SlideShare a Scribd company logo
1 of 57
1


ร่อมาฎอนนี้ท่านกำาลังละหมาดต้ารอเวี๊ยะหรือ
ละหมาดมุตลอฆ์(สุนัตทั่วไป)
        ******โดยกองทุนตียารีญะฮ์ กลุ่มครูฟัรฎู
อีน ******

ทำาความเข้าใจจำานวนละหมาดต้ารอเวี๊ยะกันเถิด
    จำานวนละหมาดต้ารอเวี๊ยะนั้น มี 20 รอกอ ััต จากฮา
ดิษของท่านนบี (ซ.ล.) “แท้จริงนบี (ซ.ล.) ได้ออกจากบ้าน
ในช่วงหนึ่งของกลางคืนจากเดือนร่อมาฎอน คือคืนที่ 3 คืน
ที่ 5 และคืนที่ 27 ท่านได้ละหมาดที่มัสยิดและประชาชนได้
ละหมาดพร้อมท่าน ปรากฏว่าท่านทำาละหมาดพร้อมกับ
พวกเขา 8 ร่อกาอัต แล้ว ประชาชนได้ก ลับ ไปท ัำ
อย่า งสมบูร ณ์ท ี่บ ้า นของพวกเขาในส่ว นที่เ หลือ อีก
(คือ 12 ร่อกาอัต และวิเตรอีก 3 ร่อกาอัต) ซึง ปรากฏว่า                             ่
เสีย งดัง กระหึ่ม ไปทั่ว เสมือ นกับ เสีย งของผึ้ง ”
รายงานโดยบุค อรี มุส ลิม จากเหตุการณ์ตรงนี้บรรดา
ซอฮาบะฮ์จึงถือว่าการละหมาดต้ารอเวี๊ยะจึงเป็นแบบฉบับ
ของท่านนบี แต่ไม่ได้มีการละหมาดจำานวน 20 ร่อกาอัต
อย่างเปิดเผยเสมือนสมัยของท่านอุมัร และบุคคลหลังจาก
ท่านอุมัรจนถึงปัจจุบัน และท่านนบีไม่ออกไปละหมาด
พร้อมพวกเขาหลังจากวันดังกล่าว เพราะท่านนบี (ซ.ล.)กลั
วเกิดความลำาบากบนพวกเขา เสมือนท่านกล่าวว่า
       “ ‫ خشيت أ َن تفرض عَليكم فتعجزواعنها‬ความว่า
          َ ْ‫َ ْيِ ُتْ أ ُ ُتْ أ ُ ُتْ َ َ َ ُتْ أ ُ ُتْ َ َ ُتْ ْيِ أ ُ ُتْ َ ُت‬
ข้า พเจ้า กลัว จะเกิด ความลำา บากบนพวกท่า น ดัง นั้น
พวกท่า นจะอ่อ นแอจากมัน ” (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในกิ
ตาบฟิกฮุลอัรบาอะห์ เล่มที่ 1 หน้า ที่ 341)
       และอีกฮาดิษหนึ่งรายงานจากท่านหญิงอาอิชะห์กล่าว
ว่า
                             ِ‫ل َن النبى )ص( صلى ليالى فصلوها معَه ثم تأخرْي‬
                                َ ّ َ َ ّ ُ ‫َ ّ َ َ ْيِ َ َ َ ّ ُتْ َ َ أ ُ أ‬       ّ ِ‫ّ ّ ْي‬
                                                   ِ‫ّ أ ُ ُتْ ْي‬
                                                      ‫وصلى فى بيته باقى الشهور‬
                                                                 َ ِ‫َ َ ّ ْيِ ُتْ َ ُتْ ْيِ ْيِ َ ْي‬
2


      ความว่า “แท้จ ริง ท่า นนบี(ซ.ล.) ได้ล ะหมาดใน
บรรดาคืน ต่า งๆของร่อ มาฎอน แล้ว ประชาชนก็ไ ด้
ละหมาดพร้อ มกับ ท่า นนบี(ซ.ล.) หลัง จากนั้น ท่า น
ก็ไ ด้ป ระวิง ไว้ และท่า นก็ไ ด้ก ลับ ไปละหมาด (จน
สมบูร ณ์)ที่บ ้า นของท่า นและบรรดาคืน ที่เ หลือ ของ
เดือ น” รายงานโดยบุคอรี มุสลิม อิหม่ัำมาลิก อะบูดาวูด
นาซาอี บัยฮากี อิบนุคุซัยมะห์ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในกิ
ตาบมัจมัวะของท่านอิหมำ่านาวาวี หน้าที่ 37 เล่มที่ 4)
      สรุปว่าการละหมาดต้ารอเวี๊ยะนั้นมี 20 ร่อกาอัต ไม่ใช่
จำานวน 8 ร่อกาอัต ดัง นั้น การละหมาด 8 ร่อ กาอัต จึง
ถือ ว่า ไม่ใ ช่ล ะหมาดต้า รอเวี๊ย ะ มัน คือ ละหมาดสุน ัต
ธรรมดาทั่ว ๆไปซึ่ง สามารถละหมาดได้ท ั้ง ปี ไม่ใ ช่
เฉพาะเดือ นร่อ มาฎอนเท่า นั้น (ดูรายละเอียดได้ในกิ
ตาบบาห์รุลบารี)

    เป็น ไปได้อ ย่า งไรว่า ละหมาดต้า รอเวีย ะ
                                          ๊
คือ 20 ร่อ กาอัต ไม่ใ ช่ 8 ร่อ กาอัต
     จากหลักฐานข้างต้นสรุปว่าท่านนบีและซอฮาบะห์ต่าง
กลับไปทำาจนสมบูรณ์ที่บ้านของตนเอง
     ผู้อธิบายอย่างชัดเจนคือท่านอุมัร บินคอตตอบ ท่าน
ได้ละหมาด 20 ร่อกาอัตพร้อมด้วยประชาชนทั้งหลายใน
มัสยิด ปรากฏว่ามีบรรดาซอฮาบะห์ต่างๆ เช่นท่าน อุษมาน
อาลี ร่วมอยู่ด้วย ไม่มีท่านใดโต้แย้งในจำานวนร่อกาอัตดัง
กล่าว
 (แล้ว ท่า นคือ ใคร ที่ไ ปฮุก มว่า ละหมาดต้า รอ
เวี๊ย ะทำา 8 ร่อ กาอัต ก็ไ ด้)

ละหมาดต้ารอเวี๊ยะ มีมากกว่า 20 ร่อกาอัตทำาได้
หรือไม่
    ชาวมะดีนะห์ในอดีตได้ทำาถึง 36 ร่อกาอัต เพื่อให้ได้
ผลบุญเท่ากับชาวมักกะฮ์ ซึ่งชาวมักกะฮ์จะตอวาฟบัย
3


ตุลลอฮ์ 1 รอบ ขณะที่ละหมาดต้ารอเวี๊ยะได้ 4 ร่อกาอัต
เพื่อให้ได้ผลบุญมากยิ่งขึ้นชาวมะดีนะห์จึงเพิ่มอีก 4 ร่อกา
อัตในทุกๆครั้งที่มีการตอวาฟ รวมทั้งหมด 4 ครั้งของการ
เพิ่ม เท่ากับ 16 ร่อกาอัต แต่ไ ม่อ นุญ าตให้บ ุค คลอื่น
จากชาวมะดีน ะห์ป ฏิบ ัต ิ 36 ร่อ กาอัต เพราะชาวมะดี
นะห์ได้รับเกียรติในการอพยพและฝังร่างของท่านนบี
(ซ.ล.)
       (ดูรายละเอียดจากกิตาบมัจมัวะ อิอานะตุดตอลิบีนเพิ่ม
เติมได้)
  *อย่าให้ผลบุญละหมาดต้ารอเวี๊ยะของท่านขาดหายในช่วง
ความประเสริฐของร่อมาฎอน*
     ด้วยความห่วงใย คณะกรรมการกองทุนติญารียะห์
กลุ่มครูฟัรฎูอีน




             นาบีละหมาดตาราแวะห์ 20 ร่อกาอัต

 ‫عَن ابُتْن عَباس رَضى ا عَنهما قَال : كَان رَسأ ُول ا صَلى ا‬
 ُ ‫أ‬ ّ ِ‫ُتْ أ ُ ْي‬ َ      َ     َ ُ ‫ْيِ ْيِ ّ  ٍ ْيِ َ أ ُ ُتْ أ‬
                   ً َ ْ‫ُتْ ْيِ ُتْ َ ُت‬
                      ‫عَليه وسلم يصلى فْيِى رَمضان عْيِشرين رَكعة‬
                                           َ َ َ ْ‫ُت‬ ْ‫َ ُتْ ْيِ َ َ ّ َ أ ُ َ ىِّ ُت‬
                  ‫رواه ابن أبى شيبة وعبد بن حميد والبيهقى‬

    จากอิบนุอับบาส (ร.ด.) ได้กล่าวว่า ปรากฏว่า
ท่านรอซูลุลเลาะฮ์ (ซ.ล.)ละหมาดในเดือนรอมาฎอน
20 รอกาอัต
4


         รายงานโดยอิบนุอบีชัยบะฮ์ อับดุบินหุมัยด์ และ
    บัยฮะกีย์
                   ผูสืบทอดหะดีษ
                     ้
    อับดุลลอฮ์ บินอับบาส,
    มิกซัม
    อัลหะกัม
    อิบรอฮีม บินอุสมาน
    ยะซีด บินฮารูน
    อิบนุอบีชัยบะฮ์
     (จากหนังสือของอิบนุอบีชัยบะฮ์ ฮาดิษที่ 7691 และ
อัลบัยฮะกีย์ ฮาดีษที่ 4615)

                        ฟัตวาสี่มัสฮับ
    ฮานาฟี ชาฟิอี ฮัมบาลี  20 รอกาอัต
    มาลิกี                36 รอกาอัต




         ชี้แจงข้อเขียนของกองทุนติญารียะห์
กลุ่มครูฟัรฺฎูอีน,
                                          โดย
    อ.ปราโมทย์ ศรีอุทัย
                  ‫بسم ا الرحمن الرحيم‬
  ‫الحمدلله رب العالمين، والصلة والسلم على أشرف النبياء‬
 ‫... والمرسلين، سيدنا محمد وعلى آله وصحبه أجمعين أما بعد‬
     ข้างต้นนั้นคือข้อเขียนในเอกสารของกองทุนติญารี
ยะฮ์อันเป็นกลุ่มครูฟัรฺฎูอีนเกี่ยวกับเรื่อง “จำา นวนร็
อกอะฮ์” ของนมาซตะรอเวี๊ยะห์ ซึ่งเอกสารดังกล่าวมี
5


จำานวน 2 หน้ากระดาษ แต่ผมนำามาเรียงพิมพ์ใหม่ชนิดคำา
ต่อคำาเพื่อความชัดเจน เป็น 3 หน้ากระดาษ ...
      นมาซตะรอเวี๊ยะห์ หมายถึงการนมาซในยามคำ่าคืน
ของเดือนรอมะฎอน หลังจากนมาซอิชาอฺเสร็จแล้ว จนถึง
เวลานมาซซุบห์ ...
      ตามปกติการนมาซตะรอเวี๊ยะห์ในประเทศไทยหรือ
ประเทศมุสลิมอื่นๆทั่วโลกจะมีการปฏิบัติกัน 2 ลักษณะคือ
11 ร็อกอะฮ์ กับ 23 ร็อกอะฮ์ ...
      ขอเรียนทำาความเข้าใจกันก่อนว่า ผมไม่ติดใจใน
ความเชื่อ, และการปฏิบัตินมาซตะรอเวี๊ยะห์ของพวกท่าน –
ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มครูฟัรฺฎูอีนหรือผู้ใดก็ตาม -- ว่าพวกท่าน
จะมีความเชื่ออย่างไร หรือมีการปฏิบัตินมาซตะรอเวี๊ยะห์
กันกี่ร็อกอะฮ์ เพราะพวกท่า นมีส ิท ธิท ี่จ ะปฏิบ ัต ิต าม
ความเชื่อ ของพวกท่า นๆได้ และใครๆก็ไ ม่ม ีส ิท ธิไ ป
ห้า มปรามหรือ ขัด ขวางพวกท่า นจากการปฏิบ ัต ิ
เหล่า นั้น ได้ หากพวกท่า นเห็น ว่า มัน ถูก ต้อ ง ...
      แต่สิ่งที่ผมจะเขียนชี้แจง ณ ที่นี้ก็คือ ความเข้า ใจ
ผิด ของพวกท่านเกี่ยวกับความหมายของนมาซตะรอเวี๊
ยะห์, นมาซสุนัตมุฏลัก, และข้อเท็จจริงของหลักฐานจาก
หะดีษและจากตำาราบางเล่มที่พวกท่านนำามาเสนอใน
เอกสารดังกล่าวนั้น ...
      ก่อนอื่น ขอเรียนให้ผู้อ่านทุกท่านโปรดเข้าใจด้วยว่า
คำาว่า “นมาซตะรอเวี๊ย ะห์” ซึ่งพวกเราใช้เรียกการนมาซ
ยามคำ่าคืนของเดือนรอมะฎอนในปัจจุบันนี้นั้น เป็น คำา
ศัพ ท์ท ี่น ัก วิช าการยุค หลัง ได้ก ำา หนดหรือ บัญ ญัต ิข ึ้น
มา เพื่อใช้เรียกการนมาซดังกล่าวให้สอดคล้องกับการ
ปฏิบัติที่นิยมกระทำากันในยุคหนึ่งที่นครมักกะฮ์ ...
      เพราะในทุกๆ 4 ร็อกอะฮ์ของการนมาซนี้จะมีการ
“หยุด พัก ” กัน 1 ครั้ง เพื่อไปฏอว้าฟบัยตุ้ลลอฮ์ ...
      การหยุดพักนี้ ชาวอาหรับจะเรียกว่า “ตัร ฺว ีห ะฮ์” ซึงมี
                                                           ่
พหูหจน์เป็นคำาว่า “ตะรอเวี๊ย ะห์” ดังที่พวกเราและมุสลิม
ทั่วโลกใช้เรียกนมาซนี้กันอยู่ ...
6


     แต่ในสมัยของท่านศาสดามุหมมัด ศ็อลลัลลอฮุ อะลัย  ั
ฮิวะซัลลัม, สมัยของเศาะหาบะฮ์, สมัยของตาบิอีน เป็นต้น
จะเรียกการนมาซนี้ว่า กิยามุรอมะฎอน หรือกิยามุ้ลลัยล์
หรือศ่อลาตุ้ลลัยล์ .. อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังมีปรากฏในหะ
ดีษหลายบทที่กล่าวถึงการนมาซนี้ ...
     ตัวอย่างเช่น ...
     1. คำาว่า “กิย ามุร อมะฎอน” .. ท่านศาสดา
ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัมกล่าวว่า
               َ ّ َ َ ُ ‫َ ُتْ َ َ َ َ َ َ ُتْ َ ً َ ُتْ ْيِ َ ً أ ُ ْيِ َ َ أ‬
                ‫من قا م ر م ضا ن إ ْيِيمانا واحتسابا غفرله ما تقَدم‬
                                               ‫من ذنبه‬
                                                 ِ‫ْيِ ُتْ َ ُتْ ْيِ ْي‬
    “ผู้ใดยืน(นมาซยามคำ่าคืน)ในเดือนรอมะฎอน ด้วย
ความศรัทธาและแสวงหาผลบุญจากอัลลอฮ์ เขาก็จะถูก
อภัยโทษให้ในบาป(เล็ก)ของเขาที่ผ่านมาแล้ว”
    (บันทึกโดย ท่านบุคอรีย์, ท่านมุสลิมและท่านอื่นๆ
โดยรายงานมาจากท่านอบูฮุร็อยเราะฮ์ ร.ฎ.) ...
      คำาว่า ‫ قام رمضان‬กับคำาว่า ‫ قيام رمضان‬มีทมาจากราก
             َ َ َ َ َ َ              َ َ َ َ ُ ‫ْيِ َ أ‬ ี่
ศัพท์เดียวกันและมีความหมายอย่างเดียวกัน .. คือ การยืน
นมาซยามคำ่าคืนในเดือนรอมะฎอน ...
      2. คำาว่า “กิย ามุ้ล ลัย ล์” .. (แปลว่า ยืนนมาซยาม
คำ่าคืน) มีบันทึกในหะดีษหลายบทด้วยกัน ตัวอย่างเช่นหะ
ดีษบทหนึ่งจากท่านหญิงอาอิชะฮ์ ร.ฎ.ที่กล่าวว่า ...
              ِ‫أ ُ َ َ ُتْ ْي‬
                 ‫ل َ تدع ق يا م ال ل ي ل! فإن رسول ا صلى ا عليه‬
                              ّ َ ِ‫َ َ ُتْ ْيِ َ َ ّ ُتْ ْيِ َ ْيِ ّ َ أ ُ ُتْ َ ْي‬
                                                             ُ ‫َ َ ّ َ َ أ ُ أ‬
                                                                ‫..... وسلم ل َ يدَعه‬
     “ท่านอย่าละทิ้งการยืน(นมาซ)ในยามคำ่าคืนเป็นอัน
ขาด เพราะท่านรอซู้ลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัม
ไม่เคยละทิ้งมัน ......”
     (บันทึกโดยท่านอิหม่ามอะห์มัด เล่มที่ 6 หน้า 249) ...
     3. คำาว่า “ศ่อ ลาตุ้ล ลัย ล์” .. (แปลว่า นมาซยามคำ่าคืน
เช่นเดียวกัน) .. ท่านศาสดา ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัม
กล่าวว่า ...
7



                                       ‫ص ل َة ال ل ي ل مثنى مثنى‬
                                       َ ْ‫َ أ ُ ّ ُتْ ْيِ َ ُتْ َ َ ُت‬
      “การนมาซยามคำ่าคืนนั้น ให้ทำาทีละสองร็อกอะฮ์, ทีละ
สองร็อกอะฮ์” ...
      (บันทึกโดยท่านบุคอรีย์, ท่านมุสลิม, ท่านอิหม่ามมา
ลิก, ท่านอบูอะวานะฮ์ โดยรายงานจากท่านอิบนุอุมัรฺ ร.ฎ.)
...
      สรุปแล้ว คำาว่า “นมาซตะรอเวี๊ยะห์” ดังที่รู้จักกันแพร่
หลายในปัจจุบัน จึงไม่เป็นที่รู้จักหรือเรียกกันในยุคของ
ท่านศาสดา, ยุคของเศาะหาบะฮ์หรือยุคของตาบิอีนแต่
อย่างใด ...
      ผมไม่เคยเจอหลักฐานใดที่รายงานว่า คำาว่า “นมาซ
ตะรอเวี๊ยะห์” นี้เกิดขึ้นมาในสมัยใด และนักวิชาการท่าน
ใดเป็นผู้บัญญัติคำาศัพท์นี้ขึ้นมาเพื่อใช้เรียกการนมาซยาม
คำ่าคืนของเดือนรอมะฎอนแทนการเรียกว่า กิยามุรอมะฎอน
หรือศ่อลาตุ้ลลัยล์ ดังในสมัยของท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะ
ลัยฮิวะซัลลัม .. แต่เท่าที่ทราบก็คือในสมัยของท่านบุคอรีย์
(มีชีวิตระหว่างปี ฮ.ศ. 194-256) คำาๆนี้ก็เป็นที่รู้จักกันแล้ว ..
ดังจะเห็นได้จากการที่ท่าน บุคอรีย์ได้ตั้งชือเรื่องในหนังสือ
                                               ่
หะดีษ “อัศ-เศาะเหี๊ยะฮ์” ของท่านบทหนึ่งด้วยคำาว่า ..
            ِ‫ْيِ َ أ ُ َ ْيِ ّ َ ْيِ ُتْ ْي‬
               ‫( : ك تا ب ص ل َة ال ت را و ي ح‬กิต าบ ศ่อ ลาติต -
ตะรอเวี๊ย ะห์) ...

