ่ื           ี         3. บํารุงรักษาและบริการระบบตาง ๆ ของเครองยนตแกสโซลน                                                           ่ื               ี         4. ถอด-ประกอบชนสวนเครองยนตแกสโซลนและตดเครองยนตทางาน                               ้ิ      ่ื             ี          ิ ่ื         ํคําอธิบายรายวิชา         ศึกษาและปฏิบติ การทํางาน การใชเครืองมือ การถอดประกอบ ตรวจสอบชินสวน ของระบบตาง ๆ                           ั                       ่                                    ้การตดเครองยนต การปรับแตง และการบารงรกษาเครองยนตแกสโซลน     ิ ่ื                                  ํ ุ ั      ่ื                  ี3101-0004 เครื่องยนตดีเซล                                        3     (5)จุดประสงครายวิชา       1. เพือใหมความเขาใจเกียวกับ โครงสรางและหลักการทํางานของเครืองยนตดเี ซล                    ่     ี           ่                                   ่       2. เพือใหมทกษะถอดประกอบ ตรวจวิเคราะห แกไขปญหาขอขัดของและซอม                 ่       ี ั            เครองยนตดเี ซล                      ่ื            3. เพอใหมกจนสยในการทางาน มวนย ตรงตอเวลา ซือสัตย ประหยัด และ ปลอดภัย                   ่ื  ี ิ ิ ั           ํ        ีิ ั            ่มาตรฐานรายวชาิ       1. เขาใจโครงสรางและหลกการทางานของเครองยนตดเี ซล                                      ั      ํ             ่ื          2. ตรวจ วิเคราะห แกไข ปญหาขอขัดของของเครืองยนตดเี ซล                                                                ่       3. บํารุงรักษาและบริการระบบตาง ๆ ของเครืองยนตดเี ซล                                                        ่       4. ถอดประกอบชนสวนเครองยนตดเี ซลและตดเครองยนตทางานได                                 ้ิ        ่ื           ิ ่ื         ํหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พทธศักราช 2546 (ปวส. 2546)                              ้     ุ
23คําอธิบายรายวิชา         ศึกษาและปฏิบติ การทํางาน การใชเครืองมือ การถอดประกอบ ตรวจสอบชนสวนของระบบตาง ๆ                      ั                     ่                          ้ิ         การติดตังเครืองยนต การปรับแตง และการบํารุงรักษาเครืองยนตดเี ซล        ้ ่                                          ่3101-2001 เชือเพลิงและวัสดุหลอลืน             ้                   ่                                                           2       (2)จุดประสงครายวิชา         1. เพอใหมความเขาใจวธการสารวจและพฒนาแหลงเชอเพลง กระบวนการกลนนามนและผลต                      ่ื  ี        ิี ํ                        ั                ้ื ิ                            ่ั ํ้ ั        ิ             ภัณฑจากการกลันและวิธการปรับปรุงคุณสมบัตของน้ามันเชือเพลิงและวัสดุหลอลืน                                    ่           ี                              ิ      ํ          ้                         ่         2. เพอใหมความสามารถในการจาแนกและเลอกใชเ ชอเพลงและวสดหลอลนเหมาะสมกบเครองจกร                    ่ื  ี                               ํ          ื             ้ื ิ              ั ุ  ่ื                 ั ่ื ั             กล         3. เพอใหมกจนสยทดในการคนควาหาความรเู พมเตม                      ่ื  ี ิ ิ ั ่ี ี                                   ่ิ ิมาตรฐานรายวชา  ิ         1. เขาใจหลักการกระบวนการกลันและปรับปรุงคุณสมบัตนามันเชือเพลิงและวัสดุหลอลืน                                                       ่                                  ิ ํ้         ้                      ่         2. จําแนกชนิด มาตรฐานและคณสมบตของเชอเพลงและวสดหลอลน                                                   ุ        ัิ          ้ื ิ               ั ุ  ่ื         3. เลอกเชอเพลงและวสดหลอลนไดเ หมาะสมกบเครองจกรกลชนดตางๆ                 ื ้ื ิ                 ั ุ  ่ื                           ั ่ื ั                    ิ คําอธิบายรายวิชา         ศกษาแหลงกาเนดและชนดของเชอเพลง การสารวจและพฒนาแหลงเชอเพลง โครงสรางอะตอมของ           ึ              ํ ิ            ิ          ้ื ิ             ํ                 ั              ้ื ิสารไฮโดรคารบอน การวเิ คราะหเ ชอเพลงแขงและการปรบปรงคณสมบตกอนการใชงาน การทําน้ามันดิบและ                                            ้ื ิ ็                        ั ุ ุ                ั ิ                            ํเชือเพลิงแกสธรรมชาติใหบริสทธิ์ กระบวนการกลนนามนและผลตภณฑจาการกลน คุณสมบัติมาตรฐานของ    ้                                 ุ                        ่ั ํ้ ั               ิ ั                   ่ัเชือเพลิง การเพมคณสมบตเิ ชอเพลงเหลว จุดวาบไฟ คา Octane คา Cetane วัสดุหลอลืนและประเภทวัสดุหลอ      ้           ่ิ ุ         ั ้ื ิ                                                                            ่ลืน ความหนืด ดัชนีความหนืด การเพมคณสมบตของวสดหลอลน เทคโนโลยีเชือเพลิงใหม การพัฒนาอุตสาห  ่                                           ่ิ ุ         ั ิ ั ุ  ่ื                                   ้กรรมปโตรเคมี3101-2002 เครองยนตสนดาปภายใน             ่ื    ั                                                                        3       (3)จุดประสงครายวิชา       1. เพือใหมความเขาใจหลักการทํางานของเครืองยนตแกสโซลีนและดีเซล                 ่        ี                      ่       2. เพือใหสามารถคํานวณสวนผสมเชือเพลิงกับอากาศ การสนเปลองเชอเพลงและประสทธภาพของความ                   ่                     ้                  ้ิ ื ้ื ิ         ิ ิ            รอน       3. เพือใหมความเขาใจหลักการและวิธแกไขการเกิดมลภาวะจากยานยนต               ่        ี                  ี       4. เพอใหมกจนสยในการคนควาหาความรเู พมเตม                   ่ื  ี ิ ิ ั              ่ิ ิสาขาวิชาเครื่องกล                                                                                     ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)
หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)

More Related Content

What's hot

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมTongsamut vorasan
 
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒Tongsamut vorasan
 
Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒
Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒
Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒Tongsamut vorasan
 
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์Tongsamut vorasan
 
Ebook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติ
Ebook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติEbook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติ
Ebook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติPanda Jing
 
Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒
Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒
Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒Tongsamut vorasan
 
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑Tongsamut vorasan
 
Kid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languageKid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languagedentyomaraj
 
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓Tongsamut vorasan
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑Tongsamut vorasan
 
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tongsamut vorasan
 
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tongsamut vorasan
 
9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา
9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา
9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกาTongsamut vorasan
 

What's hot (19)

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรมพจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
 
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
Tri91 41++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๒
 
2550~1
2550~12550~1
2550~1
 
Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒
Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒
Tri91 35++อังคุตรนิกาย+จตุกนิบาต+เล่ม+๒
 
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
Tri91 33++เอกนิบาต ทุกนิบาต+เล่ม+๑+ภาค+๒
 
ทาส1
ทาส1ทาส1
ทาส1
 
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
Tri91 37++อังคุตรนิกาย+สัตตก อัฏฐก-นวกนิบาต+เล่ม+๔
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๓ วินัยปิฎกที่ ๐๓ ภิกขุนีวิภังค์
 
ติวOne tsocial
ติวOne tsocialติวOne tsocial
ติวOne tsocial
 
Ebook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติ
Ebook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติEbook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติ
Ebook พระบรมสารีริกธาตุ น้อมนำปัญญา สู่สัมมาปฏิบัติ
 
Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒
Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒
Tri91 26+สังยุตตนิกาย+นิทานวรรค+เล่ม+๒
 
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
Tri91 40+ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๑
 