    หะดีษเศาะเหี๊ยะห์เกี่ยวกับการนมาซใน
เดือนรอมะฎอนหรือนมาซตะรอเวี๊ยะห์
    ท่านอบูสะละมะฮ์ บินอับดุรฺเราะห์มาน ได้กล่าวถาม
ท่านหญิงอาอิชะฮ์ รฺ.ฎ.ว่า ...
            َ ّ َ ِ‫أ ُ َ َ ُتْ ْي‬
             ‫كيف كانت صل َة رسول ا صلى ا عليه وسَلم‬
                                  ّ َ ِ‫َ ُتْ َ َ َ ُتْ َ أ ُ َ أ ُ ُتْ ْيِ ْي‬
                                                            ‫فى رمضان؟‬
                                                             َ َ َ َ ْ‫ْيِ ُت‬
    “ท่านรอซู้ลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัม ได้
นมาซอย่างไรในเดือ นรอมะฎอน ?” ..
    ซึงท่านหญิงอาอิชะฮ์ ร.ฎ. ก็กล่าวตอบว่า ...
      ่
8


             َ ‫ما كان رسول ا صلى ا عليه وسلم يزيد فى رمضان ول‬
                 َ َ َ َ َ ْ‫أ ُ َ َ ُتْ ْيِ َ َ ّ َ َ ْيِ ُتْ أ ُ ْيِ ُت‬                    ّ َ ِ‫َ َ َ َ أ ُ ُتْ أ ُ ْي‬
                                                      ً ْ‫َ ُتْ َ َ َ ُت‬
                                                         ‫......... فى غيره على إ ْيِحدى عشرة ركعَة‬
                                                                                َ ْ‫ُت‬             َ َ ِ‫ْيِ ُتْ َ ُتْ ْيِ ْي‬
                “ท่านรอซู้ลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัม ไม่เคย
นมาซ – ไม่ว ่า ในเดือ นรอมะฎอนหรือ มิใ ช่เ ดือ นรอ
มะฎอน – เกิน กว่า 11 ร็อ กอะฮ์ .......................”
                (บันทึกโดยท่านบุคอรีย์, ท่านมุสลิม, ท่านอิหม่ามมา
ลิก, ท่านอบูดาวูด, ท่านอัน-นะซาอีย์, ท่านอะห์มัด, ท่านอัต-
ติรมีซีย์, ท่านอัล-บัยฮะกีย์, และท่านอบู อะวานะฮ์)
        ฺ
                หะดีษบทนี้เป็นหะดีษเศาะเหี๊ยะฮ์โดยปราศจากข้อโต้
แย้ง ...
                จากคำาถามและคำาตอบข้างต้นระหว่างท่านอบูสะละ
มะฮ์และท่านหญิงอาอิชะฮ์ ร.ฎ. มีขอที่น่าสังเกตอยู่ 3                           ้
ประการคือ ...
                1. ท่านอบูสะละมะฮ์ได้ถามท่านหญิงอาอิชะฮ์ ร.ฎ. ถึง
เรื่องการนมาซของท่านรอซุ้ลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะ
ซัลลัมในเดือ นรอมะฎอน โดยเฉพาะ ซึงตามรูปการณ์                                                   ่
แล้วก็คือ เป็นการถามเรื่องนมาซที่เราเรียกกันในปัจจุบัน
ว่า นมาซตะรอเวี๊ยะห์ นั่นเอง ...
                แล้วท่านหญิงอาอิชะฮ์ ร.ฎ. ก็ตอบว่า ท่านนบีย์
ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัม ไม่เ คยนมาซเกิน 11 ร็
อกอะฮ์ ...
                ท่านอิบนุหะญัรฺ อัล-อัสเกาะลานีย์ได้กล่าวในหนังสือ
“ฟัตหุ้ลบารีย์” อันเป็นหนังสืออธิบายหะดีษบุคอรีย์ เล่มที่ 4
หน้า 254 ว่า ...
             ‫وأ َمامارواه ابن أ َبى شيبة من حديث ابن عباس كان رسأ ُول‬
          ُ ‫َ ّ َ َ َ أ ُ ُتْ أ ُ ْيِ ُتْ َ ُتْ َ َ ْيِ ُتْ َ ْيِ ُتْ ْيِ ُتْ ْيِ َ ّ  ٍ )) َ َ ُتْ أ‬
                                َ
                  ً َ ْ‫أ ُ َ َ ُتْ ْيِ َ َ ّ َ أ ُ َ ىِّ ُتْ ْيِ ُتْ َ َ َ َ ْيِ ُتْ ْيِ ُتْ َ َ ُت‬
                     ‫ا صلى ا عليه وسلم يصلى فى رمضان عشرين ركعة‬                                                             ّ َ ِ‫ْي‬
 ْ‫َ َ ُتْ َ َ َ أ ُ َ ْيِ ُتْ أ ُ َ ْيِ َ َ َ َ ّ ْيِ ُت‬
    ‫والوتر(( فإسناده ضعيف! وقد عارضه حديث عائشة هذا الذى‬                              ٌ ْ‫َ ُتْ ْيِ ُتْ َ َ ْيِ ُتْ َ أ ُ أ ُ َ ْيِ ُت‬
     ‫فى الصحيحين مع كونها أ َعلم بحال النبى صلى ا عليه وسلم‬
    َ ّ َ َ ِ‫أ ُ َ َ ُتْ ْي‬                    ّ َ ِّ‫ّ ْيِ ُتْ َ ُتْ ْيِ َ َ َ ُتْ ْيِ َ ُتْ َ َ ْيِ َ ْيِ ّ ْيِ ى‬                    ِ‫ْي‬
                                                                                     ‫ليل ً من غيرها وا أ َعلم‬
                                                                                  ُ ‫َ ُتْ ْيِ ُتْ َ ُتْ ْيِ َ َ أ ُ ُتْ َ أ‬
                “อนึ่ง สิ่งที่ท่านอิบนุอบีย์ชัยบะฮ์ได้รายงานมาจากหะ
ดีษของท่านอิบนุอับบาส ร.ฎ. ว่า ท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะ
ลัยฮิวะซัลลัมได้นมาซในเดือนรอมะฎอน 20 ร็อกอะฮ์และ
9


นมาซวิตรี่นั้น สายรายงานของหะดีษ นี้ เฎาะอีฟ ! ..
และแน่นอน มันยังขัดแย้งกับหะดีษของท่านหญิงอาอิชะฮ์
ร.ฎ.บทนี้จากการบันทึกที่ถูกต้องทั้งสอง (คือท่านบุคอรีย์
และท่านมุสลิม) ซึง ข้อ เท็จ จริง ก็ค ือ ท่า นหญิง อาอิช ะฮ์
                         ่
ย่อ มรู้ด ีก ว่า ผู้อ ื่น ถึง สภาพ (หมายถึงการนมาซและเรื่อ
งอื่นๆ)ของท่า นนบีย ์ใ นยามคำ่า คืน วัลลอฮุ อะอฺลัม” ...
      (หะดีษของท่านอิบนุอับบาส ร.ฎ. จากการบันทึกของ
ท่านอิบนุอบีย์ชัยบะฮ์ ดังที่ท่านอิบนุหะญัรฺ อัล-อัสเกาะลา
นีย์อ้างถึงนั้น ผมจะนำารายละเอียดมาวิเคราะห์อีกครั้งใน
ตอนหลัง อินชาอัลลอฮ์) ...
      2. นมาซที่ท่านนบีย์ปฏิบัติไม่เกิน 11 ร็อกอะฮ์ดังคำา
ตอบของท่านหญิงอาอิชะฮ์ ร.ฎ. มิไ ด้ห มายถึง นมาซสุ
นัต มุฏ ลัก .. ดังความเข้าใจของกลุ่มครูฟัรฺฎูอีน ...
      ทั้งนี้เพราะไม่เคยปรากฏว่าจะมีนักวิชาการหะดีษท่าน
ใด ไม่ว่าท่านบุคอรีย์, ท่านมุสลิม, ท่านอบูดาวูด, ท่านอัน-
นะซาอีย์, ท่านอัต-ติรมีซีย์, ท่านอัล-บัยฮะกีย์ เป็นต้น จะ
                              ฺ
นำาเอาหะดีษบทนี้ไปบันทึกไว้ในเรื่อง “นมาซสุน ัต มุฏ
ลัก ” แม้แต่ท่านเดียว ...
      ตรงกันข้ามพวกท่านได้นำาเอาหะดีษเรื่องการนมาซ
11 ร็อกอะฮ์นี้ไปบันทึกไว้ในเรื่องนมาซตะรอเวี๊ยะห์บ้าง
นมาซตะฮัจญุดบ้าง, กิยามุรอมะฎอนบ้าง, ศ่อลาตุ้ลลัยล์
บ้าง, นมาซวิตรี่บ้าง .. ดังจะถึงต่อไป ...
      เพราะฉะนั้น นมาซจำานวน 11 ร็อกอะฮ์ ดังที่ท่านนบีย์
ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัมกระทำาดังข้อความของหะดีษที่
ถูกต้องข้างต้น แล้วมุสลิมจำานวนมากทั่วโลกก็รับมาปฏิบัติ
ตาม จึงไม่ใช่นมาซสุนัตมุฏลักแน่นอน ...
      และ .. สมมุติว่า ถ้าหะดีษข้างต้นของท่านนบีย์ เป็น
นมาซสุนัตมุฏลักดังที่พวกท่านเข้าใจ ผมก็อยากจะถามว่า
...
      ก. มีนักวิชาการท่านใดบ้างไหมที่อ้างหะดีษบทนี้เป็น
หลักฐานเรื่องนมาซสุนัตมุฏลักดังข้ออ้างของพวกท่าน? ..
10


      ข. หรือมีนักวิชาการท่านใดบ้างไหมที่อธิบายว่าให้
พวกท่านทำานมาซสุนัตมุฏลักทีละ 4 ร็อกอะฮ์, 4 ร็อกอะฮ์
แล้วก็ 3 ร็อกอะฮ์ .. ดังคำาอธิบายของท่านหญิงอาอิชะฮ์ใน
ตอนหลังของหะดีษบทนี้ ??? ...
      3. คำาตอบของท่านหญิงอาอิชะฮ์ ร.ฎ. ที่ว่า .. ไม่ว ่า จะ
เป็น เดือ นรอมะฎอนหรือ มิใ ช่ร อมะฎอน ท่านนบีย์ไม่
เคยนมาซเกิน 11 ร็อกอะฮ์ ...
      คำาตอบนี้มีความหมายชัดเจนว่า นมาซยามคำ่าคืน ไม่
ว่าจะกระทำาในเดือนรอมะฎอน(ที่เราเรียกกันในปัจจุบันว่า
นมาซตะรอเวี๊ยะห์) หรือในเดือนอื่นๆ (ที่เราเรียกกันว่า กิยา
มุลลัยล์บ้าง, ศ่อลาตุ้ลลัยล์บ้าง, นมาซตะฮัจญุดบ้าง ฯลฯ)
  ้
คือ นมาซเดีย วกัน ! และตามปกติท่านนบีย์จะกระทำาไม่
เกิน 11 ร็อกอะฮ์ ...
     หมายเหตุ
     ที่ผมใช้คำาว่า “ตามปกติ” เพราะมีหะดีษที่ถูกต้อง
รายงานมาเช่นเดียวกันว่า บางครั้งท่านนบีย์จะทำา 13 ร็
อกอะฮ์, บางครั้งจะทำา 9 ร็อกอะฮ์ และบางครั้งจะทำาเพียง 7
ร็อกอะฮ์ ซึงผมจะไม่ชแจงรายละเอียดหรือหลักฐาน ณ ที่นี้
           ่          ี้
...

    นมาซของท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะ
ซัลลัมดังรายงานข้างต้นคือนมาซอะไร ? ...
     ท่านบุคอรีย์ได้นำาเอาหะดีษบทข้างต้นนี้มาบันทึกไว้
ในหนังสือหะดีษ “อัศ-เศาะเหี๊ยะห์” ของท่าน 3 ตำาแหน่งคือ
...
     1. ในกิตาบ “อัต -ตะฮัจ ญุด ” หะดีษที่ 1147, บาบว่า
ด้วยเรื่อง “การนมาซของท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะ
ซัลลัม ยามคำ่าคืนในเดือนรอมะฎอนและเดือนอื่นๆ” ..
     2. ในกิตาบ “ศ่อ ลาตุ้ต ตะรอเวี๊ย ะห์” หะดีษที่ 2013,
บาบว่าด้วยเรื่อง “ความประเสริฐของการนมาซยามคำ่าคืน
ในเดือนรอมะฎอน ...
11


       3. ในกิตาบ “อัล -มะนากิบ ” หะดีษที่ 3569, บาบว่า
ด้วยเรื่อง “ตาของท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัม
หลับ แต่ใจของท่านไม่หลับ” ...
       -- ท่านมุสลิมได้บันทึกหะดีษบทข้างต้นนี้ในหนังสือหะ
ดีษ “อัศ-เศาะเหี๊ยะห์” ของท่านเล่มที่ 1 หน้า 509, หรือหะ
ดีษที่ 125/738, บาบว่าด้วยเรื่อง “ศ่อ ลาตุ้ล ลัย ล์ และจำา
นวนร็อกอะฮ์ของการนมาซยามคำ่าคืน” ...
       -- ท่านอบูดาวูดได้บันทึกหะดีษนี้ในหนังสือ “อัส-สุ
นัน” ของท่าน หะดีษที่ 1341 ในบาบเรื่อง “ศ่อ ลาตุ้ล ลัย ล์”
เช่นเดียวกัน ...
       -- ท่านอัต-ติรฺมีซย์ได้บันทึกหะดีษบทนี้ใหนังสือ “อัส-
                         ี
สุนัน” ของท่าน หะดีษที่ 439 ในบาบว่าด้วยเรื่อง “ลัก ษณะ
การนมาซของท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมยาม
คำ่า คืน ” ...
       -- ท่านอัน-นะซาอีย์ได้บันทึกหะดีษนี้ในหนังสือ “อัส-
สุนัน” ของท่าน หะดีษที่ 1696 บาบว่าด้วยเรื่อง “‫كيف الوتر‬
                                                       ِ‫َ ُتْ َ ُتْ ْيِ ُتْ ْي‬
ٌ َ
 ‫ ”ثل َث‬คือ ทำา นมาซวิต รี่ 3 ร็อ กอะฮ์อ ย่า งไร ? ...
       -- ท่านอิหม่ามมาลิก ได้บันทึกหะดีษนี้ในหนังสือ “อัล-
มุวัฏเฏาะอ์” ของท่าน เล่มที่ 1 หน้า 107, บาบว่าด้วยเรื่อง
“การนมาซวิต รี่ของท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะ
ซัลลัม”...
       ท่านอัล-บัยฮะกีย์ ได้บันทึกหะดีษนี้ในหนังสือ “อัส-สุ
นัน อัล-กุบรออ์” ของท่าน เล่มที่ 2 หน้า 495 ในบาบว่าด้วย
เรื่อง “สิ่งที่ถูกรายงานมาเกี่ยวกับจำา นวนร็อ กอะฮ์ข อง
นมาซยามคำ่า คืน เดือ นรอมะฎอน (คือนมาซตะรอเวี๊
ยะห์) ...
       -- ท่านมุหมมัด อิบนุนัศร์ อัล-มัรฺรูซีย์ (สิ้นชีวิตปี ฮ.ศ.
                   ั
294) ได้เขียนหนังสือชี้แจงหลักฐานเกี่ยวกับการนมาซ
เหล่านี้รวม 3 เล่ม .. คือหนังสือกิยามุรอมะฎอน , หนังสือกิ
ยามุ้ลลัยล์, และหนังสือศ่อลาตุ้ตตะรอเวี๊ยะห์ ...
12


      เป็นที่น่าสังเกตว่า “หลัก ฐาน” ของนมาซทั้ง 3 ชนิด
ข้างต้นที่ท่านอิบนุนัศร์นำามาบันทึกไว้ในหนังสือทั้ง 3 เล่ม
นั้น เป็น “หลัก ฐานเดีย วกัน ” เกือบทั้งสิ้น ...
      การที่บรรดานักวิชาการหะดีษซึ่งได้กล่าวนามมาข้าง
ต้น ได้นำาเอาหะดีษเรื่องการนมาซ 11 ร็อกอะฮ์ของท่าน
นบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม “บทเดีย ว” กันนี้มาระบุ
ไว้ในเรื่องนมาซตะฮัจญุดบ้าง, นมาซตะรอเวี๊ยะห์บ้าง,
นมาซยามคำ่าคืนหรือศ่อลาตุ้ลลัยล์บ้าง, นมาซวิตรี่บ้าง, จำา
นวนร็อกอะฮ์ของนมาซยามคำ่าคืนในเดือนรอมะฎอนบ้าง ..
เหล่านี้ ย่อมบ่งบอกความหมายชัดเจนว่าไม่ว่าเราจะเรียก
นมาซยามคำ่าคืนนี้ว่า นมาซตะรอเวี๊ยะห์, หรือกิยามุรอ
มะฎอน, หรือกิยามุ้ลลัยล์, หรือศ่อลาตุ้ลลัยล์, หรือนมาซวิ
ตรี่ (หรือแม้แต่นมาซตะฮัจญุด) ...
      แต่ตามข้อเท็จจริงแล้ว นมาซทีมีชื่อหลากหลายดัง
                                     ่
ข้างต้นนี้ ก็ค ือ นมาซเดีย วกัน ดังกล่าวมาแล้ว ...
      หากมีคำาถามว่า ถ้าเป็นนมาซเดียวกันจริง ทำาไม่จึง
ต้องมีชื่อเรียกแตกต่างกันเป็นหลายชื่ออย่างนั้น ? ...
      คำาตอบก็คือ เพราะเราพิจารณานมาซชนิดนี้ในหลาย
แง่มุมหรือหลายมุมมอง .. ไม่ว่าในลักษณะการกระทำา, ใน
เวลาหรือเดือนที่กระทำา, ในจำานวนร็อกอะฮ์ที่กระทำา, หรือ
แม้แต่ในรูปแบบส่วนตัวของผู้กระทำา ...
      สาเหตุที่เราเรียกนมาซนี้ว่า นมาซตะรอเวี๊ยะห์ เพราะ
ชาวมักกะฮ์ยุคก่อนจะมีการตะรอเวี๊ยะห์ .. คือหยุดพัก (เพื่อ
ฏอว้าฟ) ในทุกๆ 4 ร็อกอะฮ์ ...
      สาเหตุที่เราเรียกนมาซนี้ว่า กิยามุรอมะฎอน เพราะเรา
ทำามันใน(ยามคำ่าคืนของ) เดือนรอมะฎอน ...
      สาเหตุที่เราเรืยกนมาซนี้ว่า กิยามุ้ลลัยล์หรือศ่อลาตุ้ล
ลัยล์ เพราะเราปฏิบัติมันในตอนกลางคืน (กิยามหรือศ่อ
ลาฮ์ แปลว่าการยืนนมาซ, ส่วนอัล-ลัยล์ แปลว่ากลางคืน) ...
      สาเหตุที่เราเรียกนมาซนี้ว่า นมาซวิตรี่ เพราะ
พิจารณาถึงผลสรุปจำานวนร็อกอะฮ์ของมันว่า สุดท้ายจะ
ต้องเป็น “จำา นวนคี่” เสมอ (วิตรี่ แปลว่า จำานวนคี่) ...
13


      และสาเหตุที่เราเรียกนมาซนี้ว่า นมาซตะฮัจญุด ก็
เพราะเรานอนก่อนแล้วตื่นขึ้นมาทำามันทีหลัง ...
      (คำาว่า “ตะฮัจ ญุด ” แปลว่า การนอนหลับ/ การตื่นขึ้น
มาตอนกลางคืน) ...
      อุปมาเปรียบเทียบในเรื่องนี้ ก็อุปมัยอย่างเช่นคุณชวน
หลีกภัย ซึ่งเราสามารถเรียกท่านได้หลายอย่าง แล้วแต่ว่า
จะมองในมุมมองไหน ...
      เราเรียกท่านว่า คุณชวน หลีกภัย ก็ได้(เพราะนี่คือชื่อ
จริงของท่าน) ...
      เราเรียกท่านว่า อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์
ก็ได้(เพราะในอดีตท่านเคยเป็นหัวหน้าพรรคการเมืองนี้) ...
      เราเรียกท่านว่า อดีตนายกรัฐมนตรี ก็ได้ (เพราะใน
อดีตท่านเคยดำารงตำาแหน่งนี้)
      เราเรียกท่านว่า อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
ศึกษาธิการก็ได้ (เพราะในอดีตท่านเคยดำารงตำาแหน่งนี้) ...
      เราเรียกท่านว่า อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
มหาดไทยก็ได้ (เพราะในอดีตท่านเคยดำารงตำาแหน่งนี้) ...
      เราเรียกท่านว่า อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวง
กลาโหม ก็ได้ (เพราะในอดีตท่านเคยดำารงตำาแหน่งนี้) ...
      เราเรียกท่านว่า ประธานกรรมการที่ปรึกษาพรรค
ประชาธิปัตย์ ก็ได้ (เพราะปัจจุบันท่านดำารงตำาแหน่งนี้) ...
      หรือเราจะเรียกท่านว่า ลูกแม่ถ้วน ก็ได้(เพราะมารดา
ของท่านคือแม่ถ้วนหลีกภัย)
      แต่, ..ไม่ว่าเราจะเรียกท่านอย่างไร เราก็ปฏิเสธไม่ได้
ว่าทุกนามข้างต้นหมายถึง“ตัว ตนของบุค คลคน
เดีย วกัน ” คือคุณชวน หลีกภัย ...
     สำาหรับข้อเขียนของพวกท่านข้างต้น ผมขอชี้แจง
ใน 8 ประเด็นดังต่อไปนี้ ...
     (1). คำากล่าวที่ว่า “จำา นวนละหมาดต้า รอเวี๊ย ะนั้น
มี 20 ร่อ กาอัต จากฮาดิษ ของท่า นนบี (ซ.ล.)” ......
     ชีแจง
       ้
14


      หากคำาพูดข้างต้นนี้ต้องการสื่อความหมายว่า จำา นว
นร็อ กอะฮ์ข องนมาซตะรอเวี๊ย ะห์ค ือ 20 ร็อ กอะฮ์
เท่า นั้น จะทำา “เพิ่ม ” หรือ “ลด” ไม่ได้ .. คำาพูดนี้ก็ขัดแย้ง
กับคำาอธิบายตอนหลังของท่านเองที่ว่า ชาวมะดีน ะฮ์น ั้น
จะนมาซตะรอเวี๊ย ะห์ 36 ร็อ กอะฮ์!
      เพราะสมมุติว่า .. ถ้าท่านนบีย์(ซึ่งขณะนั้นอาศัยอยู่ที่
นครมะดีนะฮ์) ทำานมาซนี้ 20 ร็อกอะฮ์จริง .. แล้วชาวมะดี
นะฮ์ยุคหลังจากท่านนบีย์ไปทำา 36 ร็อกอะฮ์ ...
      ชาวมะดีนะฮ์ก็เป็นผู้ “เพิ่ม เติม ” จำานวนร็อกอะฮ์ของ
นมาซนี้ให้มากขึ้นกว่าการกระทำาของท่านนบีย์ ...
      การเพิ่มจำานวนร็อกอะฮ์นมาซนี้ของชาวมะดีนะฮ์จึง
แสดงว่า นมาซนี้ไม่มีการกำาหนดจำานวนร็อกอะฮ์ที่
 “แน่น อนตายตัว ” ว่าต้องทำาเพียง 20 ร็อกอะฮ์ ...
      เมื่อไม่มีการกำาหนดจำานวนร็อกอะฮ์ที่แน่นอนตายตัว
.. คือ สามารถทำา เพิ่ม จากการกระทำา ของท่า นนบีย ์
ได้ ...
      ผมจึงสงสัยว่า แล้ว ทำา ไมจะทำา ลด ไม่ไ ด้ ? ...
      โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จำานวนที่ลดลง (จากจำานวนเต็มที่
ท่านนบีย์ทำาไว้ 20 ร็อกอะฮ์ดังหะดีษที่ท่านอ้างถึงในตอน
หลัง) เหลือเพียง 11 ร็อกอะฮ์ ก็เป็นจำานวนที่ท่านนบีย์
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมเอง กระทำา เป็น ประจำา เสีย
ด้วย .. ดังหะดีษเศาะเหี๊ยะห์ที่รายงานโดยท่านหญิงอาอิ
ชะฮ์ ร.ฎ.ข้างต้น ...
      ส่วนข้ออ้างของท่านตอนหลังที่ว่า .. “แต่ไม่อนุญาต
ให้บุคคลอื่นจากชาวมะดีนะฮ์ปฏิบัติ 36 ร็อกอะฮ์” .. ก็เป็น
เพียงข้ออ้างที่เลื่อนลอยหรือเป็นทัศนะของนักวิชาการบาง
ท่านโดยปราศจากหลักฐานใดๆทั้งสิ้น ...
      ใครคือผู้กำาหนดข้อห้ามดังกล่าว ? .. ท่านนบีย์เอง,
หรือชาวมะดีนะฮ์คนใด ? ...
      เพราะฉะนั้นสรุปแล้ว ที่ถูกต้องตามทัศนะของพวก
ท่านในกรณีนี้ จึงควรจะพูดว่า นมาซตะรอเวี๊ยะฮ์นั้นไม่ม ี
15


จำา นวนร็อ กอะฮ์ท ี่แ น่น อนตายตัว แม้ท ่า นนบีย ์จ ะทำา
20 ร็อ กอะฮ์ ก็ต าม ...
     (2). คำากล่าวที่ว่า .. “แท้จ ริง ท่า นนบี (ซ.ล.) ได้
ออกจากบ้า นในช่ว งหนึ่ง ของกลางคืน จากเดือ นร่อ
มาฎอน คือ คืน ที่ 3, คืน ที่ 5, และคืน ที่ 27” ...
       ชีแจง
         ้
       ข้อความตอนนี้และต่อไปเกือบทั้งหมด ผมรู้ว่าพวก
ท่านคัดลอกและแปลมาจากหนังสือ “อัล -ฟิก ฮ์ อะลัล
มะษาฮิบ ิล อัร ฺบ ะอะฮ์” หรือหนังสือ “ฟิก ฮ์ 4 มัษ ฮับ ”
เล่มที่ 1 หน้า 341 ซึงเรียบเรียงโดยท่านเช็คอับดุรฺเราะห์
                     ่
มาน อัล-ญะซะรีย์ (สิ้นชีวิตปี ค.ศ.1970, ขออัลลอฮ์โปรด
เมตตาต่อท่านด้วย) ..โดยพวกท่านไม่ได้ตรวจสอบข้อเท็จ
จริงจากตำาราที่หนังสือฟิกฮ์ 4 มัษฮับเล่มนั้นอ้างอิงถึงแต่
อย่างใด ข้อมูลของมันจึงมีความคลาดเคลื่อนมากมายดัง
จะได้อธิบายต่อไป ...
       ส่วนข้อความข้างต้นนี้ ขออภัยที่ผมจำาเป็นต้องทักท้วง
ว่า ผู้แปลได้แปลคำาพูดของท่านเช็คอับดุรฺเราะห์มาน อัล-
ญะซะรีย์ไม่ถูกต้อง ซึ่งเป็นไปได้ว่าอาจเป็นเพราะท่านไม่
เข้าใจลักษณะการเชื่อมคำา (‫ )عطف‬เกี่ยวกับคำานามที่เป็น
                              ٌ ْ‫َ ُت‬
ตัวเลขเรียงตั้งแต่ยี่สิบขึ้นไปในภาษาอาหรับ ก็ได้ ...
     ข้อความจากต้นฉบับหนังสือฟิกฮ์ 4 มัษฮับ เล่มและ
หน้าดังกล่าว เขียนว่า ...
    ‫فَقد رَوى الشّيخان ))أَنه صَلى ا عَليه وَسلم خَرج مْيِن جَوف‬
    ِ‫أ ُ َ ُتْ ْيِ َ ّ َ َ َ ُتْ ُتْ ْي‬ ّ ُ ‫ُتْ َ ْيِ ّ أ‬ َ ْ‫َ ُت‬
           ،‫الليل لَيالى مْيِن رَمصان، وهى ثل َث متفرقة، ليلة الثالث‬
            ِ‫ّ ُتْ ْيِ َ ْيِ َ ُتْ َ َ َ َ ْيِ َ َ ٌ أ ُ َ َ ىِّ َ ٌ َ ُتْ َ أ ُ ّ ْيِ ْي‬
                                         َ ْ‫َ ُتْ َ ْيِ ْيِ َ ّ ْيِ ْيِ َ ُتْ ْيِ ُتْ ْيِ ُت‬
                                          ‫)) ..... والخامس، والسابع والعشرين‬
     ซึงคำาแปลที่ถูกต้องก็คือ .. “แท้จริงท่านเช็คทั้งสอง
         ่
(คือท่านบุคอรีย์และท่านมุสลิม) ได้รายงานมาว่า ท่านนบีย์
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมได้ออกไปในตอนกลางคืน –
หลายคืน -- จากเดือนรอมะฎอนซึ่งเป็น 3 คืนที่แยกกัน คือ
คืน ที่ 23, คืน ที่ 25, และคืน ที่ 27 .........”
16


         หลักฐานยืนยันในเรื่องนี้ก็คือหะดีษหลายบทที่ถูก
รายงานมาเกี่ยวกับเรื่องการออกมานมาซร่วมกับเศาะหาบ
ะฮ์เพียง 3 คืนของท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมใน
เดือนรอมะฎอนหนึ่งในมัสญิด .. อย่างเช่นหะดีษของท่าน
อัน-นุอฺมาน บินบะชีรฺ ร.ฎ. ที่กล่าวว่า ...
          َ َ َ َ ِ‫أ ُ َ َ ُتْ ْيِ َ َ ّ َ ْيِ ُتْ ُتْ ْي‬
           ‫قمنا مع رسول ا صلى ا عليه وسلم فى شَهر رمضان‬                    ّ َ ِ‫أ ُ ُتْ َ َ َ َ أ ُ ُتْ ْيِ ْي‬
   ‫ليلة ثل َث وعشرين إ ْيِلى ثلث الليل ال َول، ثم قمنا معه ليلة خمس‬
 ٍ  ْ‫َ ُتْ َ َ َ  ٍ َ ْيِ ُتْ ْيِ ُتْ َ َ أ ُ أ ُ ْيِ ّ ُتْ ْيِ ُتْ ّ ْيِ أ ُ ّ أ ُ ُتْ َ َ َ أ ُ َ ُتْ َ َ َ ُت‬
ّ َ َ ْ‫َ ْيِ ُتْ ْيِ ُتْ َ َ ْيِ ُتْ ْيِ ّ ُتْ ْيِ أ ُ ّ أ ُ ُتْ َ َ َ َ ُتْ َ َ ُتْ  ٍ َ ْيِ ُتْ ْيِ ُت‬
 ‫وعشرين إ ْيِلى نصف الليل، ثم قمنا معهأ ُ ليلة سَبع وعشرين حتى‬
                   ‫... ظننا أ َن ل َ ندُتْرك الفل َح، _ وكانوا يسمونه السّحور‬
                  َ ْ‫أ ُ ُت‬      ُ ‫َ َ أ ُ ُتْ أ ُ َ ّ ُتْ َ أ‬  َ َ ْ‫َ َ ّ ُتْ أ ُ ْيِ َ ُت‬
         “พวกเราได้นมาซพร้อมกับท่านรอซู้ลุลลอฮ์
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมคืน ที่ 23 ของเดือนรอมะฎอน
จนถึงหนึ่งในสามแรกของคืน (คือจนถึงประมาณ 4 ทุ่ม),
ต่อมาพวกเราก็ได้นมาซพร้อมกับท่านในคืน ที่ 25 จนถึง
เที่ยงคืน, หลังจากนั้นพวกเราก็นมาซพร้อมกับท่านในคืน
ที่ 27 จนพวกเราเข้าใจว่า พวกเราคงไม่ทันอัล-ฟะลาห์,
(ท่านอัน-นุอฺมานกล่าวว่า) และพวกเขา (เศาะหาบะฮ์) จะ
เรียกมัน (อัล-ฟะลาห์) ว่าการทานอาหารซะหูรฺ(หรือเวลา
ซะหูรฺ)” ...
         (บันทึกโดยท่านอัน-นะซาอีย์ หะดีษที่ 1605, ท่านอิ
หม่ามอะห์มัด เล่มที่ 4 หน้า 272, ท่านอิบนุอบีย์ชัยบะฮ์ เล่ม
ที่ 2 หน้า 286, ท่านอิบนุคุซัยมะฮ์ หะดีษที่ 2204, ท่านอัล-
หากิมในหนังสือ “อัล-มุสตัดร็อก” เล่มที่ 1 หน้า 607, และ
ท่านมุหมมัด อิบนุนัศรฺ ในหนังสือ “กิยามุรอมะฎอน” หะดีษ
            ั
ที่ 20 สำานวนข้างต้นเป็นสำานวนจากการบันทึกของท่าน
อัน-นะซาอีย์ ด้วยสายรายงานที่ถูกต้อง) ...
         (3). คำากล่าวที่ว่า .. “ท่า นได้ล ะหมาดที่ม ัส ยิด และ
ประชาชนได้ล ะหมาดพร้อ มท่า น ปรากฏว่า ท่า นได้
ละหมาดพร้อ มกับ พวกเขา 8 ร่อ กาอัต แล้ว
ประชาชนได้ก ลับ ไปทำา อย่า งสมบูร ณ์ท ี่บ ้า นของ
พวกเขาในส่ว นที่เ หลือ (คือ อีก 12 ร่อ กาอัต และวิเ ตรฺ
อีก 3 ร่อ กาอัต ) ซึ่ง ปรากฏว่า เสีย งดัง กระหึ่ม ไปทั่ว
เสมือ นกับ เสีย งของผึ้ง ) รายงานโดยบุค อรีม ุส ลิม ...
17


          ชีแจง
            ้
           ข้อความข้างต้นนี้ กล่มทุนติญารียะห์และกลุ่มครูฟัรฺฎู
อีนได้แปลมาจากหนังสือฟิกฮ์ 4 มัษฮับเล่มที่ 1 หน้า 341 ซึ่ง
มีข้อความเป็นภาษาอาหรับว่า ...
             ،‫وصلى الناس بصل ْيَِته فيها، وكان يصلى بهم ثمان ركعات‬
              ٍ  َ َ َ ِ‫ّ أ ُ ْيِ َ ْيِ ْيِ ُتْ َ َ َ َ أ ُ َ ىِّ ُتْ ْيِ ْيِ ُتْ َ َ ْي‬                               َّ َ
      ‫ويكملون باقيها فى بيوتهم، فكان َيسمع لهم أ َزيز كأزيز النحُتْل‬
   ِ‫َ أ ُ َ ىِّ أ ُ ُتْ َ َ ْيِ َ َ ْيِ ُتْ أ ُ أ ُ ُتْ ْيِ ْيِ ُتْ َ َ أ ُ ُتْ َ أ ُ َ أ ُ ُتْ ْيِ ُتْ ٌ َ َ ْيِ ُتْ ْيِ ّ ْي‬
                                                                                                                      ...
           แม้การแปลของท่านจะถูกต้อง แต่ผมขอเรียนชี้แจงว่า
ข้อความข้างต้นนี้ ถือเป็นการอ้างรายงานที่ “มัว ” ที่สุดของ                                       ่
หนังสือฟิกฮ์ 4 มัษฮับเล่มนี้ ...
           เพราะข้อความดังกล่าวทั้งหมด – โดยเฉพาะตั้งแต่คำา
กล่าวที่ว่า .. ท่านได้ละหมาดพร้อมกับพวกเขา 8 ร่อกาอัต
แล้ว ประชาชนได้ก ลับ ไปทำา อย่า งสมบูร ณ์ท ี่บ ้า น
ของพวกเขาในส่ว นที่เ หลือ ซึง ปรากฏว่า มีเ สีย งดัง            ่
กระหึ่ม ไปทั่ว เสมือ นกับ เสีย งของผึ้ง – นั้น ...
           ขอยืนยันว่า ข้อความที่ผมลงตัวหนาไว้นี้ ไม่มีปรากฏ
อยู่ในส่วนไหนและตอนใดในหะดีษของท่านบุคอรีย์และ
ท่านมุสลิมแม้แต่นิดเดียว ...
           อย่าว่าแต่ในตำาราหะดีษบุคอรีย์และมุสลิมเลย แม้แต่
ในตำาราหะดีษที่เชื่อถือได้เล่มอื่นๆ อาทิเช่นอบูดาวูด, อัน-
นะซาอีย์, อัต-ติรฺมีซย์, อัล-มุวัฏเฏาะอ์, มุสนัดอิหม่ามอะห์
                                           ี
มัด, อิบนุมาญะฮ์ เป็นต้น ก็ไม่ปรากฏมีข้อความข้างต้นนี้
เช่นเดียวกัน ...
           ผมจึงสงสัยว่าท่านอัล-ญะซะรีย์เอาข้อความดังกล่าวนี้
จากตำาราหะดีษเล่มใดมาระบุในหนังสือฟิกฮ์ 4 มัษฮับของ
ท่าน ??? ...
           ผมขออธิบายรายละเอียดของข้อความข้างต้นนี้เพิ่ม
เติม 2 ประการด้วยกันคือ ...
           ประการที่ 1 ในหนังสือหะดีษบุคอรีย์และมุสลิมบทที่
กล่าวถึงการออกมานมาซญะมาอะฮ์พร้อมกับบรรดาเศาะ
หาบะฮ์ใน 3 คืนดังกล่าวของท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ
วะซัลลัมทุกบท ไม่ม ีบ ทใดกล่า วถึง จำา นวนร็อ กอะฮ์ท ี่
18


ท่า นนบีย ์น ำา นมาซพวกเขาเลยว่า ท่า นทำา 8 ร็
อกอะฮ์,..นอกจากเราได้ทราบจำานวนร็อกอะฮ์ดังกล่าวนั้น
จากการบันทึกของท่านมุหัมมัด อิบนุนัศร์ในหนังสือ “กิยามุ
รอมะฎอน” หะดีษที่ 22, ท่านอิบนุคุซัยมะฮ์ หะดีษที่ 1070,
และท่านอัฏ-ฏ็อบรอนีย์ในหนังสือ “อัล-มุอฺญัม อัศ-เศาะฆีรฺ”
หะดีษที่ 525 โดยรายงานมาจากท่านญาบิรฺ บินอับดุลลอฮ์
ร.ฎ.ว่า ...
               ِ‫أ ُ َ َ ُتْ ْيِ َ َ ّ َ ْيِ ُتْ ُتْ ْي‬
                  ‫صلى بنا رسول ا صلى ا عليه وسلم فى شَهر‬        ّ َ ِ‫َ ّ ْيِ َ َ أ ُ ُتْ أ ُ ْي‬
                                                        ‫رمضان ثمان ركعات وأ َوتر‬
                                                       َ َ ْ‫َ َ َ َ َ َ ْيِ َ َ َ  ٍ َ ُت‬
     “ท่านรอซู้ลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมได้นำา
นมาซพวกเราในเดือนรอมะฎอน (หมายถึงนมาซตะรอเวี๊
ยะห์) 8 ร็อ กอะฮ์, และท่า นก็ท ำา นมาซวิต รี่” ...
     หะดีษบทนี้ แม้สายรายงานจะเฎาะอีฟ แต่ข้อความ
ของมันถือว่าถูกต้องเพราะได้รับการยืนยันจากรายงาน
ของท่านหญิงอาอิชะฮ์ ร.ฎ. ที่ผ่านมาแล้วตอนต้น ...
     และคำาว่า “และท่า นก็ท ำา นมาซวิต รี่” ตามรูปการณ์
แล้วแสดงว่าท่านญาบิรฺ บินอับดุลลอฮ์ ร.ฎ.เห็นท่านนบีย์
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมทำา นมาซวิต รี่ท ี่ม ัส ญิด ไม่ใช่
กลับไปทำาที่บ้าน ...
      ประการที่ 2 คำาว่า ‫ أ َزيز‬แปลว่า เสียงหึ่ง, เสียงครืดๆ,
                                      ٌ ْ‫ْيِ ُت‬
เสียงครางเบาๆ .. และคำาว่า ُ ْ‫ الن ُت‬แปลว่า ผื้ง ...
                           ‫َ ّحل‬
     เมื่อเอาทั้ง 2 คำานี้มารวมกันเป็น ‫ أ َزيزالنحل‬จึงมีความ
                                         ِ‫ْيِ ُتْ أ ُ ّ ُتْ ْي‬
หมายว่า เสีย งหึ่ง ๆของผึ้ง ...
     ซึงคำาว่า ‫ أ َزيزالنحل‬ที่แปลว่า “เสียงหึ่งๆของผื้ง” นี้ ผม
        ่       ِ‫ْيِ ُتْ أ ُ ّ ُتْ ْي‬
ไม่เคยเจอว่าจะมีบันทึกในตำาราหะดีษเล่มใดเช่นเดียวกัน
...
     ที่เจอในตำาราหะดีษก็คือสำานวนที่ว่า ‫ أَزيزالمرجل‬ซึง
                                                   ِ‫ْيِ ُتْ أ ُ ُتْ ْيِ ُتْ َ ْي‬ ่
แปลว่า เสีย ง(นำ้า )เดือ ดในกาต้ม นำ้า .. ดังบันทึกของท่าน
อัน-นะซาอีย์ ในหนังสือ “อัส-สุนัน” หะดีษที่ 1213, และท่า
19


นอิหม่ามอะห์มดในหนังสือ “อัล-มุสนัด” เล่มที่ 4 หน้า 25.
                ั
...
       และอีกสำานวนหนึ่งก็คือ ‫ أَزيزالرحى‬ซึ่งแปลว่าเสีย ง
                                َ ّ ُ ‫ْيِ ُتْ أ‬
ของเครื่อ งโม่แ ป้ง .. จากการบันทึกของท่านอบูดาวูด หะ
ดีษที่ 904 ...
       จาก 2 สำานวนข้างต้นนี้ ไม่ใช่เป็นการกล่าวถึง
“เสีย ง” การนมาซตะรอเวี๊ยะห์ที่บ้านของบรรดาเศาะหาบ
ะฮ์ .. แต่เป็นการกล่าวเปรียบเทียบของเศาะหาบะฮ์ต่อ
 “เสีย งร้อ งไห้” ของท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม
ขณะกำาลังนมาซ(ในบางครั้ง)ว่า ท่านสะอื้นในอก ฟังคล้าย
เสียงนำ้าเดือดในหม้อต้มหรือเสียงคล้ายการโม่แป้ง ...
       และอีกสำานวนหนึ่งที่มีปรากฏในหะดีษก็คือ ‫دوى النحل‬
                                                 ِ‫َ ْيِ ّ ّ ُتْ ْي‬
ซึงแปลว่า เสีย งหึ่ง ของผึ้ง เช่นเดียวกัน ...
     ่
       สำานวนนี้มีบันทึกในหนังสือ “อัส-สุนัน” ของท่านอัด-
ดาริมย์ หะดีษที่ 5, 7, และท่านอิหม่ามอะห์มด เล่มที่ 1 หน้า
       ี                                     ั
34, เล่มที่ 4 หน้า 268, 271 ...
       แต่สำานวนหลังนี้ในบรรดาหะดีษที่ผมระบุการบันทึก
มาดังข้างต้นก็ไม่ใช่เป็นเรื่อง “เสีย งกระหึ่ม ” ของการ
นมาซตะรอเวี๊ยะห์ที่บ้านของเศาะหาบะฮ์เช่นเดียวกัน ...
       สรุปแล้ว ข้ออ้างเรื่องการกลับไปทำานมาซตะรอเวี๊ยะห์
ต่อที่บ้าน(จนสมบูรณ์)ของท่านนบีย์และเศาะหาบะฮ์ดังที่มี
ระบุในหนังสือฟิกฮ์ 4 มัษฮับและกองทุนติญารียะฮ์ จึงเป็น
ข้ออ้างที่ปราศจากข้อมูลหลักฐานโดยสิ้นเชิง ...
       และเมื่อเราพิจารณาข้อความจากรายงานของท่าน
อัน-นุอฺมานบินบะชีรฺ ร.ฎ.ที่เพิ่งผ่านมาจากหน้า 13 ก็จะเป็น
สิ่งยืนยันถึงความไม่ถูกต้องของข้ออ้างข้างต้นได้ชัดเจนยิ่ง
ขึน เพราะหะดีษบทนี้ระบุว่า ท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ
   ้
วะซัลลัม ได้ออกมานำานมาซตะรอเวี๊ยะห์แก่เศาะหาบะฮ์
ของท่านเพียง 3 คืนเท่านั้น คือ ...
       คืนที่ 23 ท่านนบีย์นำาพวกเขานมาซจนถึง 4 ทุม ...  ่
20