Kid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai languageKid yoga,Thai language
Kid yoga,Thai language
 
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
Tri91 06+มหาวรรค+เล่ม+๔+ภาค+๑
 
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
Tri91 42++ขุททกนิกาย+คาถาธรรมบท+เล่ม+๑+ภาค+๒+ตอน+๓
 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๐๖ วินัยปิฎกที่ ๐๖ จุลวรรค ภาค ๑
 
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
Tri91 11+ทีฆนิกาย+สีลขันธวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๑ (1)
 
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
Tri91 31+สังยุตตนิกาย+มหาวารวรรค+เล่ม+๕+ภาค+๒
 
9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา
9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา
9 80+อภิธัมมัตถสังคหบาลี+และอภิธัมมัตถวิภาวีนีฎีกา
 

More from chuvub

ระเบียบ3
ระเบียบ3ระเบียบ3
ระเบียบ3chuvub
 
ระเบียบ1
ระเบียบ1ระเบียบ1
ระเบียบ1chuvub
 
ระเบียบ2
ระเบียบ2ระเบียบ2
ระเบียบ2chuvub
 
หลักสูตรปวช.(พาณิชยกรรม)
หลักสูตรปวช.(พาณิชยกรรม)หลักสูตรปวช.(พาณิชยกรรม)
หลักสูตรปวช.(พาณิชยกรรม)chuvub
 
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)chuvub
 
หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)
หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)
หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)chuvub
 

More from chuvub (6)

ระเบียบ3
ระเบียบ3ระเบียบ3
ระเบียบ3
 
ระเบียบ1
ระเบียบ1ระเบียบ1
ระเบียบ1
 
ระเบียบ2
ระเบียบ2ระเบียบ2
ระเบียบ2
 
หลักสูตรปวช.(พาณิชยกรรม)
หลักสูตรปวช.(พาณิชยกรรม)หลักสูตรปวช.(พาณิชยกรรม)
หลักสูตรปวช.(พาณิชยกรรม)
 
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
หลักสูตรปวช.(ช่างอุตสาหกรรม)
 
หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)
หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)
หลักสูตรปวส.(พาณิชยกรรม)
 

หลักสูตรปวส.(ช่างยนต์ เทคอุตฯ)

  • 1. เลมท่ี 1 ต.ค. 2546 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม 1. สาขาวชาเครองกล ิ ่ื 2. สาขาวิชาเทคนิคการผลิต 3. สาขาวิชาเทคนิคโลหะ 4. สาขาวชาเขยนแบบเครองกล ิ ี ่ื 5. สาขาวชาเทคนคอตสาหกรรม ิ ิ ุ 6. สาขาวชาการตอเรอ ิ  ื 7. สาขาวิชาเทคนิคการหลอ กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. คานา ํ ํ หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พุทธศักราช 2546 พฒนาขนใหสอดคลองกบความ ้ ั ้ึ   ัเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยีในยุคโลกาภิวตน เพือผลิตกําลังคนระดับผูชานาญการทีมความรู ความ ั ่  ํ ่ ีชํานาญในวิชาชีพ มีคุณธรรม วินย เจตคติ บุคลิกภาพ และเปนผมปญญาทเ่ี หมาะสม สามารถนําไปใชใน ั  ู ี การประกอบอาชีพไดตรงตามความตองการของตลาดแรงงาน สอดคลองกับภาวะเศรษฐกิจและสังคมทังในระดับชุมชน ระดับทองถิ่นและระดับชาติ โดยเปดโอกาสใหผเู รยนเลอกระบบและวธการเรยนได ้   ี ื ิี ีอยางเหมาะสมตามศักยภาพ ความสนใจและโอกาสของตน สงเสรมการประสานความรวมมอในการจด  ิ  ื ัการศึกษาและพัฒนาหลักสูตรรวมกัน ระหวางสถาบัน หนวยงาน และองคกรตาง ๆ ทั้งในระดับชาติ ทองถนและชมชน ่ิ ุ การพัฒนาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พุทธศักราช 2546 สําเร็จลงไดดวยความ ้ รวมมืออยางดียิ่งจากหนวยราชการ สถาบนการศกษา อาจารยผูสอน ตลอดจนผูทรงคุณวุฒภาคเอกชน ั ึ  ิโดยเฉพาะคณะกรรมการดังรายนามที่ปรากฏ ซึงไดอทศสติปญญา ความรู ประสบการณ ตลอดจนสละ ่ ุ ิ เวลามาชวยงานเพื่อพัฒนาการศึกษาของประเทศชาติเปนสําคัญ กระทรวงศึกษาธิการจึงขอขอบคุณผูมี สวนรวมในการดําเนินการทุกทานเปนอยางสูงไว ณ ทีน้ี ่ กระทรวงศกษาธการ ึ ิ 2546
  • 3.
  • 4. สารบญ ั หนาคํานําประกาศกระทรวงศึกษาธิการหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 หลักการ ..................................................................................................................................1 จุดหมาย ..................................................................................................................................2หลักเกณฑการใชหลักสูตร............................................................................................................3รหัสวิชาหลักสูตร ..........................................................................................................................7โครงสรางหลักสตร  ู สาขาวิชาเครื่องกล ..................................................................................................................9 สาขาวิชาเทคนิคการผลิต .....................................................................................................81 สาขาวิชาเทคนิคโลหะ .......................................................................................................133 สาขาวิชาเขียนแบบเครื่องกล ..............................................................................................177 สาขาวิชาเทคนิคอุตสาหกรรม ............................................................................................199 สาขาวิชาการตอเรือ ............................................................................................................251 สาขาวิชาเทคนิคการหลอ ...................................................................................................281กลุมวิชาเรียนรวม รายวิชาสามัญ......................................................................................................................... ก รายวชาเรยนรวมประเภทวชา................................................................................................. ข ิ ี  ิภาคผนวก คําสั่งแตงตั้งคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร กรมอาชีวศึกษา ที่ 299/2546 กรมอาชีวศึกษา ที่ 427/2546 กรมอาชีวศึกษา ที่ 620/2546
  • 5. 1 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 หลักการ1. เปนหลักสูตรที่มุงผลิตและพัฒนาแรงงานระดับผูชํานาญการเฉพาะสาขาอาชีพ สอดคลองกับ ตลาดแรงงาน สภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม สามารถเปน หัวหนางานหรือเปนผูประกอบการได2. เปนหลักสูตรที่มุงเนนใหผูเรียนมีสมรรถนะในการประกอบอาชีพ มีความรูเต็มภูมิ ปฏิบัติไดจริง และ เขาใจชีวต ิ3. เปนหลักสูตรที่เปดโอกาสใหผูประกอบการวิชาชีพมีสวนรวมในการเรียนการสอนวิชาชีพ สามารถถายโอนประสบการณการเรียนรูจากสถานประกอบการ และสามารถสะสมการเรียนรู และประสบการณได หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546
  • 6. 2 จุดหมาย 1. เพื่อใหมีความรูและทักษะพืนฐานในการดํารงชีวิต สามารถศึกษาคนควาเพิ่มเติมหรือศึกษาตอใน ้ ระดับที่สูงขึ้น 2. เพื่อใหมีทกษะและสมรรถนะในงานอาชีพตามมาตรฐานวิชาชีพ ั 3. เพื่อใหสามารถบูรณาการความรู ทักษะจากศาสตรตาง ๆ ประยุกตใชในงานอาชีพ สอดคลอง กับการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี 4. เพื่อใหมเี จตคติที่ดีตออาชีพ มีความมั่นใจและภาคภูมิใจในงานอาชีพ รักงาน รักองคกร สามารถ ทํางานเปนหมูคณะไดดี และมีความภาคภูมใจในตนเองตอการเรียนวิชาชีพ  ิ 5. เพื่อใหมีปญญา ใฝรู ใฝเรียน มีความคิดสรางสรรค มีความสามารถในการจัดการ การ ตัดสินใจและการแกปญหา รูจักแสวงหาแนวทางใหม ๆ มาพัฒนาตนเอง ประยุกตใชความรูใน การสรางงานใหสอดคลองกับวิชาชีพ และการพัฒนางานอาชีพอยางตอเนื่อง 6. เพื่อใหมีบุคลิกภาพทีดี มีคณธรรม จริยธรรม ซื่อสัตย มีวินย มีสุขภาพสมบูรณแข็งแรงทั้ง ่ ุ ั รางกายและจิตใจ เหมาะสมกับการปฏิบัติในอาชีพนัน ๆ ้ 7. เพื่อใหเปนผูมพฤติกรรมทางสังคมที่ดีงาม ทั้งในการทํางาน การอยูรวมกัน มีความรับผิดชอบ ี ตอครอบครัว องคกร ทองถิ่นและประเทศชาติ อุทิศตนเพื่อสังคม เขาใจและเห็นคุณคาของ ศิลปวัฒนธรรม ไทย ภูมิปญญาทองถิ่น ตระหนักในปญหาและความสําคัญของสิ่งแวดลอม 8. เพื่อใหตระหนักและมีสวนรวมในการพัฒนาและแกไขปญหาเศรษฐกิจของประเทศ โดยเปนกําลัง สําคัญในดานการผลิตและใหบริการ 9. เพื่อใหเห็นคุณคาและดํารงไวซึ่งสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย ปฏิบัติตนในฐานะ พลเมืองดีตามระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ประเภทวิชาอุตสาหกรรม / อุตสาหกรรมสิ่งทอ / สารสนเทศและการสื่อสาร