     ซึงตามรูปการณ์แล้วเป็นการนมาซเสร็จพร้อมกันที่
       ่
มัสญิดทั้งหมดดังที่ได้อธิบายผ่านมาแล้ว เพราะไม่มี
รายงานเพิ่มเติมว่าพวกเขากลับไปทำานมาซต่อที่บ้านอีก ...
     คืนที่ 25 ท่านนบีย์นำานมาซพวกเขาจนเสร็จพร้อมกัน
ในตอนเที่ยงคืนโดยไม่มีผู้ใดกลับไปทำานมาซต่อที่บ้านอีก
เช่นเดียวกัน เพราะถูกท่านนบีย์ “ปราม” เอาไว้ .. ดังหลัก
ฐานที่กำาลังจะถึงต่อไป ...
     และคืนที่ 27 ท่านนบีย์ก็นำาพวกเขานมาซจนเกือบถึง
เวลาซะหูรฺ ซึ่งเป็นไปไม่ได้ที่จะมีใครกลับไปทำานมาซต่อที่
บ้านทันถึง 15 ร็อกอะฮ์ ...
     เพราะฉะนั้น คำาอธิบายของกลุ่มทุนติญารียะฮ์อย่าง
เป็นตุเป็นตะที่ว่า .. แล้วประชาชนได้กลับไปทำาอย่าง
สมบูรณ์ที่บ้านของพวกเขาในส่วนที่เหลือ (คือ อีก 12 ร่อ
กาอัต และวิเ ตรอีก 3 ร่อ กาอัต ) .. นั้น ...
     ผมอยากทราบว่าคำาอธิบายข้างต้นนี้ พวกท่านเอา
หลักฐานมาจากตำาราหะดีษที่ถูกต้องเล่มใด ??? ...
     ต่อไปนี้คือหลักฐานจากคำากล่าวของผมข้างต้นที่ว่า
ท่านนบีย์ได้ “ปราม ” บรรดาเศาะหาบะฮ์ของท่านจากการ
นมาซอื่นใดอีก หลังจากที่พวกเขาได้นมาซตะรอเวี๊บะห์
เสร็จสมบูรณ์พร้อมกับท่าน(หรือพร้อมกับอิหม่ามของเขา)
ทีมัสญิดแล้ว ...
  ่
     ท่านอบูซัรฺร์ อัล-ฆิฟารีย์ ร.ฎ.ได้รายงานมาว่า ...
         َ ِ‫أ ُ َ َ ُتْ ْيِ َ َ ّ َ َ ّ َ َ ُتْ ٌ ْي‬
          ‫صمنا، ولم يصل بنا صلى ا عليه وسلم حتى بقْيِى سَبع من‬                    ّ َ َ ِ‫أ ُ ُتْ َ َ َ ُتْ أ ُ َ ىِّ ْي‬
               ‫الشهر، فقام بنا حتى ذهب ثلث الليل، ثم لم يقأ ُم بنا فى‬
                    ِ‫ّ ُتْ ْيِ َ َ َ ْيِ َ َ ّ َ َ َ أ ُ أ ُ أ ُ ّ ُتْ ْيِ أ ُ ّ َ ُتْ َ ُتْ ْيِ َ ْي‬
 : ‫السادسة، وقام بنا فى الخامسة حتى ذهب شَطر الليل، فقلُتْنا‬
    َ ُ ‫ُتْ أ ُ ّ ُتْ ْيِ َ أ‬          َ َ َ ّ َ ِ‫ُتْ َ ْيِ َ ْي‬                     ِ‫ّ ْيِ َ ْيِ َ َ َ ْيِ َ ْي‬
   َ َ َ َ ْ‫َ َ أ ُ ُتْ َ ْيِ َ ُتْ َ ّ ُتْ َ َ َ ْيِ ّ َ َ ُتْ َ ْيِ َ َ ْيِ َ َ َ ّ أ ُ َ ُت‬
    ‫يا رسول ا! لو نفلتنا بقية ليلتنا هذْيِه؟ فقال : إ ْيِنه من قام مع‬
                                            ٍ  َ ْ‫ُتْ َ ْيِ َ ّ َ ُتْ َ ْيِ َ أ ُ ْيِ َ َ أ ُ ْيِ َ أ ُ َ ُت‬
                                              ‫.... الْيِمام حتى ينصرف كتب له قيام ليلة‬
           “พวกเราถือศีลอด และท่านรอซู้ลุลลอฮ์
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมก็ไม่เคยนำาเรานมาซ จนกระทั่ง
เหลืออีก 7 วันของเดือนนั้น (คือจนถึงคืนที่ 23 ของเดือนรอ
มะฎอน) ท่านจึงนำาพวกเรานมาซจนถึงหนึ่งในสามของคืน
(คือถึงประมาณ 4 ทุม), แล้วท่านก็ไม่นำาเรานมาซในคืนที่ 6
                                         ่
21


(ที่ยงเหลือ) แต่ท่านได้นำาเรานมาซอีกในคืนที่ 5 (ที่ยง
     ั                                                ั
เหลือ)จนผ่า นไปครึ่ง คืน พวกเราจึงกล่าวว่า ..โอ้ ท่า น
รอซู้ล ุล ลอฮ์, สมมุต ิถ ้า ท่า นจะอนุญ าตให้เ รา
นมาซ(หรือ นำา เรานมาซ )ในครึ่ง คืน ที่เ หลือ นี้ข องเรา
(จะได้หรือไม่?) ท่านจึงตอบว่า .. “แท้จ ริง ผู้ใ ดที่น มาซ
พร้อ มกับ อิห ม่า มจนเสร็จ สิ้น เขาก็จ ะถูก บัน ทึก (ผล
บุญ) ให้เ ท่า กับ ได้น มาซทั้ง คืน อยู่แ ล้ว ” ...
       (บันทึกโดย ท่านอบูดาวูด หะดีษที่ 1378, ท่านอัน-นะ
ซาอีย์ หะดีษที่ 1604, ท่านอัต-ติรฺมีซย์ หะดีษที่ 806, ท่านอิ
                                      ี
บนุมาญะฮ์ หะดีษที่ 1327, ท่านอิบนุอบีย์ชัยบะฮ์ เล่มที่ 2
หน้า 286, ท่านอัฏ-เกาะหาวีย์ในหนังสือ “ชัรฺหุมะอานีย์
อัล-อาษารฺ” เล่มที่ 1 หน้า 349, ท่านอัล-บัยฮะกีย์ เล่มที่ 2
หน้า 494, ท่านอิบนุคุซัยมะฮ์ หะดีษที่ 2206 และท่านมุหัม
มัด อิบนุนัศร์ ในหนังสือ “กิยามุรอมะฎอน” หะดีษที่ 17) ...
       หะดีษที่ถูกต้องบทนี้ เป็นหลักฐานหลายอย่างคือ ...
       1. บรรดาเศาะหาบะฮ์ได้นมาซตะรอเวี๊ยะฮ์ในลักษณะ
ญะมาอะฮ์ เสร็จสิ้นในมัสญิดพร้อมกับท่านนบีย์
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะวัลลัมแล้ว โดยไม่ได้กลับไปทำาต่อที่
บ้านอีกดังข้ออ้างของกลุ่มทุนติญารียะห์ ..
       ข้อนี้เราทราบได้จากคำากล่าวของท่านนบีย์ที่กล่าวแก่
พวกเขาว่า .. “แท้จริงผู้ใดนมาซพร้อมกับอิหม่ามจนเสร็จ
สิ้น แล้ว ..........”
       2. บรรดาเศาะหาบะฮ์กระหายที่จะได้รับผลบุญเพิ่ม
เติมจากการทำานมาซในเวลาที่ยังเหลืออีกครึ่งคืน จึงไปขอ
อนุญาตต่อท่านนบีย์ เพื่อให้ท่านอนุญาต, หรือมิฉะนั้นก็ให้
ท่านนำาพวกเขาทำานมาซสุนัตต่อไปอีก ...
      (คำาว่า ‫ نفّلتنا‬อาจมีความหมายว่า ให้ท่านอนุญาตพวก
               َ َ ْ‫َ ُت‬
เราทำานมาซสุนัตต่อไป ก็ได้, หรือจะแปลว่า ให้ท่านนำา
พวกเรานมาซสุนัตต่อไป ก็ได้ ดังคำาอธิบายในหนังสือ
 “ชัรฺหุ มะอานีย์ อัล-อาษารฺ” เล่มที่ 1 หน้า 349) ...
      กรณีนี้จึงคล้ายกับมุสลิมบางคนในปัจจุบันที่หลังจาก
ผ่านการนมาซตะรอเวี๊ยะห์พร้อมกับอิหม่ามที่มัสญิดเสร็จ
22


แล้ว ก็ยังกลับไปทำานมาซต่อที่บ้านอีกในส่วนที่เหลือของ
คืน --โดยเรียกนมาซตอนหลังนี้ว่า กิยามุ้ลลัยล์บ้าง, นมาซ
ตะฮัจญุดบ้าง ...
      แน่ละ เป้าหมายของบรรดาเศาะหาบะฮ์และพวกเขา
ตรงกัน คือ “หวัง ผลบุญ เพิ่ม เติม ” จากการทำานมาซใน
ส่วนที่เหลือของคืน ...
      ต่างกันที่ว่าบรรดาเศาะหาบะฮ์ไม่กล้าทำาไปโดย
พลการ .. ทว่า, ต้องขออนุญาตจากท่านนบีย์
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมเสียก่อน ...
      แต่ประชาชนบางคนในปัจจุบันนี้คิดเอง, ทำาเอง ..โดย
ไม่ต้องขออนุญาตจากใคร
      3. คำาพูดของท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมที่
กล่าวเมื่อถูกบรรดาเศาะหาบะฮ์ขออนุญาตทำานมาซต่อด้วย
คำาพูดที่ว่า .. “แท้จ ริง ผู้ใ ดที่น มาซพร้อ มกับ อิห ม่า ม
จนเสร็จ สิ้น เขาก็จ ะถูก บัน ทึก ผลบุญ ให้เ ท่า กับ ได้
นมาซทัง คืน อยู่แ ล้ว ” .. ก็คือ “การปราม” อย่างนิ่มๆต่อ
          ้
เศาะหาบะฮ์ของท่านจากการทำานมาซสุนัตใดอีกหลังจากที่
เขาได้นมาซตะรอเวี๊ยะห์และนมาซวิตรี่เสร็จสิ้นพร้อม
อิหม่ามทีมัสญิดแล้ว ด้วยการแจ้งเหตุผลว่า ผู้ที่นมาซใน
            ่
ลักษณะดังกล่าว จะได้ร ับ ผลบุญ เท่า กับ นมาซทั้ง คืน
อยู่แ ล้ว จึงไม่จำาเป็นต้องกลับไปทำานมาซใดๆในคืนนั้นอีก
...
      จึงขอแนะนำาให้ผู้ที่กลับไปทำานมาซที่เรียกกันเองว่ากิ
ยามุ้ลลัยล์ (?) ต่อที่บ้านหลังจากนมาซตะรอเวี๊ยะห์เสร็จ
พร้อมกับอิหม่ามที่มัสญิดแล้ว ควรพิจารณาว่า การกระทำา
ของพวกท่านดังกล่าวนี้ เป็นการฝ่าฝืนการ “ปราม” ของ
ท่านนบีย์หรือไม่ ? ...
      (4). คำากล่าวที่ว่า .. “จากเหตุก ารณ์ต รงนี้ บรรดา
ซอฮาบะฮ์จ ึง ถือ ว่า การละหมาดต้า รอเวี๊ย ะนั้น จึง
เป็น แบบฉบับ ของท่า นนบี แต่ไ ม่ไ ด้ม ีก ารละหมาด
จำา นวน 20 ร่อ กาอัต อย่า งเปิด เผย เสมือ นสมัย ของ
23


ท่า นอุม ัร และบุค คลหลัง จากท่า นอุม ัร จนถึง ปัจ จุบ ัน
.....”
          ชีแจง
            ้
        คำาพูดที่ว่า .. บรรดาเศาะหาบะฮ์ถือว่าการนมาซตะรอ
เวี๊ยะห์นั้น เป็นแบบฉบับของท่านนบีย์ .. เป็นคำาพูดที่ถูกต้อง
...
        แต่คำากล่าวที่ว่า .. แต่ไม่ได้มีการละหมาดจำานวน 20 ร็
อกอะฮ์อย่างเปิดเผยเหมือนสมัยของท่านอุมัรฺ ... เป็นคำาพูด
ทีขัดแย้งกับหลัก ฐานที่ถ ูก ต้อ ง ซึงถูกรายงานมาจากคำา
   ่                                                    ่
สั่งของท่านอุมัรฺ อิบนุ้ลค็อฏฏอบ ร.ฎ. เอง และการปฏิบัติ
ของประชาชนในสมัยของท่าน ...
        ท่านอิหม่ามมาลิก ได้บันทึกในหนังสือ “อัล-มุวัฎ
เฎาะอ์” เล่มที่ 1 หน้า 105 หรือหะดีษที่ 249, โดยรายงาน
มาจากท่า นมุห ัม มัด บิน ยูซ ุฟ ซึงรายงานมาจากน้าชาย่
ของท่านคือท่า นอัซ -ซาอิบ บิน ยะซีด ร.ฎ.ว่า ...
     ‫أ َمر عمر بن الخطاب أ أ ُبى بن كعب وَتميما الدارى أ َن يقأ ُوما‬
      َ ْ‫َ َ أ ُ َ أ ُ ُتْ أ ُ ُتْ َ ّ ْيِ ّ َ ُتْ َ َ ُتْ  ٍ َ ْيِ ً ّ ْيِ ّ ُتْ َ ُت‬
                         ً َ ْ‫َ ُتْ َ َ ُت‬
                            ‫للناس بإحدى عشرةَ ركعة‬
                                              َ ْ‫ْيِ ّ ْيِ ْيِ ْيِ ُت‬
        “ท่านอุมัรฺ อิบนุ้ลค็อฏฏอบได้ใช้ท่านอุบัยย์ บินกะอฺบ์
และท่านตะมีม อัด-ดารีย์ใ ห้ท ั้ง สองนำา นมาซ (ตะรอเวี๊
ยะห์)แก่ป ระชาชน 11 ร็อ กอะฮ์” ...
        ท่านอัส-สะยูฏีย์ได้กล่าวในหนังสือ “อัล-มะศอเบี๊ยะห์
ฟีศ่อลาติตตะรอเวี๊ยะห์” ซึงรวมชุดอยู่ในหนังสือ “อัล-หา
                                           ่
วีย์ ลิ้ลฟะตาวีย์” เล่มที่ 1 หน้า 542 ว่า ...
     ْ‫ُتْ أ ُ َ ّ ْيِ َ ْيِ ُتْ أ ُ َ ّ ْيِ َ ْيِ ُتْ ْيِ ُتْ ْيِ َ ُتْ أ ُ ُتْ  ٍ ْيِ َ  ٍ ْيِ ُت‬
        ‫ولكن فى الموطأ وفى مصنف سعيد بن منصور ب سَ ن د ف ى‬                                            ِ‫َ َ ْيِ ُتْ ْي‬
         ً َ ْ‫َ ُتْ َ َ َ ُت‬
            ‫... غا ي ة ال ص ح ة عن السائب بن يزيد إ ْيِحدى عشرة ركعة‬
                                      َ ْ‫ّ ْيِ ْيِ ُتْ ْيِ َ ْيِ ُتْ َ ُت‬    ْ‫ىِّ ّ ْيِ َ ُت‬       ِ‫َ َ ْي‬
        “แต่ .. มีปรากฏในหนังสืออัล-มุวัฎเฎาะอ์(ของท่าน
อิหม่ามมาลิก) และหนังสืออัล-มุศ็อนนัฟของท่านสะอีด บิ
นมันศูรฺ “ด้ว ยสายรายงานที่ถ ูก ต้อ งสุด ๆ ” (จากท่า
นมุหัมมัด บินยูซุฟ) จากท่านอัซ-ซาอิบ บินยะซีด(ที่
กล่าว)ว่า (ท่านอุมัรฺ อิบนุ้ลค็อฏฏอบได้ใช้ให้ท่านอุบัยย์ บิ
นกะอฺบ์และท่านตะมีม อัด-ดารีย์นำาประชาชนนมาซ) 11 ร็
อกอะฮ์” ...
24


     รายงานเรื่อง 11 ร็อกอะฮ์ จึงถือเป็นรายงานที่ “ถูก
ต้อ งที่ส ุด ” จากคำาสั่งของท่านอุมัรฺในกรณีนี้ ...
     อนึ่ง อีกรายงานหนึ่งของท่านอิหม่ามมาลิก, จากท่าน
ยะซีด บินรูมานที่กล่าวว่า
        َ َ َ ْ‫ُت‬
         ‫كَان النّاس يَقومون فْيِى زَمن عأ ُمر بُتْن الُتْخطاب فْيِى رَمضان‬
                      ِ‫ُتْ َ ْيِ َ َ ْيِ َ ّ ْي‬         َ ْ‫أ ُ أ ُ ُتْ أ ُ ُت‬ َ
                                                    ً َ ْ‫ْيِ َ  ٍ ْيِ ُتْ ْيِ ُتْ َ ُت‬
                                                       ‫بثل َث وَعشرين رَكعة‬
      “ประชาชนในสมัยของท่านอุมัรฺ อิบนุ้ลค็อฏฏอบ ได้
ทำานมาซ(ตะรอเวี๊ยะห์) ในเดือนรอมะฎอน 23 ร็อ กอะฮ์” ...
      (บันทึกโดยท่านอิหม่ามมาลิกในหนังสือ “อัล-มุ
วัฏเฏาะอ์” เล่มที่ 1 หน้า 105 และท่านอัล-บัยฮะกีย์ใน
หนังสือ “อัส-สุนัน อัล-กุบรออ์” เล่มที่ 2 หน้า 496)) ...
      ท่านอิหม่ามนะวะวีย์ได้กล่าวในหนังสือ “อัล-มัจญมั๊
วะอฺ” เล่มที่ 4 หน้า 33 ว่า
                                    َ َ ُ ‫َ ْيِ ُتْ ُتْ أ ُ أ ُ ُتْ َ َ َ ُتْ أ ُ ُتْ ْيِ ُتْ أ‬
                                     ‫يزيدأ ُ بن رومان لم يدرك عمر‬
      “ยะซีด บินรูมาน (เกิด)ไม่ทันท่านอุมัรฺ ...
      ความหมายคำากล่าวข้างต้นนี้ก็คือรายงานข้างต้นนี้
เป็น รายงานที่เ ฎาะอีฟ เพราะสายรายงานขาดตอน !
เนื่องจากท่านยะซีด บินรูมานผู้อ้างรายงานดังกล่าวเกิด
ไม่ทันยุคของท่านอุมัรฺ อิบนุ้ลค็อฏฏอบ ร.ฎ. ...
      (ท่านอุมัรฺสิ้นชีวิตปีฮ.ศ. 23, ส่วนท่านยะซีด บินรูมาน
สิ้นชีวิตปีฮ.ศ. 130) ...
      และสำาหรับคำากล่าวของท่านอิหม่ามนะวะวีย์ใน
หนังสือ “อัล-มัจญมั๊วะอฺ” ที่ว่า
            ِ‫ْيِ ُتْ ْي‬
               ‫واحتج أَصحابنا بْيِما رَواه الُتْبيهقى وَغيرهأ ُ بْيِالْيِسُتْناد الصّحيح‬
                        ِ‫َ ْي‬     ْ‫َ ُتْ َ ّ ُتْ َ أ ُ َ َ َ أ ُ َ ُتْ َ ْيِ ّ َ ُتْ أ ُ ُت‬
            ‫عَن السّائب بُتْن يزيد الصّحابى رَضى ا عَنه قَال : كَانوا‬
             ْ‫أ ُ ُت‬ َ    ُ ‫ْيِ َ أ ُ ُتْ أ‬ ِ‫َ ْي‬ َ ْ‫ْيِ ْيِ ْيِ َ ْيِ ُت‬ ِ‫ْي‬
              ْ‫ُت‬ ‫يقومون عَلى عَهد عأ ُمر بن الُتْخطاب رَضى الله عنه فْيِى‬
                        ُ ‫ُتْ ْيِ َ َ ُتْ ْيِ َ ّ ْيِ ْيِ َ أ ُ َ ُتْ أ‬ َ َ ْ‫َ أ ُ ُتْ أ ُ ُت‬
                            ً َ ْ‫ُتْ ْيِ َ َ َ َ ْيِ ْيِ ُتْ ْيِ ُتْ َ ُت‬
                               ‫........ شَهررمضان بعشرين رَكعة‬
     “บรรดาอัศหาบของเรา (คือนักวิชาการมัษฮับท่าน
อิหม่ามชาฟิอีย์) ได้อ้างหลักฐานจากการรายงานของท่า
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah
Pramote tarorveah

More Related Content

What's hot

เศาะฮาบะฮฺ(กลาง).Pdf
เศาะฮาบะฮฺ(กลาง).Pdfเศาะฮาบะฮฺ(กลาง).Pdf
เศาะฮาบะฮฺ(กลาง).PdfMuhammadrusdee Almaarify
 
เข้าเดือน ออกอีด (ภาษาไทย)
เข้าเดือน ออกอีด (ภาษาไทย)เข้าเดือน ออกอีด (ภาษาไทย)
เข้าเดือน ออกอีด (ภาษาไทย)Om Muktar
 
เกลือแห่งแผ่นดินโลก
เกลือแห่งแผ่นดินโลกเกลือแห่งแผ่นดินโลก
เกลือแห่งแผ่นดินโลกIsaiah Prawaitang
 
1 03+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+สมาสและตัทธิต
1 03+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+สมาสและตัทธิต1 03+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+สมาสและตัทธิต
1 03+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+สมาสและตัทธิตTongsamut vorasan
 
Th you ask_the_quran_answers
Th you ask_the_quran_answersTh you ask_the_quran_answers
Th you ask_the_quran_answersLoveofpeople
 
ตำราพิชัยสงครามซุนวู
ตำราพิชัยสงครามซุนวูตำราพิชัยสงครามซุนวู
ตำราพิชัยสงครามซุนวูPor Waragorn
 
ถือศีลอด อาชูรออ์ ตาสูอาอ์ มุหัรร็อม
ถือศีลอด อาชูรออ์ ตาสูอาอ์ มุหัรร็อมถือศีลอด อาชูรออ์ ตาสูอาอ์ มุหัรร็อม
ถือศีลอด อาชูรออ์ ตาสูอาอ์ มุหัรร็อมOm Muktar
 