  • 7. 3 หลักเกณฑการใชหลักสูตร ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 25461. การเรียนการสอน 1.1 การเรียนการสอนตามหลักสูตรนี้ ผูเรียนสามารถลงทะเบียนเรียนไดทกวิธเี รียนทีกําหนด และ ุ ่ นําผลการเรียนแตละวิธีมาประเมินผลรวมกันได สามารถโอนผลการเรียน และขอเทียบความรู และประสบการณได 1.2 การจัดการเรียนการสอนเนนการปฏิบัติจริง โดยสามารถนํารายวิชาไปจัดฝกในสถาน ประกอบการ ไมนอยกวา 1 ภาคเรียน2. เวลาเรียน 2.1 ในปการศึกษาหนึ่ง ๆ ใหแบงภาคเรียนออกเปน 2 ภาคเรียนปกติ ภาคเรียนละ 20 สัปดาห โดยมี เวลาเรียนและจํานวนหนวยกิตตามที่กําหนด และสถานศึกษาอาจเปดสอนภาคเรียนฤดูรอนได อีกตามที่เห็นสมควร ประมาณ 5 สัปดาห 2.2 การเรียนในระบบชั้นเรียน ใหสถานศึกษาเปดทําการสอนไมนอยกวาสัปดาหละ 5 วัน คาบละ 60 นาที (1 ชั่วโมง) 2.3 เวลาเรียนตามปกติ สําหรับผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือ เทียบเทาในประเภทวิชาและสาขาวิชาที่กาหนด 2 ป สําหรับผูสาเร็จการศึกษาในระดับ ํ ํ มัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา ผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพตาง ประเภทวิชา/สาขาวิชาที่กําหนด ประมาณ 3 ป3. หนวยกิต ใหมีจํานวนหนวยกิตตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 85 หนวยกิต และไมเกิน 100 หนวยกิต การคิดหนวยกิตถือเกณฑดงนี้ ั 3.1 รายวิชาภาคทฤษฎี 1 ชั่วโมงตอสัปดาห ตลอดภาคเรียนไมนอยกวา 20 ชั่วโมง  มีคา 1 หนวยกิต 3.2 รายวิชาที่ประกอบดวยภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติใหบูรณาการการเรียนการสอน กําหนด 2 - 3 ชั่วโมงตอสัปดาห ตลอดภาคเรียนไมนอยกวา 40 - 60 ชั่วโมง มีคา 1 หนวยกิต 3.3 รายวิชาที่นําไปฝกงานในสถานประกอบการ กําหนดเวลาในการฝกปฏิบัติงานไมนอยกวา  40 ชั่วโมง มีคา 1 หนวยกิต 3.4 การฝกอาชีพในระบบทวิภาคี ใชเวลาฝกไมนอยกวา 40 ชั่วโมง มีคา 1 หนวยกิต  3.5 การทําโครงการใหเปนไปตามที่กําหนดไวในหลักสูตร หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546
  • 8. 44. โครงสราง โครงสรางของหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 แบงเปน 3 หมวดวิชาฝกงาน และกิจกรรมเสริมหลักสูตร ดังนี้ 4.1 หมวดวิชาสามัญ 4.1.1 วิชาสามัญทั่วไป เปนวิชาทีเ่ ปนพื้นฐานในการดํารงชีวต ิ 4.1.2 วิชาสามัญพื้นฐานวิชาชีพ เปนวิชาที่เปนพื้นฐานสัมพันธกบวิชาชีพ ั 4.2 หมวดวิชาชีพ แบงเปน 4.2.1 วิชาชีพพื้นฐาน เปนกลุมวิชาชีพสัมพันธที่เปนพื้นฐานทีจาเปนในประเภทวิชานั้น ๆ ่ํ 4.2.2 วิชาชีพสาขาวิชา เปนกลุมวิชาชีพหลักในสาขาวิชานั้น ๆ 4.2.3 วิชาชีพสาขางาน เปนกลุมวิชาชีพที่มุงใหผูเรียนมีความรูและทักษะเฉพาะดานในงาน อาชีพตามความถนัดและความสนใจ 4.2.4 โครงการ 4.3 หมวดวิชาเลือกเสรี 4.4 ฝกงาน 4.5 กิจกรรมเสริมหลักสูตร จํานวนหนวยกิตและรายวิชาของแตละหมวดวิชาตลอดหลักสูตร ใหเปนไปตามกําหนดไวในโครงสรางของแตละประเภทวิชาและสาขาวิชา สวนรายวิชาแตละหมวดวิชา สถานศึกษาสามารถจัดตามที่กําหนดไวในหลักสูตร หรือจัดตามความเหมาะสมของสภาพทองถิ่น ทั้งนี้ สถานศึกษาตองกําหนดรหัสวิชา จํานวนคาบเรียนและจํานวนหนวยกิต ตามระเบียบทีกําหนดไวในหลักสูตร ่5. โครงการ 5.1 สถานศึกษาตองจัดใหผูเรียนจัดทําโครงการในภาคเรียนที่ 4 ไมนอยกวา 160 ชั่วโมง กําหนดใหมีคา 4 หนวยกิต 5.2 การตัดสินผลการเรียนและใหระดับผลการเรียน ใหปฏิบัติเชนเดียวกับรายวิชาอื่น6. ฝกงาน 6.1 ใหสถานศึกษานํารายวิชาในหมวดวิชาชีพไปจัดฝกในสถานประกอบการ อยางนอย 1 ภาคเรียน 6.2 การตัดสินผลการเรียนและใหระดับผลการเรียน ใหปฏิบัติเชนเดียวกับรายวิชาอื่นประเภทวิชาอุตสาหกรรม / อุตสาหกรรมสิ่งทอ / สารสนเทศและการสื่อสาร
  • 9. 57. การเขาเรียน ผูเขาเรียนตองมีพื้นความรูและคุณสมบัติ ดังนี้ 7.1 พื้นความรู สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรือเทียบเทา หรือสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา ผูเขาเรียนที่สาเร็จการศึกษาในระดับมัธยมศึกษาตอนปลายหรือเทียบเทา ํ และผูสําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพตางประเภทวิชาและสาขาวิชาที่กําหนด ตองเรียนรายวิชาปรับพื้นฐานวิชาชีพใหครบตามที่ระบุไวในหลักสูตรแตละประเภทวิชาและสาขาวิชา การเรียนรายวิชาปรับพื้นฐานวิชาชีพ ใหเปนไปตามขอกําหนดที่ระบุไวในแตละสาขาวิชา 7.2 คุณสมบัติ ใหเปนไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการจัดการศึกษาตามหลักสูตรประกาศ-นียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 พ.ศ. 25468. การประเมินผลการเรียน ใหเปนไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 พ.ศ. 25469. กิจกรรมเสริมหลักสูตร สถานศึกษาตองจัดใหมกิจกรรมเพื่อปลูกฝงคุณธรรม จริยธรรม คานิยม ระเบียบวินัยของ ีตนเอง การสันทนาการ และการสงเสริมการทํางานโดยใชกระบวนการกลุมในการทําประโยชนตอชุมชน ทํานุบํารุงขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงาม ซึ่งประกอบดวยการวางแผน ลงมือปฏิบัติประเมินผล และปรับปรุงการทํางาน ไมนอยกวา 120 ชั่วโมง 10. การสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 10.1 ประเมินผานรายวิชาในหมวดวิชาสามัญ หมวดวิชาชีพ และหมวดวิชาเลือกเสรี ตาม มาตรฐานที่กาหนดไวในหลักสูตรแตละประเภทวิชาและสาขาวิชา ํ 10.2 ไดจานวนหนวยกิตสะสมครบตามโครงสรางของหลักสูตรแตละประเภทวิชาและสาขาวิชา ํ 10.3 ไดคาระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ํากวา 2.00  10.4 เขารวมกิจกรรมเสริมหลักสูตรและผานการประเมินตามที่กําหนด 10.5 ประเมินผานมาตรฐานวิชาชีพสาขาวิชา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546
  • 10. 611. การแกไขเปลียนแปลงหลักสูตร ่ 11.1 ใหปลัดกระทรวงศึกษาธิการเปนผูมีอํานาจในการแกไข เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลงและยกเลิก ประเภทวิชาและสาขาวิชา ในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 11.2 ใหอธิบดีกรมอาชีวศึกษาเปนผูมอํานาจในการแกไข เพิ่มเติม เปลี่ยนแปลงสาขางาน ใน ี หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 11.3 ใหสถานศึกษาเปนผูมอํานาจพัฒนา เพิ่มเติมรายวิชา ใหเหมาะสมกับสภาพทองถิ่น โดย ี ตองรายงานใหตนสังกัดทราบประเภทวิชาอุตสาหกรรม / อุตสาหกรรมสิ่งทอ / สารสนเทศและการสื่อสาร
  • 11. 7 รหัสหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 25461 2 3 4 - 5 6 7 8 ชื่อวิชา หนวยกิต (ชั่วโมง) ลําดับที่วิชา 01 - 99 สาขาวิชา/วิชาเรียนรวม กลุมวิชา3 0 0 0 วิชาเรียนรวมหลักสูตร 01 กลุมบริหารงานคุณภาพ 02 กลุมเทคโนโลยีคอมพิวเตอร 0X3 0 0 0 วิชาเรียนรวม(หมวดวิชาสามัญ) 11 กลุมวิชาภาษาไทย ลําดับที่วิชาสามัญ 12 กลุมวิชาภาษาอังกฤษและภาษาอื่น ๆ 01-19 ทั่วไป 13 กลุมวิชาสังคมศึกษา 20-99 พื้นฐานวิชาชีพ 14 กลุมวิชาวิทยาศาสตร 15 กลุมวิชาคณิตศาสตร 16 กลุมวิชามนุษยศาสตร3 0 0 0 วิชาเรียนรวมหลักสูตร 20 กิจกรรมรวมหลักสูตร3 1 0 0 วิชาเรียนรวม(ประเภทวิชา) 00 วิชาปรับพื้นฐานวิชาชีพประเภทวิชา 01 วิชาชีพพื้นฐาน(รวมประเภทวิชา) 02 วิชาชีพสาขางานเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม 03 วิชาชีพพื้นฐาน(รวมคณะวิชาเครื่องกล) 04 วิชาชีพพื้นฐาน(รวมคณะวิชาไฟฟา) 05 วิชาชีพพื้นฐาน(รวมคณะวิชากอสราง) 06 วิชาชีพพื้นฐาน(รวมคณะวิชาเคมี)3 1 X X สาขาวิชา . . . . . . . . . . . . . . . . . . . 00 วิชาปรับพื้นฐานวิชาชีพสาขาวิชา 10 วิชาชีพพื้นฐาน 20 วิชาชีพสาขาวิชา 21 - 39 วิชาชีพสาขางานและการฝกงาน 40 - 59 วิชาทวิภาคี (สาขาวิชาและสาขางาน) 60 โครงการ ประเภทวิชา 1 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม 6 ประเภทวิชาประมง 2 ประเภทวิชาพาณิชยกรรม 7 ประเภทวิชาอุตสาหกรรมทองเทียว 3 ประเภทวิชาศิลปกรรม 8 ประเภทวิชาอุตสาหกรรมสิ่งทอ 4 ประเภทวิชาคหกรรม 9 ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ประเภทวิชาเกษตรกรรม หลักสูตร 3 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง ปวส. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546
  • 12. หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พุทธศักราช 2546 ้ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาเครื่องกล จุดประสงค ผูที่สําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาเครื่องกล สามารถปฏิบัติงานระดับชางเทคนิค ผูควบคุมงาน และผูชวยวิศวกรมความรู ความสามารถ เจตคตและประสบการณดานตาง ๆ ดงตอไปน้ี ี ิ   ั  1. เพื่อใหมีความรูและทักษะเกี่ยวกับ ภาษา สังคม มนุษยศาสตร คณิตศาสตร วิทยาศาสตร นําไป ประยกตพฒนาตนเองและวชาชพเครองกลใหเ กดความเจรญกาวหนา ุ  ั ิ ี ่ื ิ ิ   2. เพื่อใหมีความรูและทักษะในหลักการและกระบวนการทํางานพื้นฐานของชางเทคนิคที่เกี่ยวกับ การบริหารจัดการและการวางแผนในงานอตสาหกรรม และสามารถติดตามความเจริญกาวหนา ุ ทางเทคโนโลยีนํามาพัฒนางานอาชีพเครื่องกลใหมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล 3. เพื่อใหมีความคิดวิเคราะห แกปญหา สรางสรรคและนําเทคโนโลยีมาใชในการพัฒนางาน เทคนิคยานยนต เทคนิคเครืองกลอุตสาหกรรม เทคนิคเครืองกลเรือ เทคนิคเครืองกลเกษตร ่ ่ ่ เทคนคเครองกลเรอพาณชย ิ ่ื ื ิ 4. เพื่อใหมีบุคลิกภาพที่ดี มความรบผดชอบตอตนเอง ครอบครัวและสังคม มีคณธรรมจริยธรรม ี ั ิ  ุ และกิจนิสัยที่ดีในงานอาชีพ 5. เพื่อใหสามารถประกอบอาชีพในสถานประกอบการอุตสาหกรรมหรือสรางสรรคหรือประกอบ อาชีพอิสระในสาขาวิชาเครื่องกล
  • 13. 10 มาตรฐานวชาชพ ิ ี 1. สื่อสารทางเทคนิคในงานอาชีพ 2. จดการระบบฐานขอมลในงานอาชพ ั  ู ี 3. แกปญหาโดยใชคณตศาสตร วิทยาศาสตร เทคโนโลยีและกระบวนการแกปญหา    ิ 4. จัดการ ควบคุม และพัฒนาคุณภาพงาน 5. แสดงบุคลิกภาพและคุณลักษณะของชางเทคนิค 6. ทดสอบการทํางานของเครืองยนต ่ 7. ทดสอบคุณสมบัติของน้ํามันเชื้อเพลิง วัสดุหลอลื่นและของไหล 8. ทดสอบความแขงแรงของวสดุ ็ ั 9. ทดสอบการทํางานของระบบนิวเมติกสและไฮดรอลิกส 10. บริการเครื่องยนตแกสโซลีนและดีเซล 11. บริการระบบสงกําลังและระบบเครื่องลางรถยนต 12. บริการระบบไฟฟาและสิ่งอํานวยความสะดวกสาขางานเทคนิคยานยนต 13. บริการระบบฉีดเชื้อเพลิงแกสโซลีน 14. บริการระบบฉีดเชื้อเพลิงดีเซล 15. บรการระบบปรบอากาศ ิ ั 16. บรการเกยรอตโนมติ ิ ี ั ัสาขางานเทคนคเครองกลอตสาหกรรม ิ ่ื ุ 13. บริการเครืองยนตดเี ซลอุตสาหกรรม ่ 14. บริการเครืองกําเนิดไอน้าอุตสาหกรรม ่ ํ 15. บริการเครืองทําความเย็นอุตสาหกรรม ่สาขางานเทคนคเครองกลเรอ ิ ่ื ื 13. บริการเครืองยนตเรือ ่ 14. บริการระบบสงกําลังเรือ 15. บรการเรอและอปกรณ ิ ื ุสาขางานเทคนิคเครื่องกลเกษตร 13. บรการเครองจกรกลงานพช ิ ่ื ั ื 14. บริการเครืองจักรกลงานสัตว ่ 15. บรการเครองจกรกลหนก ิ ่ื ั ัหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พทธศักราช 2546 (ปวส. 2546) ้ ุ
  • 14. 11สาขางานเทคนคเครองกลเรอพาณชย ิ ่ื ื ิ 13. ดํารงชีวตในเรือ ิ 14. บรการเครองกลเรอพาณชย ิ ่ื ื ิ 15. บรการเครองกลไฟฟาเรอ ิ ่ื  ื 16. บริการระบบปรับอากาศและเครื่องทําความเย็นสาขางานสิ่งแวดลอม 13. บําบัดน้าเพือการบริโภคจากแหลงธรรมชาติทางกายภาพและทางเคมี ํ ่ 14. บาบดนาเสยและบารงรกษาระบบบาบดนาเสยจากอตสาหกรรม ํ ั ้ํ ี ํ ุ ั ํ ั ้ํ ี ุ 15. ควบคุมมลพิษทางอากาศ 16. ควบคุมมลพิษเสียงและความสั่นสะเทือน 17. จัดการสารอันตรายและกากของเสียสาขาวิชาเครื่องกล ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