ผู้ที่ได้รับอภิสิทธิ์จากอัลลอฮให้อยู่ใต้ร่มเงาของอรัช
ผู้ที่ได้รับอภิสิทธิ์จากอัลลอฮให้อยู่ใต้ร่มเงาของอรัชผู้ที่ได้รับอภิสิทธิ์จากอัลลอฮให้อยู่ใต้ร่มเงาของอรัช
ผู้ที่ได้รับอภิสิทธิ์จากอัลลอฮให้อยู่ใต้ร่มเงาของอรัชKumobarick Achiroki
 
วิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษวิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษMuttakeen Che-leah
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tongsamut vorasan
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์A'mp Minoz
 
องค์พระปฐมเจดีย์...
องค์พระปฐมเจดีย์...องค์พระปฐมเจดีย์...
องค์พระปฐมเจดีย์...A'mp Minoz
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Sai Khunchanok
 
กิจกรรมการเรียน นำเสนอวันเข้าพรรษา
กิจกรรมการเรียน นำเสนอวันเข้าพรรษากิจกรรมการเรียน นำเสนอวันเข้าพรรษา
กิจกรรมการเรียน นำเสนอวันเข้าพรรษาrattanaae
 

What's hot (17)

เศาะฮาบะฮฺ(กลาง).Pdf
เศาะฮาบะฮฺ(กลาง).Pdfเศาะฮาบะฮฺ(กลาง).Pdf
เศาะฮาบะฮฺ(กลาง).Pdf
 
เข้าเดือน ออกอีด (ภาษาไทย)
เข้าเดือน ออกอีด (ภาษาไทย)เข้าเดือน ออกอีด (ภาษาไทย)
เข้าเดือน ออกอีด (ภาษาไทย)
 
-------------- --- 4
 -------------- --- 4 -------------- --- 4
-------------- --- 4
 
เกลือแห่งแผ่นดินโลก
เกลือแห่งแผ่นดินโลกเกลือแห่งแผ่นดินโลก
เกลือแห่งแผ่นดินโลก
 
1 03+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+สมาสและตัทธิต
1 03+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+สมาสและตัทธิต1 03+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+สมาสและตัทธิต
1 03+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+สมาสและตัทธิต
 
หลวงพ่อบ้านแหลม
หลวงพ่อบ้านแหลมหลวงพ่อบ้านแหลม
หลวงพ่อบ้านแหลม
 
Th you ask_the_quran_answers
Th you ask_the_quran_answersTh you ask_the_quran_answers
Th you ask_the_quran_answers
 
ตำราพิชัยสงครามซุนวู
ตำราพิชัยสงครามซุนวูตำราพิชัยสงครามซุนวู
ตำราพิชัยสงครามซุนวู
 
-------------- --- 3
 -------------- --- 3 -------------- --- 3
-------------- --- 3
 
ถือศีลอด อาชูรออ์ ตาสูอาอ์ มุหัรร็อม
ถือศีลอด อาชูรออ์ ตาสูอาอ์ มุหัรร็อมถือศีลอด อาชูรออ์ ตาสูอาอ์ มุหัรร็อม
ถือศีลอด อาชูรออ์ ตาสูอาอ์ มุหัรร็อม
 
ผู้ที่ได้รับอภิสิทธิ์จากอัลลอฮให้อยู่ใต้ร่มเงาของอรัช
ผู้ที่ได้รับอภิสิทธิ์จากอัลลอฮให้อยู่ใต้ร่มเงาของอรัชผู้ที่ได้รับอภิสิทธิ์จากอัลลอฮให้อยู่ใต้ร่มเงาของอรัช
ผู้ที่ได้รับอภิสิทธิ์จากอัลลอฮให้อยู่ใต้ร่มเงาของอรัช
 
วิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษวิเคราะห์ฮะดีษ
วิเคราะห์ฮะดีษ
 
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
Tri91 25+สังยุตตนิกาย+สคาถวรรค+เล่ม+๑+ภาค+๒ (1)
 
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
ประวัติองค์พระปฐมเจดีย์
 
องค์พระปฐมเจดีย์...
องค์พระปฐมเจดีย์...องค์พระปฐมเจดีย์...
องค์พระปฐมเจดีย์...
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
กิจกรรมการเรียน นำเสนอวันเข้าพรรษา
กิจกรรมการเรียน นำเสนอวันเข้าพรรษากิจกรรมการเรียน นำเสนอวันเข้าพรรษา
กิจกรรมการเรียน นำเสนอวันเข้าพรรษา
 

Viewers also liked

THE SUN CITY MINH SƠN, QUẬN 9
THE SUN CITY MINH SƠN, QUẬN 9THE SUN CITY MINH SƠN, QUẬN 9
THE SUN CITY MINH SƠN, QUẬN 9Reland Hau
 
หนทางสสะลาฟียฺ
หนทางสสะลาฟียฺหนทางสสะลาฟียฺ
หนทางสสะลาฟียฺMuttakeen Che-leah
 
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัย
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัยลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัย
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัยMuttakeen Che-leah
 
เล่ห์ชัยฏอน
เล่ห์ชัยฏอนเล่ห์ชัยฏอน
เล่ห์ชัยฏอนMuttakeen Che-leah
 
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์Muttakeen Che-leah
 
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc  เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc Muttakeen Che-leah
 
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรมตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรมMuttakeen Che-leah
 
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษแนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษMuttakeen Che-leah
 
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกดวิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกดMuttakeen Che-leah
 
แผนที่ตรรกะ
แผนที่ตรรกะแผนที่ตรรกะ
แผนที่ตรรกะMuttakeen Che-leah
 
ถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสMuttakeen Che-leah
 

Viewers also liked (17)

THE SUN CITY MINH SƠN, QUẬN 9
THE SUN CITY MINH SƠN, QUẬN 9THE SUN CITY MINH SƠN, QUẬN 9
THE SUN CITY MINH SƠN, QUẬN 9
 
หนทางสสะลาฟียฺ
หนทางสสะลาฟียฺหนทางสสะลาฟียฺ
หนทางสสะลาฟียฺ
 
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัย
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัยลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัย
ลัทธิภาคีนิยมในรั้วมหาวิทยาลัย
 
Names list of_logical_fallacy
Names list of_logical_fallacyNames list of_logical_fallacy
Names list of_logical_fallacy
 
Al kafi
Al kafiAl kafi
Al kafi
 
เล่ห์ชัยฏอน
เล่ห์ชัยฏอนเล่ห์ชัยฏอน
เล่ห์ชัยฏอน
 
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
มาตรวจสอบอารมณ์กันก่อนที่จะวิเคราะห์
 
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc  เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม.Doc
 
Book wahabi
Book wahabiBook wahabi
Book wahabi
 
Poverty
PovertyPoverty
Poverty
 
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรมตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
ตรรกเอาความเป็นรูปธรรม
 
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษแนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
แนวทางของนักปราชญ์ในการพิจารณาตัวบทฮะดีษ
 
ทุกศาสนา
ทุกศาสนาทุกศาสนา
ทุกศาสนา
 
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกดวิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
วิจารณ์เวียนว่ายตายเิกด
 
แผนที่ตรรกะ
แผนที่ตรรกะแผนที่ตรรกะ
แผนที่ตรรกะ
 
New patani by anond.
New patani by anond.New patani by anond.
New patani by anond.
 
ถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีสถลกหนังไซออนนีส
ถลกหนังไซออนนีส
 

Similar to Pramote tarorveah

ตัฟซีร ซูเราะฮ์อัตตะฮ์รีม
ตัฟซีร ซูเราะฮ์อัตตะฮ์รีมตัฟซีร ซูเราะฮ์อัตตะฮ์รีม
ตัฟซีร ซูเราะฮ์อัตตะฮ์รีมWarakorn Pradabyat
 
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ  คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ Islamic Invitation
 
Th twaijiriy fadhail_alsiyam
Th twaijiriy fadhail_alsiyamTh twaijiriy fadhail_alsiyam
Th twaijiriy fadhail_alsiyamLoveofpeople
 
บาลี 69 80
บาลี 69 80บาลี 69 80
บาลี 69 80Rose Banioki
 
๐๓ ปุณณกปัญหา.pdf
๐๓ ปุณณกปัญหา.pdf๐๓ ปุณณกปัญหา.pdf
๐๓ ปุณณกปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf
๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf
๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdfmaruay songtanin
 
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑล
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑลปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑล
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑลThe Vatican
 
Feb 22,2009 The Greatest Love รักที่ยิ่งใหญ่
Feb 22,2009 The Greatest Love รักที่ยิ่งใหญ่Feb 22,2009 The Greatest Love รักที่ยิ่งใหญ่
Feb 22,2009 The Greatest Love รักที่ยิ่งใหญ่Digitron Solutions Co.,Ltd.
 
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพุทธประวัติ
พุทธประวัติgueste13f2b
 
ลอยกระทง
ลอยกระทงลอยกระทง
ลอยกระทงwilasinee k
 
Th sufum ramadhan_siyam_alquran
Th sufum ramadhan_siyam_alquranTh sufum ramadhan_siyam_alquran
Th sufum ramadhan_siyam_alquranLoveofpeople
 
1 03+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+สมาสและตัทธิต
1 03+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+สมาสและตัทธิต1 03+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+สมาสและตัทธิต
1 03+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+สมาสและตัทธิตWataustin Austin
 
บาลี 03 80
บาลี 03 80บาลี 03 80
บาลี 03 80Rose Banioki
 

Similar to Pramote tarorveah (20)

ตัฟซีร ซูเราะฮ์อัตตะฮ์รีม
ตัฟซีร ซูเราะฮ์อัตตะฮ์รีมตัฟซีร ซูเราะฮ์อัตตะฮ์รีม
ตัฟซีร ซูเราะฮ์อัตตะฮ์รีม
 
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ  คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
คู่มือเพื่อความเข้าใจศาสนาอิสลามพร้อมภาพประกอบฉบับย่อ
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
Th twaijiriy fadhail_alsiyam
Th twaijiriy fadhail_alsiyamTh twaijiriy fadhail_alsiyam
Th twaijiriy fadhail_alsiyam
 
-------------- --- 1
 -------------- --- 1 -------------- --- 1
-------------- --- 1
 
Th asman ramadhan
Th asman ramadhanTh asman ramadhan
Th asman ramadhan
 
Ramadan Kareem
Ramadan KareemRamadan Kareem
Ramadan Kareem
 
บาลี 69 80
บาลี 69 80บาลี 69 80
บาลี 69 80
 
สรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊กสรุปเรื่อง สามก๊ก
สรุปเรื่อง สามก๊ก
 
๐๓ ปุณณกปัญหา.pdf
๐๓ ปุณณกปัญหา.pdf๐๓ ปุณณกปัญหา.pdf
๐๓ ปุณณกปัญหา.pdf
 
รับน้อง
รับน้องรับน้อง
รับน้อง
 
๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf
๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf
๑๑ ชตุกัณณิปัญหา.pdf
 
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑล
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑลปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑล
ปีพิธีกรรม ในสังฆมณฑล
 
Feb 22,2009 The Greatest Love รักที่ยิ่งใหญ่
Feb 22,2009 The Greatest Love รักที่ยิ่งใหญ่Feb 22,2009 The Greatest Love รักที่ยิ่งใหญ่
Feb 22,2009 The Greatest Love รักที่ยิ่งใหญ่
 
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพุทธประวัติ
พุทธประวัติ
 
ลอยกระทง
ลอยกระทงลอยกระทง
ลอยกระทง
 
มิลินทปัญหา
มิลินทปัญหามิลินทปัญหา
มิลินทปัญหา
 
Th sufum ramadhan_siyam_alquran
Th sufum ramadhan_siyam_alquranTh sufum ramadhan_siyam_alquran
Th sufum ramadhan_siyam_alquran
 
1 03+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+สมาสและตัทธิต
1 03+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+สมาสและตัทธิต1 03+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+สมาสและตัทธิต
1 03+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+สมาสและตัทธิต
 
บาลี 03 80
บาลี 03 80บาลี 03 80
บาลี 03 80
 

More from Muttakeen Che-leah

ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Completeถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ CompleteMuttakeen Che-leah
 
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผยเหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผยMuttakeen Che-leah
 
วิเคราะห์ความโอ้อวด
วิเคราะห์ความโอ้อวดวิเคราะห์ความโอ้อวด
วิเคราะห์ความโอ้อวดMuttakeen Che-leah
 
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็นพระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็นMuttakeen Che-leah
 
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่Muttakeen Che-leah
 
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...Muttakeen Che-leah
 
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริงแนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริงMuttakeen Che-leah
 
ตรรก และ เหตุผลวิบัติ
ตรรก และ เหตุผลวิบัติตรรก และ เหตุผลวิบัติ
ตรรก และ เหตุผลวิบัติMuttakeen Che-leah
 
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอมเดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอมMuttakeen Che-leah
 
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลามการทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลามMuttakeen Che-leah
 
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือ
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือ
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือMuttakeen Che-leah
 

More from Muttakeen Che-leah (15)

ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Completeถามให้คิดสะกิดใจ Complete
ถามให้คิดสะกิดใจ Complete
 
Bidah
BidahBidah
Bidah
 
ค็อฏฏ๊อบ.Doc
 ค็อฏฏ๊อบ.Doc  ค็อฏฏ๊อบ.Doc
ค็อฏฏ๊อบ.Doc
 
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผยเหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
เหตุผลหรือข้ออ้างลับที่ไม่ถูกเปิดเผย
 
วิเคราะห์ความโอ้อวด
วิเคราะห์ความโอ้อวดวิเคราะห์ความโอ้อวด
วิเคราะห์ความโอ้อวด
 
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็นพระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
พระเยซูเป็นพระเจ้าไม่ได้อย่างแน่นอน ด้วยเงื่อนไขบังคับและเงื่อนไขจำเป็น
 
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่
บันทึกย่อที่ไม่ได้จัดหมวดหมู่
 
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
ในการสนทนากับชาวต่างศาสนิกนั้น มีหลายครั้งด้วยกันที่อีกฝ่ายจะยกข้อความมายาว ซ...
 
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริงแนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
แนวทางศึกษาอิสลามให้ได้ซึ่งคำสอนที่แท้จริง
 
ตรรก และ เหตุผลวิบัติ
ตรรก และ เหตุผลวิบัติตรรก และ เหตุผลวิบัติ
ตรรก และ เหตุผลวิบัติ
 
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอมเดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม
เดินทางโดยไม่มีมะฮฺรอม
 
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลามการทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
การทำงานศาสนาด้านต่างๆ ในแง่ของการให้ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับอิสลาม
 
Guide of association
Guide of associationGuide of association
Guide of association
 
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือ
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือ
ผู้ก่อการร้ายจะต้องเป็นมุสลิมเท่านั้นหรือ
 