  • 15. 12 โครงสราง หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พทธศักราช 2546 ้ ุ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาเครืองกล ่ ผูสําเร็จการศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาเครื่องกล ตองศึกษารายวิชาในหมวดวิชาตาง ๆ และเขารวมกจกรรมเสรม   ิ ิหลักสูตร รวมไมนอยกวา 93 หนวยกิต ดงโครงสรางตอไปน้ี ั   1. หมวดวิชาสามัญ ไมนอยกวา 24 หนวยกิต 1.1 วิชาสามัญทั่วไป ( 13 หนวยกิต ) 1.2 วิชาสามัญพื้นฐานวิชาชีพ (ไมนอยกวา 11 หนวยกิต ) 2. หมวดวิชาชีพ ไมนอยกวา 63 หนวยกิต 2.1 วิชาชีพพื้นฐาน ( 15 หนวยกิต ) 2.2 วิชาชีพสาขาวิชา ( 26 หนวยกิต ) 2.3 วิชาชีพสาขางาน (ไมนอยกวา 18 หนวยกิต ) 2.4 โครงการ ( 4 หนวยกิต ) 3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต 4. ฝกงาน (ไมนอยกวา 1 ภาคเรียน) 5. กจกรรมเสรมหลกสตร 120 ชวโมง ิ ิ ั ู ่ั รวม ไมนอยกวา 93 หนวยกิต โครงสรางนี้สําหรับผูสําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หรอเทยบเทาใน ื ี ประเภทวิชาอุตสาหกรรม สาขาวิชาเครื่องกล หรือสาขาวิชาชางยนตหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พทธศักราช 2546 (ปวส. 2546) ้ ุ
  • 16. 13 รายวิชาปรับพื้นฐานวิชาชีพ สําหรับผูสําเร็จการศึกษา หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประเภทวิชาหรือสาขาวิชาอื่นหรือมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรอเทยบเทา จะตองเรยนรายวชาปรบพนฐานวชาชพตอไปน้ี ื ี   ี ิ ั ้ื ิ ี  รหัส ชือวิชา ่ หนวยกิต (ชั่วโมง) 3100-0001 งานเทคนคพนฐานิ ้ื 3 (5) 3100-0002 เขยนแบบเทคนค ี ิ 2 (4) 3100-0003 งานไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส 2 (4) 3101-0001 งานเครองยนตเ ลก ่ื ็ 3 (5) 3101-0002 งานจกรยานยนต ั 3 (5) 3101-0003 งานเครื่องยนตแกสโซลีน 3 (5) 3101-0004 งานเครืองยนตดเี ซล ่ 3 (5) รวม 19 (33)สาขาวิชาเครื่องกล ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
  • 17. 141. หมวดวิชาสามัญ 24 หนวยกิต 1.1 วิชาสามัญทั่วไป ( 13 หนวยกิต ) รหัส ชือวิชา ่ หนวยกิต (ชั่วโมง) 3000-110X กลุมวิชาภาษาไทย 3 (3) 3000-1201 ทักษะพัฒนาเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษ 1 2 (3) 3000-1202 ทักษะพัฒนาเพื่อการสื่อสารภาษาอังกฤษ 2 2 (3) 3000-1301 ชวตและวฒนธรรมไทย ีิ ั 1 (1) 3000-130X กลุมวิชาสังคมศึกษา 2 (2) 3000-1601 หองสมุดกับการรูสารสนเทศ 1 (1) 3000-160X กลุมวิชามนุษยศาสตร 2 (2) 1.2 วิชาสามัญพื้นฐานวิชาชีพ (ไมนอยกวา 11 หนวยกิต ) รหัส ชือวิชา ่ หนวยกิต (ชั่วโมง) 3000-122X กลุมวิชาภาษาอังกฤษ 1 (2) 3000-122X กลุมวิชาภาษาอังกฤษ 1 (2) 3000-142X กลุมวิชาวิทยาศาสตร 3 (4) 3000-1522 คณิตศาสตร 2 3 (3) 3000-1526 แคลคูลัส 1 3 (3)2. หมวดวิชาชีพ ไมนอยกวา 63 หนวยกิต 2.1 วิชาชีพพื้นฐาน 15 หนวยกิต ใหเ รยนรายวชา ลําดับที่ 1 - 3 และเลือกเรียนรายวิชากลุมบริหารงานคุณภาพ 3000-010X และ ี ิกลมเทคโนโลยคอมพวเตอร 3000-020X กลุมละ 1 รายวิชา ุ ี ิ รหัส ชือวิชา ่ หนวยกิต (ชั่วโมง) 3100-0101 กลศาสตรวศวกรรม 1 ิ 3 (3) 3100-0103 กลศาสตรของไหล 3 (3) 3100-0107 ความแขงแรงของวสดุ ็ ั 3 (3) 3000-010X กลุมบริหารคุณภาพ 3 (3) 3000-020X กลมเทคโนโลยคอมพวเตอร ุ ี ิ 3 (4)หมายเหตุ รหัสวิชาที่มีอักษร X ใหเลือกรายวิชาจากกลุมวิชานั้นๆหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พุทธศักราช 2546 (ปวส. 2546) ้
  • 18. 15 2.2 วิชาชีพสาขาวิชา 26 หนวยกิต ใหเรียนรายวิชาลําดับ 1-9 และเลือกเรียนรายวิชาที่เหลือจนครบหนวยกิตที่กําหนด รหัส ชือวิชา ่ หนวยกิต (ชั่วโมง) 3100-0106 นิวเมติกสและไฮดรอลิกส 3 (4) 3100-0111 เทอรโมไดนามิกส 3 (3) 3101-2001 เชื้อเพลิงและวัสดุหลอลื่น 2 (2) 3101-2002 เครื่องยนตสันดาปภายใน 3 (3) 3101-2003 งานทดลองเครืองกล ่ 2 (3) 3101-2004 งานซอมเครองยนต  ่ื 3 (5) 3101-2005 งานสงกําลังยานยนต 2 (3) 3101-2006 งานเครองลางยานยนต ่ื  2 (3) 3101-2007 งานไฟฟายานยนต 3 (5) 3101-2008 วศวกรรมยานยนต ิ 3 (3) 3101-2009 งานแกปญหาเครืองกล  ่ 3 (5) 2.3 วิชาชีพสาขางาน ไมนอยกวา 18 หนวยกิต วิชาชีพสาขางาน แบงออกเปน 6 สาขาวิชาชีพ ใหเลือกเรียนสาขางานใดสาขางานหนึ่ง   1. วิชาชีพสาขางานเทคนิคยานยนต รหัส ชือวิชา ่ หนวยกิต (ชั่วโมง) 3101-2101 งานระบบควบคมเครองยนตดวยอเิ ลกทรอนกส ุ ่ื  ็ ิ 3 (5) 3101-2102 งานทดสอบปมและหัวฉีด 3 (5) 3101-2103 งานปรับอากาศยานยนต 3 (5) 3101-2104 งานเกียรอตโนมัติ ั 3 (5) 3101-2105 งานซอมเครื่องยนตแกสโซลีน 3 (5) 3101-2106 งานซอมเครองยนตดเี ซล  ่ื  3 (5) 3101-2107 เทคโนโลยียานยนตสมัยใหม 2 (2) 3101-2108 งานปรับแตงเครืองยนต ่ 2 (3) 3101-2109 งานอิเล็กทรอนิกสยานยนต 2 (3) 3101-2110 วิศวกรรมดีเซล 3 (3) 3101-2111 งานตวถงรถยนต ั ั 3 (5) 3101-2112 งานสีรถยนต 3 (5) 3101-2113 งานเชื้อเพลิงแกสยานยนต 2 (3) 3101-2114 งานเครองมอกลยานยนต ่ื ื 3 (5) 3101-2115 งานประดบยนต ั 2 (3)สาขาวิชาเครื่องกล ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
  • 19. 16 3101-2116 งานบรการยานยนต ิ 3 (*) 3101-4101 ปฏิบัติงานเทคนิคยานยนต 1 5 (*) 3101-4102 ปฏิบัติงานเทคนิคยานยนต 2 5 (*) 3101-4103 ปฏิบัติงานเทคนิคยานยนต 3 4 (*) 3101-4104 ปฏิบัติงานเทคนิคยานยนต 4 4 (*) 2. วชาชพสาขางานเทคนคเครองกลอตสาหกรรม ิ ี ิ ่ื ุ รหัส ชือวิชา ่ หนวยกิต (ชั่วโมง) 3101-2201 งานบรการเทคโนโลยเี ครองกลตนกาลง ิ ่ื  ํ ั 3 (5) 3101-2202 งานบรการระบบไอนาอตสาหกรรม ิ ํ้ ุ 3 (5) 3101-2203 งานบรการเครองทาความเยนอตสาหกรรม ิ ่ื ํ ็ ุ 3 (5) 3101-2204 งานบริการเครืองปรับอากาศอุตสาหกรรม ่ 3 (5) 3101-2205 งานบารงรกษาเครองจกรกลอตสาหกรรม ํ ุ ั ่ื ั ุ 3 (5) 3101-2206 งานบํารุงรักษาระบบนิวเมติกสและไฮดรอลิกส 3 (5) 3101-2207 กระบวนการผลิต 3 (3) 3101-2208 การสงถายความรอน 3 (3) 3101-2209 การทําความเย็นอุตสาหกรรม 3 (3) 3101-2210 การปรับอากาศอุตสาหกรรม 3 (3) 3101-2211 วิศวกรรมโรงตนกําลัง 3 (3) 3101-2212 เครืองสูบและเครืองอัดอากาศ ่ ่ 3 (3) 3101-2213 ชินสวนเครืองกล ้ ่ 3 (3) 3101-2214 ระบบจดการพลงงานในอตสาหกรรม ั ั ุ 2 (2) 3101-4201 ปฏิบตงานเทคนิคเครืองกลอุตสาหกรรม 1 ั ิ ่ 5 (*) 3101-4202 ปฏิบตงานเทคนิคเครืองกลอุตสาหกรรม 2 ั ิ ่ 5 (*) 3101-4203 ปฏิบตงานเทคนิคเครืองกลอุตสาหกรรม 3 ั ิ ่ 4 (*) 3101-4204 ปฏิบตงานเทคนิคเครืองกลอุตสาหกรรม 4 ั ิ ่ 4 (*) 3. วิชาชีพสาขางานเทคนิคเครื่องกลเรือ รหัส ชือวิชา ่ หนวยกิต (ชั่วโมง) 3101-2301 งานติดตังเครืองยนตเรือ ้ ่ 3 (5) 3101-2302 เกยรเ รอ ี ื 2 (3) 3101-2303 ใบจักรเรือ 2 (3) 3101-2304 ไฟฟาในเรือ 3 (5) 3101-2305 งานซอมเครืองยนตเรือ ่ 3 (5) 3101-2306 การเขยนแบบและอานแบบเรอ ี  ื 2 (3)หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พทธศักราช 2546 (ปวส. 2546) ้ ุ
  • 20. 17 3101-2307 ความตานทานและกําลังเรือ 3 (3) 3101-2308 วศวกรรมเครองกลเรอ ิ ่ื ื 3 (3) 3101-2309 สัญญาณควบคมการเดนเรอ ุ ิ ื 2 (3) 3101-2310 งานทอในเรือ 2 (3) 3101-2311 เครองมอวดและระบบควบคม ่ื ื ั ุ 2 (3) 3101-2312 งานเครองมอกลเรอ ่ื ื ื 3 (5) 3101-2313 การขนถายวัสดุในเรือ 2 (2) 3101-2314 ทฤษฎีเรือ 3 (3) 3101-2315 บคคลประจาเรอ ุ ํ ื 2 (3) 3101-4301 ปฏิบตงานเทคนิคเครืองกลเรือ 1 ั ิ ่ 5 (*) 3101-4302 ปฏบตงานเทคนคเครองกลเรอ 2 ิ ั ิ ิ ่ื ื 5 (*) 3101-4303 ปฏบตงานเทคนคเครองกลเรอ 3 ิ ั ิ ิ ่ื ื 4 (*) 3101-4304 ปฏบตงานเทคนคเครองกลเรอ 4 ิ ั ิ ิ ่ื ื 4 (*) 4. วิชาชีพสาขางานเทคนิคเครื่องกลเกษตร รหัส ชือวิชา ่ หนวยกิต (ชั่วโมง) 3101-2401 งานบรการเครองจกรกลงานพช ิ ่ื ั ื 3 (5) 3101-2402 งานบรการเครองจกรกลงานสตว ิ ่ื ั ั 3 (5) 3101-2403 งานบรการเครองจกรกลหนก ิ ่ื ั ั 3 (5) 3101-2404 งานบรการเครองจกรกลเกษตร ิ ่ื ั 3 (5) 3101-2405 งานเครื่องสูบและชลประทาน 3 (5) 3101-2406 งานเครืองจักรกลอาหาร ่ 3 (5) 3101-2407 งานเทคโนโลยเี ครองจกรกลโรงงานฟารม ่ื ั  3 (5) 3101-2408 งานแกปญหาเครองกลเกษตร   ่ื 3 (5) 3101-2409 งานเครืองทําความเย็นเพือการเกษตร ่ ่ 3 (5) 3101-2410 งานไฟฟาในโรงงานฟารม 3 (5) 3101-2411 งานอเิ ลกทรอนกสเ ครองกลเกษตร ็ ิ ่ื 3 (5) 3101-2412 งานเก็บรักษาผลผลิตเกษตร 3 (5) 3101-2413 งานขนถายและขนสงผลผลิตเกษตร 3 (5) 3101-2414 งานออกแบบและทดสอบชิ้นสวนเครื่องกลหนัก 3 (5) 3101-2415 การใชคอมพวเตอรเ พอการเกษตร  ิ ่ื 2 (3) 3101-2416 เครื่องจักรกลสนามกอลฟ 3 (5) 3101-2417 การวางแผนและการบรหารงานการเกษตร ิ 2 (2) 3101-2418 เทคโนโลยีเครื่องจักรกลเกษตรสมัยใหม 2 (2) 3101-2419 เทคโนโลยีการแปรรูปผลิตภัณฑการเกษตร 2 (3)สาขาวิชาเครื่องกล ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
  • 21. 18 3101-4401 ปฏบตงานเทคนคเครองกลเกษตร 1 ิ ั ิ ิ ่ื 5 (*) 3101-4402 ปฏบตงานเทคนคเครองกลเกษตร 2 ิ ั ิ ิ ่ื 5 (*) 3101-4403 ปฏบตงานเทคนคเครองกลเกษตร 3 ิ ั ิ ิ ่ื 4 (*) 3101-4404 ปฏบตงานเทคนคเครองกลเกษตร 4 ิ ั ิ ิ ่ื 4 (*) 5. วิชาชีพสาขางานเทคนิคเครื่องกลเรือพาณิชย รหัส ชือวิชา ่ หนวยกิต (ชั่วโมง) 3101-2501 งานเครองกลเรอพาณชย ่ื ื ิ 3 (5) 3101-2502 งานเครองกลไฟฟาเรอ ่ื  ื 3 (5) 3101-2503 งานระบบปรับอากาศและเครื่องทําความเย็น 3 (5) 3101-2504 งานเชอมประกอบและเครองมอกล ่ื ่ื ื 3 (5) 3101-2505 เครองจกรชวย 1 ่ื ั  2 (2) 3101-2506 เครองจกรชวย 2 ่ื ั  2 (2) 3101-2507 เครองสบเรอและระบบทอทาง ่ื ู ื  3 (3) 3101-2508 ทักษะชาวเรือ 2 (2) 3101-2509 โครงสรางเรอ  ื 2 (2) 3101-2510 การดารงชพในเรอและการชวยชวต ํ ี ื  ีิ * (*) 3101-2511 การปฐมพยาบาลและการดับไฟเบื้องตน * (*) 3101-2512 ฝกภาคทะเล * (*) 3101-2513 การซอมบารงเครองจกรกลเรอ  ํ ุ ่ื ั ื 3 (5) 3101-2514 อิเล็กทรอนิกสและการสื่อสารเรือ 3 (5) 3101-2515 ภาษาอังกฤษพาณิชยนาวี 1 2 (3) 3101-2516 ภาษาอังกฤษพาณิชยนาวี 2 2 (3) 3101-2517 กฎหมายพาณิชยนาวี 2 (2) 3101-2518 วายน้ํา 1 (2) 3101-2519 ศิลปปองกันตัว 1 (2) 3101-4501 ปฏิบัติงานเทคนิคเครื่องกลเรือพาณิชย 1 5 (*) 3101-4502 ปฏิบัติงานเทคนิคเครื่องกลเรือพาณิชย 2 5 (*) 3101-4503 ปฏิบัติงานเทคนิคเครื่องกลเรือพาณิชย 3 4 (*) 3101-4504 ปฏิบัติงานเทคนิคเครื่องกลเรือพาณิชย 4 4 (*)หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พทธศักราช 2546 (ปวส. 2546) ้ ุ
  • 22. 19หมายเหตุ นักศึกษาตองผานการฝกอบรม หลักสูตรพิเศษของกรมการขนสงทางน้ําและพาณิชยนาวี เพื่อใหสามารถลงปฏิบัติการในเรือไดตามมาตรฐานขององคกรทางทะเลระหวางประเทศ (IMO) ดงตอไปน้ี ั  1. การปองกันและดับไฟ 2. การดํารงชีพในทะเล 3. ความปลอดภัยและความรับผิดชอบในเรือ 4. การปฐมพยาบาล 1 6. วิชาชีพสาขางานเทคโนโลยีสิ่งแวดลอม รหัส ชือวิชา ่ หนวยกิต (ชั่วโมง) 3100-0221 เคมสงแวดลอมเบองตน ี ่ิ  ้ื  2 (3) 3100-0222 จุลชีววิทยาสิ่งแวดลอมเบื้องตน 2 (3) 3100-0223 กลศาสตรของไหลและอุณหพลศาสตรเบื้องตน 3 (3) 3100-0224 เทคนิคการควบคุมและบําบัดน้ําเสีย 3 (5) 3100-0225 เทคนิคการควบคุมมลพิษทางอากาศ 2 (3) 3100-0226 เทคนิคการควบคุมมลพิษเสียงและความสั่นสะเทือน 2 (3) 3100-0227 เทคนิคการจัดการสารอันตรายและกากของเสีย 2 (4) 3100-0228 เทคโนโลยีสะอาดสําหรับชางเทคนิค 2 (3) สําหรับการเรียนการสอนระบบทวิภาคีใหสถานศึกษารวมกับสถานประกอบการ วเิ คราะหจด ุประสงครายวิชา มาตรฐานรายวชา กําหนดแผนการฝกและการประเมินผล โดยใชเวลาไมนอยกวา 40 ชั่ว ิโมงมีคาเทากับ 1 หนวยกิต 2.4 โครงการ 4 หนวยกิต รหัส ชือวิชา ่ หนวยกิต (ชั่วโมง) 3101-6001 โครงการ 4 (*)3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 6 หนวยกิต ใหผูเรียนเลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจ จากรายวิชาในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 ทุกประเภทวิชาสาขาวิชาเครื่องกล ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
  • 23. 204. ฝกงาน (ไมนอยกวา 1 ภาคเรียน) ใหสถานศึกษานํารายวิชาในหมวดวิชาชีพไปจัดฝกในสถานประกอบการ อยางนอย 1 ภาคเรียน  5. กจกรรมเสรมหลกสตร 120 ชวโมง ิ ิ ั ู ่ั ใหจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร ภาคเรียนละ 40 ชวโมง รวมไมนอยกวา 120 ชวโมง ่ั ่ัหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พทธศักราช 2546 (ปวส. 2546) ้ ุ