Radd qardjed
Radd qardjedRadd qardjed
Radd qardjed
 

Pramote tarorveah

  • 1. 1 ร่อมาฎอนนี้ท่านกำาลังละหมาดต้ารอเวี๊ยะหรือ ละหมาดมุตลอฆ์(สุนัตทั่วไป) ******โดยกองทุนตียารีญะฮ์ กลุ่มครูฟัรฎู อีน ****** ทำาความเข้าใจจำานวนละหมาดต้ารอเวี๊ยะกันเถิด จำานวนละหมาดต้ารอเวี๊ยะนั้น มี 20 รอกอ ััต จากฮา ดิษของท่านนบี (ซ.ล.) “แท้จริงนบี (ซ.ล.) ได้ออกจากบ้าน ในช่วงหนึ่งของกลางคืนจากเดือนร่อมาฎอน คือคืนที่ 3 คืน ที่ 5 และคืนที่ 27 ท่านได้ละหมาดที่มัสยิดและประชาชนได้ ละหมาดพร้อมท่าน ปรากฏว่าท่านทำาละหมาดพร้อมกับ พวกเขา 8 ร่อกาอัต แล้ว ประชาชนได้ก ลับ ไปท ัำ อย่า งสมบูร ณ์ท ี่บ ้า นของพวกเขาในส่ว นที่เ หลือ อีก (คือ 12 ร่อกาอัต และวิเตรอีก 3 ร่อกาอัต) ซึง ปรากฏว่า ่ เสีย งดัง กระหึ่ม ไปทั่ว เสมือ นกับ เสีย งของผึ้ง ” รายงานโดยบุค อรี มุส ลิม จากเหตุการณ์ตรงนี้บรรดา ซอฮาบะฮ์จึงถือว่าการละหมาดต้ารอเวี๊ยะจึงเป็นแบบฉบับ ของท่านนบี แต่ไม่ได้มีการละหมาดจำานวน 20 ร่อกาอัต อย่างเปิดเผยเสมือนสมัยของท่านอุมัร และบุคคลหลังจาก ท่านอุมัรจนถึงปัจจุบัน และท่านนบีไม่ออกไปละหมาด พร้อมพวกเขาหลังจากวันดังกล่าว เพราะท่านนบี (ซ.ล.)กลั วเกิดความลำาบากบนพวกเขา เสมือนท่านกล่าวว่า “ ‫ خشيت أ َن تفرض عَليكم فتعجزواعنها‬ความว่า َ ْ‫َ ْيِ ُتْ أ ُ ُتْ أ ُ ُتْ َ َ َ ُتْ أ ُ ُتْ َ َ ُتْ ْيِ أ ُ ُتْ َ ُت‬ ข้า พเจ้า กลัว จะเกิด ความลำา บากบนพวกท่า น ดัง นั้น พวกท่า นจะอ่อ นแอจากมัน ” (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในกิ ตาบฟิกฮุลอัรบาอะห์ เล่มที่ 1 หน้า ที่ 341) และอีกฮาดิษหนึ่งรายงานจากท่านหญิงอาอิชะห์กล่าว ว่า ِ‫ل َن النبى )ص( صلى ليالى فصلوها معَه ثم تأخرْي‬ َ ّ َ َ ّ ُ ‫َ ّ َ َ ْيِ َ َ َ ّ ُتْ َ َ أ ُ أ‬ ّ ِ‫ّ ّ ْي‬ ِ‫ّ أ ُ ُتْ ْي‬ ‫وصلى فى بيته باقى الشهور‬ َ ِ‫َ َ ّ ْيِ ُتْ َ ُتْ ْيِ ْيِ َ ْي‬
  • 2. 2 ความว่า “แท้จ ริง ท่า นนบี(ซ.ล.) ได้ล ะหมาดใน บรรดาคืน ต่า งๆของร่อ มาฎอน แล้ว ประชาชนก็ไ ด้ ละหมาดพร้อ มกับ ท่า นนบี(ซ.ล.) หลัง จากนั้น ท่า น ก็ไ ด้ป ระวิง ไว้ และท่า นก็ไ ด้ก ลับ ไปละหมาด (จน สมบูร ณ์)ที่บ ้า นของท่า นและบรรดาคืน ที่เ หลือ ของ เดือ น” รายงานโดยบุคอรี มุสลิม อิหม่ัำมาลิก อะบูดาวูด นาซาอี บัยฮากี อิบนุคุซัยมะห์ (ดูรายละเอียดเพิ่มเติมในกิ ตาบมัจมัวะของท่านอิหมำ่านาวาวี หน้าที่ 37 เล่มที่ 4) สรุปว่าการละหมาดต้ารอเวี๊ยะนั้นมี 20 ร่อกาอัต ไม่ใช่ จำานวน 8 ร่อกาอัต ดัง นั้น การละหมาด 8 ร่อ กาอัต จึง ถือ ว่า ไม่ใ ช่ล ะหมาดต้า รอเวี๊ย ะ มัน คือ ละหมาดสุน ัต ธรรมดาทั่ว ๆไปซึ่ง สามารถละหมาดได้ท ั้ง ปี ไม่ใ ช่ เฉพาะเดือ นร่อ มาฎอนเท่า นั้น (ดูรายละเอียดได้ในกิ ตาบบาห์รุลบารี) เป็น ไปได้อ ย่า งไรว่า ละหมาดต้า รอเวีย ะ ๊ คือ 20 ร่อ กาอัต ไม่ใ ช่ 8 ร่อ กาอัต จากหลักฐานข้างต้นสรุปว่าท่านนบีและซอฮาบะห์ต่าง กลับไปทำาจนสมบูรณ์ที่บ้านของตนเอง ผู้อธิบายอย่างชัดเจนคือท่านอุมัร บินคอตตอบ ท่าน ได้ละหมาด 20 ร่อกาอัตพร้อมด้วยประชาชนทั้งหลายใน มัสยิด ปรากฏว่ามีบรรดาซอฮาบะห์ต่างๆ เช่นท่าน อุษมาน อาลี ร่วมอยู่ด้วย ไม่มีท่านใดโต้แย้งในจำานวนร่อกาอัตดัง กล่าว (แล้ว ท่า นคือ ใคร ที่ไ ปฮุก มว่า ละหมาดต้า รอ เวี๊ย ะทำา 8 ร่อ กาอัต ก็ไ ด้) ละหมาดต้ารอเวี๊ยะ มีมากกว่า 20 ร่อกาอัตทำาได้ หรือไม่ ชาวมะดีนะห์ในอดีตได้ทำาถึง 36 ร่อกาอัต เพื่อให้ได้ ผลบุญเท่ากับชาวมักกะฮ์ ซึ่งชาวมักกะฮ์จะตอวาฟบัย
  • 3. 3 ตุลลอฮ์ 1 รอบ ขณะที่ละหมาดต้ารอเวี๊ยะได้ 4 ร่อกาอัต เพื่อให้ได้ผลบุญมากยิ่งขึ้นชาวมะดีนะห์จึงเพิ่มอีก 4 ร่อกา อัตในทุกๆครั้งที่มีการตอวาฟ รวมทั้งหมด 4 ครั้งของการ เพิ่ม เท่ากับ 16 ร่อกาอัต แต่ไ ม่อ นุญ าตให้บ ุค คลอื่น จากชาวมะดีน ะห์ป ฏิบ ัต ิ 36 ร่อ กาอัต เพราะชาวมะดี นะห์ได้รับเกียรติในการอพยพและฝังร่างของท่านนบี (ซ.ล.) (ดูรายละเอียดจากกิตาบมัจมัวะ อิอานะตุดตอลิบีนเพิ่ม เติมได้) *อย่าให้ผลบุญละหมาดต้ารอเวี๊ยะของท่านขาดหายในช่วง ความประเสริฐของร่อมาฎอน* ด้วยความห่วงใย คณะกรรมการกองทุนติญารียะห์ กลุ่มครูฟัรฎูอีน นาบีละหมาดตาราแวะห์ 20 ร่อกาอัต ‫عَن ابُتْن عَباس رَضى ا عَنهما قَال : كَان رَسأ ُول ا صَلى ا‬ ُ ‫أ‬ ّ ِ‫ُتْ أ ُ ْي‬ َ َ َ ُ ‫ْيِ ْيِ ّ ٍ ْيِ َ أ ُ ُتْ أ‬ ً َ ْ‫ُتْ ْيِ ُتْ َ ُت‬ ‫عَليه وسلم يصلى فْيِى رَمضان عْيِشرين رَكعة‬ َ َ َ ْ‫ُت‬ ْ‫َ ُتْ ْيِ َ َ ّ َ أ ُ َ ىِّ ُت‬ ‫رواه ابن أبى شيبة وعبد بن حميد والبيهقى‬ จากอิบนุอับบาส (ร.ด.) ได้กล่าวว่า ปรากฏว่า ท่านรอซูลุลเลาะฮ์ (ซ.ล.)ละหมาดในเดือนรอมาฎอน 20 รอกาอัต
  • 4. 4 รายงานโดยอิบนุอบีชัยบะฮ์ อับดุบินหุมัยด์ และ บัยฮะกีย์ ผูสืบทอดหะดีษ ้ อับดุลลอฮ์ บินอับบาส, มิกซัม อัลหะกัม อิบรอฮีม บินอุสมาน ยะซีด บินฮารูน อิบนุอบีชัยบะฮ์ (จากหนังสือของอิบนุอบีชัยบะฮ์ ฮาดิษที่ 7691 และ อัลบัยฮะกีย์ ฮาดีษที่ 4615) ฟัตวาสี่มัสฮับ ฮานาฟี ชาฟิอี ฮัมบาลี 20 รอกาอัต มาลิกี 36 รอกาอัต ชี้แจงข้อเขียนของกองทุนติญารียะห์ กลุ่มครูฟัรฺฎูอีน, โดย อ.ปราโมทย์ ศรีอุทัย ‫بسم ا الرحمن الرحيم‬ ‫الحمدلله رب العالمين، والصلة والسلم على أشرف النبياء‬ ‫... والمرسلين، سيدنا محمد وعلى آله وصحبه أجمعين أما بعد‬ ข้างต้นนั้นคือข้อเขียนในเอกสารของกองทุนติญารี ยะฮ์อันเป็นกลุ่มครูฟัรฺฎูอีนเกี่ยวกับเรื่อง “จำา นวนร็ อกอะฮ์” ของนมาซตะรอเวี๊ยะห์ ซึ่งเอกสารดังกล่าวมี
  • 5. 5 จำานวน 2 หน้ากระดาษ แต่ผมนำามาเรียงพิมพ์ใหม่ชนิดคำา ต่อคำาเพื่อความชัดเจน เป็น 3 หน้ากระดาษ ... นมาซตะรอเวี๊ยะห์ หมายถึงการนมาซในยามคำ่าคืน ของเดือนรอมะฎอน หลังจากนมาซอิชาอฺเสร็จแล้ว จนถึง เวลานมาซซุบห์ ... ตามปกติการนมาซตะรอเวี๊ยะห์ในประเทศไทยหรือ ประเทศมุสลิมอื่นๆทั่วโลกจะมีการปฏิบัติกัน 2 ลักษณะคือ 11 ร็อกอะฮ์ กับ 23 ร็อกอะฮ์ ... ขอเรียนทำาความเข้าใจกันก่อนว่า ผมไม่ติดใจใน ความเชื่อ, และการปฏิบัตินมาซตะรอเวี๊ยะห์ของพวกท่าน – ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มครูฟัรฺฎูอีนหรือผู้ใดก็ตาม -- ว่าพวกท่าน จะมีความเชื่ออย่างไร หรือมีการปฏิบัตินมาซตะรอเวี๊ยะห์ กันกี่ร็อกอะฮ์ เพราะพวกท่า นมีส ิท ธิท ี่จ ะปฏิบ ัต ิต าม ความเชื่อ ของพวกท่า นๆได้ และใครๆก็ไ ม่ม ีส ิท ธิไ ป ห้า มปรามหรือ ขัด ขวางพวกท่า นจากการปฏิบ ัต ิ เหล่า นั้น ได้ หากพวกท่า นเห็น ว่า มัน ถูก ต้อ ง ... แต่สิ่งที่ผมจะเขียนชี้แจง ณ ที่นี้ก็คือ ความเข้า ใจ ผิด ของพวกท่านเกี่ยวกับความหมายของนมาซตะรอเวี๊ ยะห์, นมาซสุนัตมุฏลัก, และข้อเท็จจริงของหลักฐานจาก หะดีษและจากตำาราบางเล่มที่พวกท่านนำามาเสนอใน เอกสารดังกล่าวนั้น ... ก่อนอื่น ขอเรียนให้ผู้อ่านทุกท่านโปรดเข้าใจด้วยว่า คำาว่า “นมาซตะรอเวี๊ย ะห์” ซึ่งพวกเราใช้เรียกการนมาซ ยามคำ่าคืนของเดือนรอมะฎอนในปัจจุบันนี้นั้น เป็น คำา ศัพ ท์ท ี่น ัก วิช าการยุค หลัง ได้ก ำา หนดหรือ บัญ ญัต ิข ึ้น มา เพื่อใช้เรียกการนมาซดังกล่าวให้สอดคล้องกับการ ปฏิบัติที่นิยมกระทำากันในยุคหนึ่งที่นครมักกะฮ์ ... เพราะในทุกๆ 4 ร็อกอะฮ์ของการนมาซนี้จะมีการ “หยุด พัก ” กัน 1 ครั้ง เพื่อไปฏอว้าฟบัยตุ้ลลอฮ์ ... การหยุดพักนี้ ชาวอาหรับจะเรียกว่า “ตัร ฺว ีห ะฮ์” ซึงมี ่ พหูหจน์เป็นคำาว่า “ตะรอเวี๊ย ะห์” ดังที่พวกเราและมุสลิม ทั่วโลกใช้เรียกนมาซนี้กันอยู่ ...
  • 6. 6 แต่ในสมัยของท่านศาสดามุหมมัด ศ็อลลัลลอฮุ อะลัย ั ฮิวะซัลลัม, สมัยของเศาะหาบะฮ์, สมัยของตาบิอีน เป็นต้น จะเรียกการนมาซนี้ว่า กิยามุรอมะฎอน หรือกิยามุ้ลลัยล์ หรือศ่อลาตุ้ลลัยล์ .. อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังมีปรากฏในหะ ดีษหลายบทที่กล่าวถึงการนมาซนี้ ... ตัวอย่างเช่น ... 1. คำาว่า “กิย ามุร อมะฎอน” .. ท่านศาสดา ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัมกล่าวว่า َ ّ َ َ ُ ‫َ ُتْ َ َ َ َ َ َ ُتْ َ ً َ ُتْ ْيِ َ ً أ ُ ْيِ َ َ أ‬ ‫من قا م ر م ضا ن إ ْيِيمانا واحتسابا غفرله ما تقَدم‬ ‫من ذنبه‬ ِ‫ْيِ ُتْ َ ُتْ ْيِ ْي‬ “ผู้ใดยืน(นมาซยามคำ่าคืน)ในเดือนรอมะฎอน ด้วย ความศรัทธาและแสวงหาผลบุญจากอัลลอฮ์ เขาก็จะถูก อภัยโทษให้ในบาป(เล็ก)ของเขาที่ผ่านมาแล้ว” (บันทึกโดย ท่านบุคอรีย์, ท่านมุสลิมและท่านอื่นๆ โดยรายงานมาจากท่านอบูฮุร็อยเราะฮ์ ร.ฎ.) ... คำาว่า ‫ قام رمضان‬กับคำาว่า ‫ قيام رمضان‬มีทมาจากราก َ َ َ َ َ َ َ َ َ َ ُ ‫ْيِ َ أ‬ ี่ ศัพท์เดียวกันและมีความหมายอย่างเดียวกัน .. คือ การยืน นมาซยามคำ่าคืนในเดือนรอมะฎอน ... 2. คำาว่า “กิย ามุ้ล ลัย ล์” .. (แปลว่า ยืนนมาซยาม คำ่าคืน) มีบันทึกในหะดีษหลายบทด้วยกัน ตัวอย่างเช่นหะ ดีษบทหนึ่งจากท่านหญิงอาอิชะฮ์ ร.ฎ.ที่กล่าวว่า ... ِ‫أ ُ َ َ ُتْ ْي‬ ‫ل َ تدع ق يا م ال ل ي ل! فإن رسول ا صلى ا عليه‬ ّ َ ِ‫َ َ ُتْ ْيِ َ َ ّ ُتْ ْيِ َ ْيِ ّ َ أ ُ ُتْ َ ْي‬ ُ ‫َ َ ّ َ َ أ ُ أ‬ ‫..... وسلم ل َ يدَعه‬ “ท่านอย่าละทิ้งการยืน(นมาซ)ในยามคำ่าคืนเป็นอัน ขาด เพราะท่านรอซู้ลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัม ไม่เคยละทิ้งมัน ......” (บันทึกโดยท่านอิหม่ามอะห์มัด เล่มที่ 6 หน้า 249) ... 3. คำาว่า “ศ่อ ลาตุ้ล ลัย ล์” .. (แปลว่า นมาซยามคำ่าคืน เช่นเดียวกัน) .. ท่านศาสดา ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัม กล่าวว่า ...
  • 7. 7 ‫ص ل َة ال ل ي ل مثنى مثنى‬ َ ْ‫َ أ ُ ّ ُتْ ْيِ َ ُتْ َ َ ُت‬ “การนมาซยามคำ่าคืนนั้น ให้ทำาทีละสองร็อกอะฮ์, ทีละ สองร็อกอะฮ์” ... (บันทึกโดยท่านบุคอรีย์, ท่านมุสลิม, ท่านอิหม่ามมา ลิก, ท่านอบูอะวานะฮ์ โดยรายงานจากท่านอิบนุอุมัรฺ ร.ฎ.) ... สรุปแล้ว คำาว่า “นมาซตะรอเวี๊ยะห์” ดังที่รู้จักกันแพร่ หลายในปัจจุบัน จึงไม่เป็นที่รู้จักหรือเรียกกันในยุคของ ท่านศาสดา, ยุคของเศาะหาบะฮ์หรือยุคของตาบิอีนแต่ อย่างใด ... ผมไม่เคยเจอหลักฐานใดที่รายงานว่า คำาว่า “นมาซ ตะรอเวี๊ยะห์” นี้เกิดขึ้นมาในสมัยใด และนักวิชาการท่าน ใดเป็นผู้บัญญัติคำาศัพท์นี้ขึ้นมาเพื่อใช้เรียกการนมาซยาม คำ่าคืนของเดือนรอมะฎอนแทนการเรียกว่า กิยามุรอมะฎอน หรือศ่อลาตุ้ลลัยล์ ดังในสมัยของท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะ ลัยฮิวะซัลลัม .. แต่เท่าที่ทราบก็คือในสมัยของท่านบุคอรีย์ (มีชีวิตระหว่างปี ฮ.ศ. 194-256) คำาๆนี้ก็เป็นที่รู้จักกันแล้ว .. ดังจะเห็นได้จากการที่ท่าน บุคอรีย์ได้ตั้งชือเรื่องในหนังสือ ่ หะดีษ “อัศ-เศาะเหี๊ยะฮ์” ของท่านบทหนึ่งด้วยคำาว่า .. ِ‫ْيِ َ أ ُ َ ْيِ ّ َ ْيِ ُتْ ْي‬ ‫( : ك تا ب ص ل َة ال ت را و ي ح‬กิต าบ ศ่อ ลาติต - ตะรอเวี๊ย ะห์) ... หะดีษเศาะเหี๊ยะห์เกี่ยวกับการนมาซใน เดือนรอมะฎอนหรือนมาซตะรอเวี๊ยะห์ ท่านอบูสะละมะฮ์ บินอับดุรฺเราะห์มาน ได้กล่าวถาม ท่านหญิงอาอิชะฮ์ รฺ.ฎ.ว่า ... َ ّ َ ِ‫أ ُ َ َ ُتْ ْي‬ ‫كيف كانت صل َة رسول ا صلى ا عليه وسَلم‬ ّ َ ِ‫َ ُتْ َ َ َ ُتْ َ أ ُ َ أ ُ ُتْ ْيِ ْي‬ ‫فى رمضان؟‬ َ َ َ َ ْ‫ْيِ ُت‬ “ท่านรอซู้ลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัม ได้ นมาซอย่างไรในเดือ นรอมะฎอน ?” .. ซึงท่านหญิงอาอิชะฮ์ ร.ฎ. ก็กล่าวตอบว่า ... ่
  • 8. 8 َ ‫ما كان رسول ا صلى ا عليه وسلم يزيد فى رمضان ول‬ َ َ َ َ َ ْ‫أ ُ َ َ ُتْ ْيِ َ َ ّ َ َ ْيِ ُتْ أ ُ ْيِ ُت‬ ّ َ ِ‫َ َ َ َ أ ُ ُتْ أ ُ ْي‬ ً ْ‫َ ُتْ َ َ َ ُت‬ ‫......... فى غيره على إ ْيِحدى عشرة ركعَة‬ َ ْ‫ُت‬ َ َ ِ‫ْيِ ُتْ َ ُتْ ْيِ ْي‬ “ท่านรอซู้ลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัม ไม่เคย นมาซ – ไม่ว ่า ในเดือ นรอมะฎอนหรือ มิใ ช่เ ดือ นรอ มะฎอน – เกิน กว่า 11 ร็อ กอะฮ์ .......................” (บันทึกโดยท่านบุคอรีย์, ท่านมุสลิม, ท่านอิหม่ามมา ลิก, ท่านอบูดาวูด, ท่านอัน-นะซาอีย์, ท่านอะห์มัด, ท่านอัต- ติรมีซีย์, ท่านอัล-บัยฮะกีย์, และท่านอบู อะวานะฮ์) ฺ หะดีษบทนี้เป็นหะดีษเศาะเหี๊ยะฮ์โดยปราศจากข้อโต้ แย้ง ... จากคำาถามและคำาตอบข้างต้นระหว่างท่านอบูสะละ มะฮ์และท่านหญิงอาอิชะฮ์ ร.ฎ. มีขอที่น่าสังเกตอยู่ 3 ้ ประการคือ ... 1. ท่านอบูสะละมะฮ์ได้ถามท่านหญิงอาอิชะฮ์ ร.ฎ. ถึง เรื่องการนมาซของท่านรอซุ้ลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะ ซัลลัมในเดือ นรอมะฎอน โดยเฉพาะ ซึงตามรูปการณ์ ่ แล้วก็คือ เป็นการถามเรื่องนมาซที่เราเรียกกันในปัจจุบัน ว่า นมาซตะรอเวี๊ยะห์ นั่นเอง ... แล้วท่านหญิงอาอิชะฮ์ ร.ฎ. ก็ตอบว่า ท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัม ไม่เ คยนมาซเกิน 11 ร็ อกอะฮ์ ... ท่านอิบนุหะญัรฺ อัล-อัสเกาะลานีย์ได้กล่าวในหนังสือ “ฟัตหุ้ลบารีย์” อันเป็นหนังสืออธิบายหะดีษบุคอรีย์ เล่มที่ 4 หน้า 254 ว่า ... ‫وأ َمامارواه ابن أ َبى شيبة من حديث ابن عباس كان رسأ ُول‬ ُ ‫َ ّ َ َ َ أ ُ ُتْ أ ُ ْيِ ُتْ َ ُتْ َ َ ْيِ ُتْ َ ْيِ ُتْ ْيِ ُتْ ْيِ َ ّ ٍ )) َ َ ُتْ أ‬ َ ً َ ْ‫أ ُ َ َ ُتْ ْيِ َ َ ّ َ أ ُ َ ىِّ ُتْ ْيِ ُتْ َ َ َ َ ْيِ ُتْ ْيِ ُتْ َ َ ُت‬ ‫ا صلى ا عليه وسلم يصلى فى رمضان عشرين ركعة‬ ّ َ ِ‫ْي‬ ْ‫َ َ ُتْ َ َ َ أ ُ َ ْيِ ُتْ أ ُ َ ْيِ َ َ َ َ ّ ْيِ ُت‬ ‫والوتر(( فإسناده ضعيف! وقد عارضه حديث عائشة هذا الذى‬ ٌ ْ‫َ ُتْ ْيِ ُتْ َ َ ْيِ ُتْ َ أ ُ أ ُ َ ْيِ ُت‬ ‫فى الصحيحين مع كونها أ َعلم بحال النبى صلى ا عليه وسلم‬ َ ّ َ َ ِ‫أ ُ َ َ ُتْ ْي‬ ّ َ ِّ‫ّ ْيِ ُتْ َ ُتْ ْيِ َ َ َ ُتْ ْيِ َ ُتْ َ َ ْيِ َ ْيِ ّ ْيِ ى‬ ِ‫ْي‬ ‫ليل ً من غيرها وا أ َعلم‬ ُ ‫َ ُتْ ْيِ ُتْ َ ُتْ ْيِ َ َ أ ُ ُتْ َ أ‬ “อนึ่ง สิ่งที่ท่านอิบนุอบีย์ชัยบะฮ์ได้รายงานมาจากหะ ดีษของท่านอิบนุอับบาส ร.ฎ. ว่า ท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะ ลัยฮิวะซัลลัมได้นมาซในเดือนรอมะฎอน 20 ร็อกอะฮ์และ