  • 24. 21 จดประสงค มาตรฐานและคําอธิบายรายวิชา ุ3101-0001 งานเครืองยนตเล็ก ่ 3 (5)จุดประสงครายวิชา 1. เพอใหมความเขาใจเกยวกบโครงสรางและหลกการทางานของเครองยนตเ ลก ่ื  ี  ่ี ั  ั ํ ่ื ็ 2. เพือใหมทกษะในการถอดประกอบ ตรวจ วิเคราะห แกไขปญหาขอขัดของและซอม เครืองยนต ่ ี ั ่ เล็ก 3. เพอใหมกจนสยในการทางานทดี มวนย ตรงตอเวลา ซือสัตย ประหยัดและปลอดภัย ่ื  ี ิ ิ ั ํ ่ี ี ิ ั  ่มาตรฐานรายวชา ิ 1. เขาใจโครงสรางและหลักการทํางานของเครืองยนตเล็ก ่ 2. ตรวจ วิเคราะห แกไขปญหาขอขัดของเครืองยนตเล็ก ่ 3. บํารุงรักษาและบริการระบบตาง ๆ ของเครองยนตเ ลก ่ื ็ 4. ถอดประกอบชินสวนเครืองยนตเล็ก และ ตดเครองยนตทางานได ้ ่ ิ ่ื  ํคําอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบติ การทํางาน การใชเครืองมือ การถอดประกอบ ตรวจสอบชนสวนของระบบตางๆ ั ่ ้ิ  การปรับแตง และการบํารุงรักษาเครืองยนตเล็กแกสโซลีน และ ดีเซล รวมทั้งประมาณราคาคาบริการ ่3101-0002 งานจักรยานยนต 3 (5)จุดประสงครายวิชา 1. เพอใหมความเขาใจเกยวกบโครงสรางและหลกการทางานรถจกรยานยนต ่ื  ี  ่ี ั  ั ํ ั 2. เพือใหมทกษะถอดประกอบ ตรวจ วิเคราะห แกไขปญหาขอขดของและซอมรถจกรยานยนต ่ ี ั    ั   ั 3. เพือใหมกจนิสยทีดในการทํางาน ตรงตอเวลา มนสยซอสตย ประหยัด และปลอดภัย ่ ีิ ั ่ี  ี ิ ั ่ื ัมาตรฐานรายวชาิ 1. เขาใจโครงสรางและหลกการทางานของรถจกรยานยนต   ั ํ ั 2. ตรวจ วิเคราะห แกไขปญหาขอขดของของรถจกรยานยนต    ั  ั 3. บํารุงรักษาและบริการระบบตาง ๆ ของรถจักรยานยนต 4. ถอดประกอบชินสวนรถจักรยานยนตและติดเครืองยนตทางานได ้ ่ ํสาขาวิชาเครื่องกล ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
  • 25. 22คําอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบติ การทํางาน การใชเครืองมือ การถอดประกอบ ตรวจสอบชนสวนของ ระบบตาง ๆ ั ่ ้ิ การปรับแตงและการบํารุงรักษารถจักรยานยนต รวมทั้งประมาณราคาคาบริการ3101-0003 งานเครืองยนตแกสโซลีน ่ 3 (5)จุดประสงครายวิชา 1. เพือใหมความเขาใจเกียวกับ โครงสรางและหลักการทํางานของเครืองยนตแกสโซลีน ่ ี ่ ่ 2. เพือใหมทกษะถอดประกอบ ตรวจ วิเคราะห แกไขปญหาขอขัดของ และ ซอมเครืองยนตแกสโซ ่ ี ั ่ ลีน 3. เพอใหมกจนสยในการทางานทดี มวนย ตรงตอเวลา ซือสัตย ประหยัดและปลอดภัย ่ื  ี ิ ิ ั ํ ่ี ี ิ ั  ่มาตรฐานรายวชา ิ 1. เขาใจโครงสรางและหลักการทํางานของเครืองยนตแกสโซลีน ่ 2. ตรวจ วิเคราะห แกไข ปญหาขอขัดของ ของเครองยนตแกสโซลน ่ื   ี 3. บํารุงรักษาและบริการระบบตาง ๆ ของเครองยนตแกสโซลน ่ื   ี 4. ถอด-ประกอบชนสวนเครองยนตแกสโซลนและตดเครองยนตทางาน ้ิ  ่ื   ี ิ ่ื  ํคําอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบติ การทํางาน การใชเครืองมือ การถอดประกอบ ตรวจสอบชินสวน ของระบบตาง ๆ ั ่ ้การตดเครองยนต การปรับแตง และการบารงรกษาเครองยนตแกสโซลน ิ ่ื ํ ุ ั ่ื   ี3101-0004 เครื่องยนตดีเซล 3 (5)จุดประสงครายวิชา 1. เพือใหมความเขาใจเกียวกับ โครงสรางและหลักการทํางานของเครืองยนตดเี ซล ่ ี ่ ่ 2. เพือใหมทกษะถอดประกอบ ตรวจวิเคราะห แกไขปญหาขอขัดของและซอม ่ ี ั เครองยนตดเี ซล ่ื  3. เพอใหมกจนสยในการทางาน มวนย ตรงตอเวลา ซือสัตย ประหยัด และ ปลอดภัย ่ื  ี ิ ิ ั ํ ีิ ั  ่มาตรฐานรายวชาิ 1. เขาใจโครงสรางและหลกการทางานของเครองยนตดเี ซล   ั ํ ่ื  2. ตรวจ วิเคราะห แกไข ปญหาขอขัดของของเครืองยนตดเี ซล ่ 3. บํารุงรักษาและบริการระบบตาง ๆ ของเครืองยนตดเี ซล ่ 4. ถอดประกอบชนสวนเครองยนตดเี ซลและตดเครองยนตทางานได ้ิ  ่ื  ิ ่ื  ํหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชันสูง พทธศักราช 2546 (ปวส. 2546) ้ ุ
  • 26. 23คําอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบติ การทํางาน การใชเครืองมือ การถอดประกอบ ตรวจสอบชนสวนของระบบตาง ๆ ั ่ ้ิ  การติดตังเครืองยนต การปรับแตง และการบํารุงรักษาเครืองยนตดเี ซล ้ ่ ่3101-2001 เชือเพลิงและวัสดุหลอลืน ้ ่ 2 (2)จุดประสงครายวิชา 1. เพอใหมความเขาใจวธการสารวจและพฒนาแหลงเชอเพลง กระบวนการกลนนามนและผลต ่ื  ี  ิี ํ ั  ้ื ิ ่ั ํ้ ั ิ ภัณฑจากการกลันและวิธการปรับปรุงคุณสมบัตของน้ามันเชือเพลิงและวัสดุหลอลืน ่ ี ิ ํ ้ ่ 2. เพอใหมความสามารถในการจาแนกและเลอกใชเ ชอเพลงและวสดหลอลนเหมาะสมกบเครองจกร ่ื  ี ํ ื ้ื ิ ั ุ  ่ื ั ่ื ั กล 3. เพอใหมกจนสยทดในการคนควาหาความรเู พมเตม ่ื  ี ิ ิ ั ่ี ี   ่ิ ิมาตรฐานรายวชา ิ 1. เขาใจหลักการกระบวนการกลันและปรับปรุงคุณสมบัตนามันเชือเพลิงและวัสดุหลอลืน ่ ิ ํ้ ้ ่ 2. จําแนกชนิด มาตรฐานและคณสมบตของเชอเพลงและวสดหลอลน ุ ัิ ้ื ิ ั ุ  ่ื 3. เลอกเชอเพลงและวสดหลอลนไดเ หมาะสมกบเครองจกรกลชนดตางๆ ื ้ื ิ ั ุ  ่ื ั ่ื ั ิ คําอธิบายรายวิชา ศกษาแหลงกาเนดและชนดของเชอเพลง การสารวจและพฒนาแหลงเชอเพลง โครงสรางอะตอมของ ึ  ํ ิ ิ ้ื ิ ํ ั  ้ื ิสารไฮโดรคารบอน การวเิ คราะหเ ชอเพลงแขงและการปรบปรงคณสมบตกอนการใชงาน การทําน้ามันดิบและ ้ื ิ ็ ั ุ ุ ั ิ  ํเชือเพลิงแกสธรรมชาติใหบริสทธิ์ กระบวนการกลนนามนและผลตภณฑจาการกลน คุณสมบัติมาตรฐานของ ้ ุ ่ั ํ้ ั ิ ั  ่ัเชือเพลิง การเพมคณสมบตเิ ชอเพลงเหลว จุดวาบไฟ คา Octane คา Cetane วัสดุหลอลืนและประเภทวัสดุหลอ ้ ่ิ ุ ั ้ื ิ ่ลืน ความหนืด ดัชนีความหนืด การเพมคณสมบตของวสดหลอลน เทคโนโลยีเชือเพลิงใหม การพัฒนาอุตสาห ่ ่ิ ุ ั ิ ั ุ  ่ื ้กรรมปโตรเคมี3101-2002 เครองยนตสนดาปภายใน ่ื  ั 3 (3)จุดประสงครายวิชา 1. เพือใหมความเขาใจหลักการทํางานของเครืองยนตแกสโซลีนและดีเซล ่ ี ่ 2. เพือใหสามารถคํานวณสวนผสมเชือเพลิงกับอากาศ การสนเปลองเชอเพลงและประสทธภาพของความ ่ ้ ้ิ ื ้ื ิ ิ ิ รอน 3. เพือใหมความเขาใจหลักการและวิธแกไขการเกิดมลภาวะจากยานยนต ่ ี ี 4. เพอใหมกจนสยในการคนควาหาความรเู พมเตม ่ื  ี ิ ิ ั   ่ิ ิสาขาวิชาเครื่องกล ประเภทวิชาอุตสาหกรรม