  • 9. 9 นมาซวิตรี่นั้น สายรายงานของหะดีษ นี้ เฎาะอีฟ ! .. และแน่นอน มันยังขัดแย้งกับหะดีษของท่านหญิงอาอิชะฮ์ ร.ฎ.บทนี้จากการบันทึกที่ถูกต้องทั้งสอง (คือท่านบุคอรีย์ และท่านมุสลิม) ซึง ข้อ เท็จ จริง ก็ค ือ ท่า นหญิง อาอิช ะฮ์ ่ ย่อ มรู้ด ีก ว่า ผู้อ ื่น ถึง สภาพ (หมายถึงการนมาซและเรื่อ งอื่นๆ)ของท่า นนบีย ์ใ นยามคำ่า คืน วัลลอฮุ อะอฺลัม” ... (หะดีษของท่านอิบนุอับบาส ร.ฎ. จากการบันทึกของ ท่านอิบนุอบีย์ชัยบะฮ์ ดังที่ท่านอิบนุหะญัรฺ อัล-อัสเกาะลา นีย์อ้างถึงนั้น ผมจะนำารายละเอียดมาวิเคราะห์อีกครั้งใน ตอนหลัง อินชาอัลลอฮ์) ... 2. นมาซที่ท่านนบีย์ปฏิบัติไม่เกิน 11 ร็อกอะฮ์ดังคำา ตอบของท่านหญิงอาอิชะฮ์ ร.ฎ. มิไ ด้ห มายถึง นมาซสุ นัต มุฏ ลัก .. ดังความเข้าใจของกลุ่มครูฟัรฺฎูอีน ... ทั้งนี้เพราะไม่เคยปรากฏว่าจะมีนักวิชาการหะดีษท่าน ใด ไม่ว่าท่านบุคอรีย์, ท่านมุสลิม, ท่านอบูดาวูด, ท่านอัน- นะซาอีย์, ท่านอัต-ติรมีซีย์, ท่านอัล-บัยฮะกีย์ เป็นต้น จะ ฺ นำาเอาหะดีษบทนี้ไปบันทึกไว้ในเรื่อง “นมาซสุน ัต มุฏ ลัก ” แม้แต่ท่านเดียว ... ตรงกันข้ามพวกท่านได้นำาเอาหะดีษเรื่องการนมาซ 11 ร็อกอะฮ์นี้ไปบันทึกไว้ในเรื่องนมาซตะรอเวี๊ยะห์บ้าง นมาซตะฮัจญุดบ้าง, กิยามุรอมะฎอนบ้าง, ศ่อลาตุ้ลลัยล์ บ้าง, นมาซวิตรี่บ้าง .. ดังจะถึงต่อไป ... เพราะฉะนั้น นมาซจำานวน 11 ร็อกอะฮ์ ดังที่ท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัมกระทำาดังข้อความของหะดีษที่ ถูกต้องข้างต้น แล้วมุสลิมจำานวนมากทั่วโลกก็รับมาปฏิบัติ ตาม จึงไม่ใช่นมาซสุนัตมุฏลักแน่นอน ... และ .. สมมุติว่า ถ้าหะดีษข้างต้นของท่านนบีย์ เป็น นมาซสุนัตมุฏลักดังที่พวกท่านเข้าใจ ผมก็อยากจะถามว่า ... ก. มีนักวิชาการท่านใดบ้างไหมที่อ้างหะดีษบทนี้เป็น หลักฐานเรื่องนมาซสุนัตมุฏลักดังข้ออ้างของพวกท่าน? ..
  • 10. 10 ข. หรือมีนักวิชาการท่านใดบ้างไหมที่อธิบายว่าให้ พวกท่านทำานมาซสุนัตมุฏลักทีละ 4 ร็อกอะฮ์, 4 ร็อกอะฮ์ แล้วก็ 3 ร็อกอะฮ์ .. ดังคำาอธิบายของท่านหญิงอาอิชะฮ์ใน ตอนหลังของหะดีษบทนี้ ??? ... 3. คำาตอบของท่านหญิงอาอิชะฮ์ ร.ฎ. ที่ว่า .. ไม่ว ่า จะ เป็น เดือ นรอมะฎอนหรือ มิใ ช่ร อมะฎอน ท่านนบีย์ไม่ เคยนมาซเกิน 11 ร็อกอะฮ์ ... คำาตอบนี้มีความหมายชัดเจนว่า นมาซยามคำ่าคืน ไม่ ว่าจะกระทำาในเดือนรอมะฎอน(ที่เราเรียกกันในปัจจุบันว่า นมาซตะรอเวี๊ยะห์) หรือในเดือนอื่นๆ (ที่เราเรียกกันว่า กิยา มุลลัยล์บ้าง, ศ่อลาตุ้ลลัยล์บ้าง, นมาซตะฮัจญุดบ้าง ฯลฯ) ้ คือ นมาซเดีย วกัน ! และตามปกติท่านนบีย์จะกระทำาไม่ เกิน 11 ร็อกอะฮ์ ... หมายเหตุ ที่ผมใช้คำาว่า “ตามปกติ” เพราะมีหะดีษที่ถูกต้อง รายงานมาเช่นเดียวกันว่า บางครั้งท่านนบีย์จะทำา 13 ร็ อกอะฮ์, บางครั้งจะทำา 9 ร็อกอะฮ์ และบางครั้งจะทำาเพียง 7 ร็อกอะฮ์ ซึงผมจะไม่ชแจงรายละเอียดหรือหลักฐาน ณ ที่นี้ ่ ี้ ... นมาซของท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะ ซัลลัมดังรายงานข้างต้นคือนมาซอะไร ? ... ท่านบุคอรีย์ได้นำาเอาหะดีษบทข้างต้นนี้มาบันทึกไว้ ในหนังสือหะดีษ “อัศ-เศาะเหี๊ยะห์” ของท่าน 3 ตำาแหน่งคือ ... 1. ในกิตาบ “อัต -ตะฮัจ ญุด ” หะดีษที่ 1147, บาบว่า ด้วยเรื่อง “การนมาซของท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะ ซัลลัม ยามคำ่าคืนในเดือนรอมะฎอนและเดือนอื่นๆ” .. 2. ในกิตาบ “ศ่อ ลาตุ้ต ตะรอเวี๊ย ะห์” หะดีษที่ 2013, บาบว่าด้วยเรื่อง “ความประเสริฐของการนมาซยามคำ่าคืน ในเดือนรอมะฎอน ...
  • 11. 11 3. ในกิตาบ “อัล -มะนากิบ ” หะดีษที่ 3569, บาบว่า ด้วยเรื่อง “ตาของท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะซัลลัม หลับ แต่ใจของท่านไม่หลับ” ... -- ท่านมุสลิมได้บันทึกหะดีษบทข้างต้นนี้ในหนังสือหะ ดีษ “อัศ-เศาะเหี๊ยะห์” ของท่านเล่มที่ 1 หน้า 509, หรือหะ ดีษที่ 125/738, บาบว่าด้วยเรื่อง “ศ่อ ลาตุ้ล ลัย ล์ และจำา นวนร็อกอะฮ์ของการนมาซยามคำ่าคืน” ... -- ท่านอบูดาวูดได้บันทึกหะดีษนี้ในหนังสือ “อัส-สุ นัน” ของท่าน หะดีษที่ 1341 ในบาบเรื่อง “ศ่อ ลาตุ้ล ลัย ล์” เช่นเดียวกัน ... -- ท่านอัต-ติรฺมีซย์ได้บันทึกหะดีษบทนี้ใหนังสือ “อัส- ี สุนัน” ของท่าน หะดีษที่ 439 ในบาบว่าด้วยเรื่อง “ลัก ษณะ การนมาซของท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมยาม คำ่า คืน ” ... -- ท่านอัน-นะซาอีย์ได้บันทึกหะดีษนี้ในหนังสือ “อัส- สุนัน” ของท่าน หะดีษที่ 1696 บาบว่าด้วยเรื่อง “‫كيف الوتر‬ ِ‫َ ُتْ َ ُتْ ْيِ ُتْ ْي‬ ٌ َ ‫ ”ثل َث‬คือ ทำา นมาซวิต รี่ 3 ร็อ กอะฮ์อ ย่า งไร ? ... -- ท่านอิหม่ามมาลิก ได้บันทึกหะดีษนี้ในหนังสือ “อัล- มุวัฏเฏาะอ์” ของท่าน เล่มที่ 1 หน้า 107, บาบว่าด้วยเรื่อง “การนมาซวิต รี่ของท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุ อะลัยฮิวะ ซัลลัม”... ท่านอัล-บัยฮะกีย์ ได้บันทึกหะดีษนี้ในหนังสือ “อัส-สุ นัน อัล-กุบรออ์” ของท่าน เล่มที่ 2 หน้า 495 ในบาบว่าด้วย เรื่อง “สิ่งที่ถูกรายงานมาเกี่ยวกับจำา นวนร็อ กอะฮ์ข อง นมาซยามคำ่า คืน เดือ นรอมะฎอน (คือนมาซตะรอเวี๊ ยะห์) ... -- ท่านมุหมมัด อิบนุนัศร์ อัล-มัรฺรูซีย์ (สิ้นชีวิตปี ฮ.ศ. ั 294) ได้เขียนหนังสือชี้แจงหลักฐานเกี่ยวกับการนมาซ เหล่านี้รวม 3 เล่ม .. คือหนังสือกิยามุรอมะฎอน , หนังสือกิ ยามุ้ลลัยล์, และหนังสือศ่อลาตุ้ตตะรอเวี๊ยะห์ ...
  • 12. 12 เป็นที่น่าสังเกตว่า “หลัก ฐาน” ของนมาซทั้ง 3 ชนิด ข้างต้นที่ท่านอิบนุนัศร์นำามาบันทึกไว้ในหนังสือทั้ง 3 เล่ม นั้น เป็น “หลัก ฐานเดีย วกัน ” เกือบทั้งสิ้น ... การที่บรรดานักวิชาการหะดีษซึ่งได้กล่าวนามมาข้าง ต้น ได้นำาเอาหะดีษเรื่องการนมาซ 11 ร็อกอะฮ์ของท่าน นบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม “บทเดีย ว” กันนี้มาระบุ ไว้ในเรื่องนมาซตะฮัจญุดบ้าง, นมาซตะรอเวี๊ยะห์บ้าง, นมาซยามคำ่าคืนหรือศ่อลาตุ้ลลัยล์บ้าง, นมาซวิตรี่บ้าง, จำา นวนร็อกอะฮ์ของนมาซยามคำ่าคืนในเดือนรอมะฎอนบ้าง .. เหล่านี้ ย่อมบ่งบอกความหมายชัดเจนว่าไม่ว่าเราจะเรียก นมาซยามคำ่าคืนนี้ว่า นมาซตะรอเวี๊ยะห์, หรือกิยามุรอ มะฎอน, หรือกิยามุ้ลลัยล์, หรือศ่อลาตุ้ลลัยล์, หรือนมาซวิ ตรี่ (หรือแม้แต่นมาซตะฮัจญุด) ... แต่ตามข้อเท็จจริงแล้ว นมาซทีมีชื่อหลากหลายดัง ่ ข้างต้นนี้ ก็ค ือ นมาซเดีย วกัน ดังกล่าวมาแล้ว ... หากมีคำาถามว่า ถ้าเป็นนมาซเดียวกันจริง ทำาไม่จึง ต้องมีชื่อเรียกแตกต่างกันเป็นหลายชื่ออย่างนั้น ? ... คำาตอบก็คือ เพราะเราพิจารณานมาซชนิดนี้ในหลาย แง่มุมหรือหลายมุมมอง .. ไม่ว่าในลักษณะการกระทำา, ใน เวลาหรือเดือนที่กระทำา, ในจำานวนร็อกอะฮ์ที่กระทำา, หรือ แม้แต่ในรูปแบบส่วนตัวของผู้กระทำา ... สาเหตุที่เราเรียกนมาซนี้ว่า นมาซตะรอเวี๊ยะห์ เพราะ ชาวมักกะฮ์ยุคก่อนจะมีการตะรอเวี๊ยะห์ .. คือหยุดพัก (เพื่อ ฏอว้าฟ) ในทุกๆ 4 ร็อกอะฮ์ ... สาเหตุที่เราเรียกนมาซนี้ว่า กิยามุรอมะฎอน เพราะเรา ทำามันใน(ยามคำ่าคืนของ) เดือนรอมะฎอน ... สาเหตุที่เราเรืยกนมาซนี้ว่า กิยามุ้ลลัยล์หรือศ่อลาตุ้ล ลัยล์ เพราะเราปฏิบัติมันในตอนกลางคืน (กิยามหรือศ่อ ลาฮ์ แปลว่าการยืนนมาซ, ส่วนอัล-ลัยล์ แปลว่ากลางคืน) ... สาเหตุที่เราเรียกนมาซนี้ว่า นมาซวิตรี่ เพราะ พิจารณาถึงผลสรุปจำานวนร็อกอะฮ์ของมันว่า สุดท้ายจะ ต้องเป็น “จำา นวนคี่” เสมอ (วิตรี่ แปลว่า จำานวนคี่) ...
  • 13. 13 และสาเหตุที่เราเรียกนมาซนี้ว่า นมาซตะฮัจญุด ก็ เพราะเรานอนก่อนแล้วตื่นขึ้นมาทำามันทีหลัง ... (คำาว่า “ตะฮัจ ญุด ” แปลว่า การนอนหลับ/ การตื่นขึ้น มาตอนกลางคืน) ... อุปมาเปรียบเทียบในเรื่องนี้ ก็อุปมัยอย่างเช่นคุณชวน หลีกภัย ซึ่งเราสามารถเรียกท่านได้หลายอย่าง แล้วแต่ว่า จะมองในมุมมองไหน ... เราเรียกท่านว่า คุณชวน หลีกภัย ก็ได้(เพราะนี่คือชื่อ จริงของท่าน) ... เราเรียกท่านว่า อดีตหัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ ก็ได้(เพราะในอดีตท่านเคยเป็นหัวหน้าพรรคการเมืองนี้) ... เราเรียกท่านว่า อดีตนายกรัฐมนตรี ก็ได้ (เพราะใน อดีตท่านเคยดำารงตำาแหน่งนี้) เราเรียกท่านว่า อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวง ศึกษาธิการก็ได้ (เพราะในอดีตท่านเคยดำารงตำาแหน่งนี้) ... เราเรียกท่านว่า อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวง มหาดไทยก็ได้ (เพราะในอดีตท่านเคยดำารงตำาแหน่งนี้) ... เราเรียกท่านว่า อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวง กลาโหม ก็ได้ (เพราะในอดีตท่านเคยดำารงตำาแหน่งนี้) ... เราเรียกท่านว่า ประธานกรรมการที่ปรึกษาพรรค ประชาธิปัตย์ ก็ได้ (เพราะปัจจุบันท่านดำารงตำาแหน่งนี้) ... หรือเราจะเรียกท่านว่า ลูกแม่ถ้วน ก็ได้(เพราะมารดา ของท่านคือแม่ถ้วนหลีกภัย) แต่, ..ไม่ว่าเราจะเรียกท่านอย่างไร เราก็ปฏิเสธไม่ได้ ว่าทุกนามข้างต้นหมายถึง“ตัว ตนของบุค คลคน เดีย วกัน ” คือคุณชวน หลีกภัย ... สำาหรับข้อเขียนของพวกท่านข้างต้น ผมขอชี้แจง ใน 8 ประเด็นดังต่อไปนี้ ... (1). คำากล่าวที่ว่า “จำา นวนละหมาดต้า รอเวี๊ย ะนั้น มี 20 ร่อ กาอัต จากฮาดิษ ของท่า นนบี (ซ.ล.)” ...... ชีแจง ้
  • 14. 14 หากคำาพูดข้างต้นนี้ต้องการสื่อความหมายว่า จำา นว นร็อ กอะฮ์ข องนมาซตะรอเวี๊ย ะห์ค ือ 20 ร็อ กอะฮ์ เท่า นั้น จะทำา “เพิ่ม ” หรือ “ลด” ไม่ได้ .. คำาพูดนี้ก็ขัดแย้ง กับคำาอธิบายตอนหลังของท่านเองที่ว่า ชาวมะดีน ะฮ์น ั้น จะนมาซตะรอเวี๊ย ะห์ 36 ร็อ กอะฮ์! เพราะสมมุติว่า .. ถ้าท่านนบีย์(ซึ่งขณะนั้นอาศัยอยู่ที่ นครมะดีนะฮ์) ทำานมาซนี้ 20 ร็อกอะฮ์จริง .. แล้วชาวมะดี นะฮ์ยุคหลังจากท่านนบีย์ไปทำา 36 ร็อกอะฮ์ ... ชาวมะดีนะฮ์ก็เป็นผู้ “เพิ่ม เติม ” จำานวนร็อกอะฮ์ของ นมาซนี้ให้มากขึ้นกว่าการกระทำาของท่านนบีย์ ... การเพิ่มจำานวนร็อกอะฮ์นมาซนี้ของชาวมะดีนะฮ์จึง แสดงว่า นมาซนี้ไม่มีการกำาหนดจำานวนร็อกอะฮ์ที่ “แน่น อนตายตัว ” ว่าต้องทำาเพียง 20 ร็อกอะฮ์ ... เมื่อไม่มีการกำาหนดจำานวนร็อกอะฮ์ที่แน่นอนตายตัว .. คือ สามารถทำา เพิ่ม จากการกระทำา ของท่า นนบีย ์ ได้ ... ผมจึงสงสัยว่า แล้ว ทำา ไมจะทำา ลด ไม่ไ ด้ ? ... โดยเฉพาะอย่างยิ่ง จำานวนที่ลดลง (จากจำานวนเต็มที่ ท่านนบีย์ทำาไว้ 20 ร็อกอะฮ์ดังหะดีษที่ท่านอ้างถึงในตอน หลัง) เหลือเพียง 11 ร็อกอะฮ์ ก็เป็นจำานวนที่ท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมเอง กระทำา เป็น ประจำา เสีย ด้วย .. ดังหะดีษเศาะเหี๊ยะห์ที่รายงานโดยท่านหญิงอาอิ ชะฮ์ ร.ฎ.ข้างต้น ... ส่วนข้ออ้างของท่านตอนหลังที่ว่า .. “แต่ไม่อนุญาต ให้บุคคลอื่นจากชาวมะดีนะฮ์ปฏิบัติ 36 ร็อกอะฮ์” .. ก็เป็น เพียงข้ออ้างที่เลื่อนลอยหรือเป็นทัศนะของนักวิชาการบาง ท่านโดยปราศจากหลักฐานใดๆทั้งสิ้น ... ใครคือผู้กำาหนดข้อห้ามดังกล่าว ? .. ท่านนบีย์เอง, หรือชาวมะดีนะฮ์คนใด ? ... เพราะฉะนั้นสรุปแล้ว ที่ถูกต้องตามทัศนะของพวก ท่านในกรณีนี้ จึงควรจะพูดว่า นมาซตะรอเวี๊ยะฮ์นั้นไม่ม ี
  • 15. 15 จำา นวนร็อ กอะฮ์ท ี่แ น่น อนตายตัว แม้ท ่า นนบีย ์จ ะทำา 20 ร็อ กอะฮ์ ก็ต าม ... (2). คำากล่าวที่ว่า .. “แท้จ ริง ท่า นนบี (ซ.ล.) ได้ ออกจากบ้า นในช่ว งหนึ่ง ของกลางคืน จากเดือ นร่อ มาฎอน คือ คืน ที่ 3, คืน ที่ 5, และคืน ที่ 27” ... ชีแจง ้ ข้อความตอนนี้และต่อไปเกือบทั้งหมด ผมรู้ว่าพวก ท่านคัดลอกและแปลมาจากหนังสือ “อัล -ฟิก ฮ์ อะลัล มะษาฮิบ ิล อัร ฺบ ะอะฮ์” หรือหนังสือ “ฟิก ฮ์ 4 มัษ ฮับ ” เล่มที่ 1 หน้า 341 ซึงเรียบเรียงโดยท่านเช็คอับดุรฺเราะห์ ่ มาน อัล-ญะซะรีย์ (สิ้นชีวิตปี ค.ศ.1970, ขออัลลอฮ์โปรด เมตตาต่อท่านด้วย) ..โดยพวกท่านไม่ได้ตรวจสอบข้อเท็จ จริงจากตำาราที่หนังสือฟิกฮ์ 4 มัษฮับเล่มนั้นอ้างอิงถึงแต่ อย่างใด ข้อมูลของมันจึงมีความคลาดเคลื่อนมากมายดัง จะได้อธิบายต่อไป ... ส่วนข้อความข้างต้นนี้ ขออภัยที่ผมจำาเป็นต้องทักท้วง ว่า ผู้แปลได้แปลคำาพูดของท่านเช็คอับดุรฺเราะห์มาน อัล- ญะซะรีย์ไม่ถูกต้อง ซึ่งเป็นไปได้ว่าอาจเป็นเพราะท่านไม่ เข้าใจลักษณะการเชื่อมคำา (‫ )عطف‬เกี่ยวกับคำานามที่เป็น ٌ ْ‫َ ُت‬ ตัวเลขเรียงตั้งแต่ยี่สิบขึ้นไปในภาษาอาหรับ ก็ได้ ... ข้อความจากต้นฉบับหนังสือฟิกฮ์ 4 มัษฮับ เล่มและ หน้าดังกล่าว เขียนว่า ... ‫فَقد رَوى الشّيخان ))أَنه صَلى ا عَليه وَسلم خَرج مْيِن جَوف‬ ِ‫أ ُ َ ُتْ ْيِ َ ّ َ َ َ ُتْ ُتْ ْي‬ ّ ُ ‫ُتْ َ ْيِ ّ أ‬ َ ْ‫َ ُت‬ ،‫الليل لَيالى مْيِن رَمصان، وهى ثل َث متفرقة، ليلة الثالث‬ ِ‫ّ ُتْ ْيِ َ ْيِ َ ُتْ َ َ َ َ ْيِ َ َ ٌ أ ُ َ َ ىِّ َ ٌ َ ُتْ َ أ ُ ّ ْيِ ْي‬ َ ْ‫َ ُتْ َ ْيِ ْيِ َ ّ ْيِ ْيِ َ ُتْ ْيِ ُتْ ْيِ ُت‬ ‫)) ..... والخامس، والسابع والعشرين‬ ซึงคำาแปลที่ถูกต้องก็คือ .. “แท้จริงท่านเช็คทั้งสอง ่ (คือท่านบุคอรีย์และท่านมุสลิม) ได้รายงานมาว่า ท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมได้ออกไปในตอนกลางคืน – หลายคืน -- จากเดือนรอมะฎอนซึ่งเป็น 3 คืนที่แยกกัน คือ คืน ที่ 23, คืน ที่ 25, และคืน ที่ 27 .........”
  • 16. 16 หลักฐานยืนยันในเรื่องนี้ก็คือหะดีษหลายบทที่ถูก รายงานมาเกี่ยวกับเรื่องการออกมานมาซร่วมกับเศาะหาบ ะฮ์เพียง 3 คืนของท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมใน เดือนรอมะฎอนหนึ่งในมัสญิด .. อย่างเช่นหะดีษของท่าน อัน-นุอฺมาน บินบะชีรฺ ร.ฎ. ที่กล่าวว่า ... َ َ َ َ ِ‫أ ُ َ َ ُتْ ْيِ َ َ ّ َ ْيِ ُتْ ُتْ ْي‬ ‫قمنا مع رسول ا صلى ا عليه وسلم فى شَهر رمضان‬ ّ َ ِ‫أ ُ ُتْ َ َ َ َ أ ُ ُتْ ْيِ ْي‬ ‫ليلة ثل َث وعشرين إ ْيِلى ثلث الليل ال َول، ثم قمنا معه ليلة خمس‬ ٍ ْ‫َ ُتْ َ َ َ ٍ َ ْيِ ُتْ ْيِ ُتْ َ َ أ ُ أ ُ ْيِ ّ ُتْ ْيِ ُتْ ّ ْيِ أ ُ ّ أ ُ ُتْ َ َ َ أ ُ َ ُتْ َ َ َ ُت‬ ّ َ َ ْ‫َ ْيِ ُتْ ْيِ ُتْ َ َ ْيِ ُتْ ْيِ ّ ُتْ ْيِ أ ُ ّ أ ُ ُتْ َ َ َ َ ُتْ َ َ ُتْ ٍ َ ْيِ ُتْ ْيِ ُت‬ ‫وعشرين إ ْيِلى نصف الليل، ثم قمنا معهأ ُ ليلة سَبع وعشرين حتى‬ ‫... ظننا أ َن ل َ ندُتْرك الفل َح، _ وكانوا يسمونه السّحور‬ َ ْ‫أ ُ ُت‬ ُ ‫َ َ أ ُ ُتْ أ ُ َ ّ ُتْ َ أ‬ َ َ ْ‫َ َ ّ ُتْ أ ُ ْيِ َ ُت‬ “พวกเราได้นมาซพร้อมกับท่านรอซู้ลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมคืน ที่ 23 ของเดือนรอมะฎอน จนถึงหนึ่งในสามแรกของคืน (คือจนถึงประมาณ 4 ทุ่ม), ต่อมาพวกเราก็ได้นมาซพร้อมกับท่านในคืน ที่ 25 จนถึง เที่ยงคืน, หลังจากนั้นพวกเราก็นมาซพร้อมกับท่านในคืน ที่ 27 จนพวกเราเข้าใจว่า พวกเราคงไม่ทันอัล-ฟะลาห์, (ท่านอัน-นุอฺมานกล่าวว่า) และพวกเขา (เศาะหาบะฮ์) จะ เรียกมัน (อัล-ฟะลาห์) ว่าการทานอาหารซะหูรฺ(หรือเวลา ซะหูรฺ)” ... (บันทึกโดยท่านอัน-นะซาอีย์ หะดีษที่ 1605, ท่านอิ หม่ามอะห์มัด เล่มที่ 4 หน้า 272, ท่านอิบนุอบีย์ชัยบะฮ์ เล่ม ที่ 2 หน้า 286, ท่านอิบนุคุซัยมะฮ์ หะดีษที่ 2204, ท่านอัล- หากิมในหนังสือ “อัล-มุสตัดร็อก” เล่มที่ 1 หน้า 607, และ ท่านมุหมมัด อิบนุนัศรฺ ในหนังสือ “กิยามุรอมะฎอน” หะดีษ ั ที่ 20 สำานวนข้างต้นเป็นสำานวนจากการบันทึกของท่าน อัน-นะซาอีย์ ด้วยสายรายงานที่ถูกต้อง) ... (3). คำากล่าวที่ว่า .. “ท่า นได้ล ะหมาดที่ม ัส ยิด และ ประชาชนได้ล ะหมาดพร้อ มท่า น ปรากฏว่า ท่า นได้ ละหมาดพร้อ มกับ พวกเขา 8 ร่อ กาอัต แล้ว ประชาชนได้ก ลับ ไปทำา อย่า งสมบูร ณ์ท ี่บ ้า นของ พวกเขาในส่ว นที่เ หลือ (คือ อีก 12 ร่อ กาอัต และวิเ ตรฺ อีก 3 ร่อ กาอัต ) ซึ่ง ปรากฏว่า เสีย งดัง กระหึ่ม ไปทั่ว เสมือ นกับ เสีย งของผึ้ง ) รายงานโดยบุค อรีม ุส ลิม ...
  • 17. 17 ชีแจง ้ ข้อความข้างต้นนี้ กล่มทุนติญารียะห์และกลุ่มครูฟัรฺฎู อีนได้แปลมาจากหนังสือฟิกฮ์ 4 มัษฮับเล่มที่ 1 หน้า 341 ซึ่ง มีข้อความเป็นภาษาอาหรับว่า ... ،‫وصلى الناس بصل ْيَِته فيها، وكان يصلى بهم ثمان ركعات‬ ٍ َ َ َ ِ‫ّ أ ُ ْيِ َ ْيِ ْيِ ُتْ َ َ َ َ أ ُ َ ىِّ ُتْ ْيِ ْيِ ُتْ َ َ ْي‬ َّ َ ‫ويكملون باقيها فى بيوتهم، فكان َيسمع لهم أ َزيز كأزيز النحُتْل‬ ِ‫َ أ ُ َ ىِّ أ ُ ُتْ َ َ ْيِ َ َ ْيِ ُتْ أ ُ أ ُ ُتْ ْيِ ْيِ ُتْ َ َ أ ُ ُتْ َ أ ُ َ أ ُ ُتْ ْيِ ُتْ ٌ َ َ ْيِ ُتْ ْيِ ّ ْي‬ ... แม้การแปลของท่านจะถูกต้อง แต่ผมขอเรียนชี้แจงว่า ข้อความข้างต้นนี้ ถือเป็นการอ้างรายงานที่ “มัว ” ที่สุดของ ่ หนังสือฟิกฮ์ 4 มัษฮับเล่มนี้ ... เพราะข้อความดังกล่าวทั้งหมด – โดยเฉพาะตั้งแต่คำา กล่าวที่ว่า .. ท่านได้ละหมาดพร้อมกับพวกเขา 8 ร่อกาอัต แล้ว ประชาชนได้ก ลับ ไปทำา อย่า งสมบูร ณ์ท ี่บ ้า น ของพวกเขาในส่ว นที่เ หลือ ซึง ปรากฏว่า มีเ สีย งดัง ่ กระหึ่ม ไปทั่ว เสมือ นกับ เสีย งของผึ้ง – นั้น ... ขอยืนยันว่า ข้อความที่ผมลงตัวหนาไว้นี้ ไม่มีปรากฏ อยู่ในส่วนไหนและตอนใดในหะดีษของท่านบุคอรีย์และ ท่านมุสลิมแม้แต่นิดเดียว ... อย่าว่าแต่ในตำาราหะดีษบุคอรีย์และมุสลิมเลย แม้แต่ ในตำาราหะดีษที่เชื่อถือได้เล่มอื่นๆ อาทิเช่นอบูดาวูด, อัน- นะซาอีย์, อัต-ติรฺมีซย์, อัล-มุวัฏเฏาะอ์, มุสนัดอิหม่ามอะห์ ี มัด, อิบนุมาญะฮ์ เป็นต้น ก็ไม่ปรากฏมีข้อความข้างต้นนี้ เช่นเดียวกัน ... ผมจึงสงสัยว่าท่านอัล-ญะซะรีย์เอาข้อความดังกล่าวนี้ จากตำาราหะดีษเล่มใดมาระบุในหนังสือฟิกฮ์ 4 มัษฮับของ ท่าน ??? ... ผมขออธิบายรายละเอียดของข้อความข้างต้นนี้เพิ่ม เติม 2 ประการด้วยกันคือ ... ประการที่ 1 ในหนังสือหะดีษบุคอรีย์และมุสลิมบทที่ กล่าวถึงการออกมานมาซญะมาอะฮ์พร้อมกับบรรดาเศาะ หาบะฮ์ใน 3 คืนดังกล่าวของท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ วะซัลลัมทุกบท ไม่ม ีบ ทใดกล่า วถึง จำา นวนร็อ กอะฮ์ท ี่
  • 18. 18 ท่า นนบีย ์น ำา นมาซพวกเขาเลยว่า ท่า นทำา 8 ร็ อกอะฮ์,..นอกจากเราได้ทราบจำานวนร็อกอะฮ์ดังกล่าวนั้น จากการบันทึกของท่านมุหัมมัด อิบนุนัศร์ในหนังสือ “กิยามุ รอมะฎอน” หะดีษที่ 22, ท่านอิบนุคุซัยมะฮ์ หะดีษที่ 1070, และท่านอัฏ-ฏ็อบรอนีย์ในหนังสือ “อัล-มุอฺญัม อัศ-เศาะฆีรฺ” หะดีษที่ 525 โดยรายงานมาจากท่านญาบิรฺ บินอับดุลลอฮ์ ร.ฎ.ว่า ... ِ‫أ ُ َ َ ُتْ ْيِ َ َ ّ َ ْيِ ُتْ ُتْ ْي‬ ‫صلى بنا رسول ا صلى ا عليه وسلم فى شَهر‬ ّ َ ِ‫َ ّ ْيِ َ َ أ ُ ُتْ أ ُ ْي‬ ‫رمضان ثمان ركعات وأ َوتر‬ َ َ ْ‫َ َ َ َ َ َ ْيِ َ َ َ ٍ َ ُت‬ “ท่านรอซู้ลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมได้นำา นมาซพวกเราในเดือนรอมะฎอน (หมายถึงนมาซตะรอเวี๊ ยะห์) 8 ร็อ กอะฮ์, และท่า นก็ท ำา นมาซวิต รี่” ... หะดีษบทนี้ แม้สายรายงานจะเฎาะอีฟ แต่ข้อความ ของมันถือว่าถูกต้องเพราะได้รับการยืนยันจากรายงาน ของท่านหญิงอาอิชะฮ์ ร.ฎ. ที่ผ่านมาแล้วตอนต้น ... และคำาว่า “และท่า นก็ท ำา นมาซวิต รี่” ตามรูปการณ์ แล้วแสดงว่าท่านญาบิรฺ บินอับดุลลอฮ์ ร.ฎ.เห็นท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมทำา นมาซวิต รี่ท ี่ม ัส ญิด ไม่ใช่ กลับไปทำาที่บ้าน ... ประการที่ 2 คำาว่า ‫ أ َزيز‬แปลว่า เสียงหึ่ง, เสียงครืดๆ, ٌ ْ‫ْيِ ُت‬ เสียงครางเบาๆ .. และคำาว่า ُ ْ‫ الن ُت‬แปลว่า ผื้ง ... ‫َ ّحل‬ เมื่อเอาทั้ง 2 คำานี้มารวมกันเป็น ‫ أ َزيزالنحل‬จึงมีความ ِ‫ْيِ ُتْ أ ُ ّ ُتْ ْي‬ หมายว่า เสีย งหึ่ง ๆของผึ้ง ... ซึงคำาว่า ‫ أ َزيزالنحل‬ที่แปลว่า “เสียงหึ่งๆของผื้ง” นี้ ผม ่ ِ‫ْيِ ُتْ أ ُ ّ ُتْ ْي‬ ไม่เคยเจอว่าจะมีบันทึกในตำาราหะดีษเล่มใดเช่นเดียวกัน ... ที่เจอในตำาราหะดีษก็คือสำานวนที่ว่า ‫ أَزيزالمرجل‬ซึง ِ‫ْيِ ُتْ أ ُ ُتْ ْيِ ُتْ َ ْي‬ ่ แปลว่า เสีย ง(นำ้า )เดือ ดในกาต้ม นำ้า .. ดังบันทึกของท่าน อัน-นะซาอีย์ ในหนังสือ “อัส-สุนัน” หะดีษที่ 1213, และท่า
  • 19. 19 นอิหม่ามอะห์มดในหนังสือ “อัล-มุสนัด” เล่มที่ 4 หน้า 25. ั ... และอีกสำานวนหนึ่งก็คือ ‫ أَزيزالرحى‬ซึ่งแปลว่าเสีย ง َ ّ ُ ‫ْيِ ُتْ أ‬ ของเครื่อ งโม่แ ป้ง .. จากการบันทึกของท่านอบูดาวูด หะ ดีษที่ 904 ... จาก 2 สำานวนข้างต้นนี้ ไม่ใช่เป็นการกล่าวถึง “เสีย ง” การนมาซตะรอเวี๊ยะห์ที่บ้านของบรรดาเศาะหาบ ะฮ์ .. แต่เป็นการกล่าวเปรียบเทียบของเศาะหาบะฮ์ต่อ “เสีย งร้อ งไห้” ของท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัม ขณะกำาลังนมาซ(ในบางครั้ง)ว่า ท่านสะอื้นในอก ฟังคล้าย เสียงนำ้าเดือดในหม้อต้มหรือเสียงคล้ายการโม่แป้ง ... และอีกสำานวนหนึ่งที่มีปรากฏในหะดีษก็คือ ‫دوى النحل‬ ِ‫َ ْيِ ّ ّ ُتْ ْي‬ ซึงแปลว่า เสีย งหึ่ง ของผึ้ง เช่นเดียวกัน ... ่ สำานวนนี้มีบันทึกในหนังสือ “อัส-สุนัน” ของท่านอัด- ดาริมย์ หะดีษที่ 5, 7, และท่านอิหม่ามอะห์มด เล่มที่ 1 หน้า ี ั 34, เล่มที่ 4 หน้า 268, 271 ... แต่สำานวนหลังนี้ในบรรดาหะดีษที่ผมระบุการบันทึก มาดังข้างต้นก็ไม่ใช่เป็นเรื่อง “เสีย งกระหึ่ม ” ของการ นมาซตะรอเวี๊ยะห์ที่บ้านของเศาะหาบะฮ์เช่นเดียวกัน ... สรุปแล้ว ข้ออ้างเรื่องการกลับไปทำานมาซตะรอเวี๊ยะห์ ต่อที่บ้าน(จนสมบูรณ์)ของท่านนบีย์และเศาะหาบะฮ์ดังที่มี ระบุในหนังสือฟิกฮ์ 4 มัษฮับและกองทุนติญารียะฮ์ จึงเป็น ข้ออ้างที่ปราศจากข้อมูลหลักฐานโดยสิ้นเชิง ... และเมื่อเราพิจารณาข้อความจากรายงานของท่าน อัน-นุอฺมานบินบะชีรฺ ร.ฎ.ที่เพิ่งผ่านมาจากหน้า 13 ก็จะเป็น สิ่งยืนยันถึงความไม่ถูกต้องของข้ออ้างข้างต้นได้ชัดเจนยิ่ง ขึน เพราะหะดีษบทนี้ระบุว่า ท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิ ้ วะซัลลัม ได้ออกมานำานมาซตะรอเวี๊ยะห์แก่เศาะหาบะฮ์ ของท่านเพียง 3 คืนเท่านั้น คือ ... คืนที่ 23 ท่านนบีย์นำาพวกเขานมาซจนถึง 4 ทุม ... ่
  • 20. 20 ซึงตามรูปการณ์แล้วเป็นการนมาซเสร็จพร้อมกันที่ ่ มัสญิดทั้งหมดดังที่ได้อธิบายผ่านมาแล้ว เพราะไม่มี รายงานเพิ่มเติมว่าพวกเขากลับไปทำานมาซต่อที่บ้านอีก ... คืนที่ 25 ท่านนบีย์นำานมาซพวกเขาจนเสร็จพร้อมกัน ในตอนเที่ยงคืนโดยไม่มีผู้ใดกลับไปทำานมาซต่อที่บ้านอีก เช่นเดียวกัน เพราะถูกท่านนบีย์ “ปราม” เอาไว้ .. ดังหลัก ฐานที่กำาลังจะถึงต่อไป ... และคืนที่ 27 ท่านนบีย์ก็นำาพวกเขานมาซจนเกือบถึง เวลาซะหูรฺ ซึ่งเป็นไปไม่ได้ที่จะมีใครกลับไปทำานมาซต่อที่ บ้านทันถึง 15 ร็อกอะฮ์ ... เพราะฉะนั้น คำาอธิบายของกลุ่มทุนติญารียะฮ์อย่าง เป็นตุเป็นตะที่ว่า .. แล้วประชาชนได้กลับไปทำาอย่าง สมบูรณ์ที่บ้านของพวกเขาในส่วนที่เหลือ (คือ อีก 12 ร่อ กาอัต และวิเ ตรอีก 3 ร่อ กาอัต ) .. นั้น ... ผมอยากทราบว่าคำาอธิบายข้างต้นนี้ พวกท่านเอา หลักฐานมาจากตำาราหะดีษที่ถูกต้องเล่มใด ??? ... ต่อไปนี้คือหลักฐานจากคำากล่าวของผมข้างต้นที่ว่า ท่านนบีย์ได้ “ปราม ” บรรดาเศาะหาบะฮ์ของท่านจากการ นมาซอื่นใดอีก หลังจากที่พวกเขาได้นมาซตะรอเวี๊บะห์ เสร็จสมบูรณ์พร้อมกับท่าน(หรือพร้อมกับอิหม่ามของเขา) ทีมัสญิดแล้ว ... ่ ท่านอบูซัรฺร์ อัล-ฆิฟารีย์ ร.ฎ.ได้รายงานมาว่า ... َ ِ‫أ ُ َ َ ُتْ ْيِ َ َ ّ َ َ ّ َ َ ُتْ ٌ ْي‬ ‫صمنا، ولم يصل بنا صلى ا عليه وسلم حتى بقْيِى سَبع من‬ ّ َ َ ِ‫أ ُ ُتْ َ َ َ ُتْ أ ُ َ ىِّ ْي‬ ‫الشهر، فقام بنا حتى ذهب ثلث الليل، ثم لم يقأ ُم بنا فى‬ ِ‫ّ ُتْ ْيِ َ َ َ ْيِ َ َ ّ َ َ َ أ ُ أ ُ أ ُ ّ ُتْ ْيِ أ ُ ّ َ ُتْ َ ُتْ ْيِ َ ْي‬ : ‫السادسة، وقام بنا فى الخامسة حتى ذهب شَطر الليل، فقلُتْنا‬ َ ُ ‫ُتْ أ ُ ّ ُتْ ْيِ َ أ‬ َ َ َ ّ َ ِ‫ُتْ َ ْيِ َ ْي‬ ِ‫ّ ْيِ َ ْيِ َ َ َ ْيِ َ ْي‬ َ َ َ َ ْ‫َ َ أ ُ ُتْ َ ْيِ َ ُتْ َ ّ ُتْ َ َ َ ْيِ ّ َ َ ُتْ َ ْيِ َ َ ْيِ َ َ َ ّ أ ُ َ ُت‬ ‫يا رسول ا! لو نفلتنا بقية ليلتنا هذْيِه؟ فقال : إ ْيِنه من قام مع‬ ٍ َ ْ‫ُتْ َ ْيِ َ ّ َ ُتْ َ ْيِ َ أ ُ ْيِ َ َ أ ُ ْيِ َ أ ُ َ ُت‬ ‫.... الْيِمام حتى ينصرف كتب له قيام ليلة‬ “พวกเราถือศีลอด และท่านรอซู้ลุลลอฮ์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมก็ไม่เคยนำาเรานมาซ จนกระทั่ง เหลืออีก 7 วันของเดือนนั้น (คือจนถึงคืนที่ 23 ของเดือนรอ มะฎอน) ท่านจึงนำาพวกเรานมาซจนถึงหนึ่งในสามของคืน (คือถึงประมาณ 4 ทุม), แล้วท่านก็ไม่นำาเรานมาซในคืนที่ 6 ่
  • 21. 21 (ที่ยงเหลือ) แต่ท่านได้นำาเรานมาซอีกในคืนที่ 5 (ที่ยง ั ั เหลือ)จนผ่า นไปครึ่ง คืน พวกเราจึงกล่าวว่า ..โอ้ ท่า น รอซู้ล ุล ลอฮ์, สมมุต ิถ ้า ท่า นจะอนุญ าตให้เ รา นมาซ(หรือ นำา เรานมาซ )ในครึ่ง คืน ที่เ หลือ นี้ข องเรา (จะได้หรือไม่?) ท่านจึงตอบว่า .. “แท้จ ริง ผู้ใ ดที่น มาซ พร้อ มกับ อิห ม่า มจนเสร็จ สิ้น เขาก็จ ะถูก บัน ทึก (ผล บุญ) ให้เ ท่า กับ ได้น มาซทั้ง คืน อยู่แ ล้ว ” ... (บันทึกโดย ท่านอบูดาวูด หะดีษที่ 1378, ท่านอัน-นะ ซาอีย์ หะดีษที่ 1604, ท่านอัต-ติรฺมีซย์ หะดีษที่ 806, ท่านอิ ี บนุมาญะฮ์ หะดีษที่ 1327, ท่านอิบนุอบีย์ชัยบะฮ์ เล่มที่ 2 หน้า 286, ท่านอัฏ-เกาะหาวีย์ในหนังสือ “ชัรฺหุมะอานีย์ อัล-อาษารฺ” เล่มที่ 1 หน้า 349, ท่านอัล-บัยฮะกีย์ เล่มที่ 2 หน้า 494, ท่านอิบนุคุซัยมะฮ์ หะดีษที่ 2206 และท่านมุหัม มัด อิบนุนัศร์ ในหนังสือ “กิยามุรอมะฎอน” หะดีษที่ 17) ... หะดีษที่ถูกต้องบทนี้ เป็นหลักฐานหลายอย่างคือ ... 1. บรรดาเศาะหาบะฮ์ได้นมาซตะรอเวี๊ยะฮ์ในลักษณะ ญะมาอะฮ์ เสร็จสิ้นในมัสญิดพร้อมกับท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะวัลลัมแล้ว โดยไม่ได้กลับไปทำาต่อที่ บ้านอีกดังข้ออ้างของกลุ่มทุนติญารียะห์ .. ข้อนี้เราทราบได้จากคำากล่าวของท่านนบีย์ที่กล่าวแก่ พวกเขาว่า .. “แท้จริงผู้ใดนมาซพร้อมกับอิหม่ามจนเสร็จ สิ้น แล้ว ..........” 2. บรรดาเศาะหาบะฮ์กระหายที่จะได้รับผลบุญเพิ่ม เติมจากการทำานมาซในเวลาที่ยังเหลืออีกครึ่งคืน จึงไปขอ อนุญาตต่อท่านนบีย์ เพื่อให้ท่านอนุญาต, หรือมิฉะนั้นก็ให้ ท่านนำาพวกเขาทำานมาซสุนัตต่อไปอีก ... (คำาว่า ‫ نفّلتنا‬อาจมีความหมายว่า ให้ท่านอนุญาตพวก َ َ ْ‫َ ُت‬ เราทำานมาซสุนัตต่อไป ก็ได้, หรือจะแปลว่า ให้ท่านนำา พวกเรานมาซสุนัตต่อไป ก็ได้ ดังคำาอธิบายในหนังสือ “ชัรฺหุ มะอานีย์ อัล-อาษารฺ” เล่มที่ 1 หน้า 349) ... กรณีนี้จึงคล้ายกับมุสลิมบางคนในปัจจุบันที่หลังจาก ผ่านการนมาซตะรอเวี๊ยะห์พร้อมกับอิหม่ามที่มัสญิดเสร็จ
  • 22. 22 แล้ว ก็ยังกลับไปทำานมาซต่อที่บ้านอีกในส่วนที่เหลือของ คืน --โดยเรียกนมาซตอนหลังนี้ว่า กิยามุ้ลลัยล์บ้าง, นมาซ ตะฮัจญุดบ้าง ... แน่ละ เป้าหมายของบรรดาเศาะหาบะฮ์และพวกเขา ตรงกัน คือ “หวัง ผลบุญ เพิ่ม เติม ” จากการทำานมาซใน ส่วนที่เหลือของคืน ... ต่างกันที่ว่าบรรดาเศาะหาบะฮ์ไม่กล้าทำาไปโดย พลการ .. ทว่า, ต้องขออนุญาตจากท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมเสียก่อน ... แต่ประชาชนบางคนในปัจจุบันนี้คิดเอง, ทำาเอง ..โดย ไม่ต้องขออนุญาตจากใคร 3. คำาพูดของท่านนบีย์ ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะซัลลัมที่ กล่าวเมื่อถูกบรรดาเศาะหาบะฮ์ขออนุญาตทำานมาซต่อด้วย คำาพูดที่ว่า .. “แท้จ ริง ผู้ใ ดที่น มาซพร้อ มกับ อิห ม่า ม จนเสร็จ สิ้น เขาก็จ ะถูก บัน ทึก ผลบุญ ให้เ ท่า กับ ได้ นมาซทัง คืน อยู่แ ล้ว ” .. ก็คือ “การปราม” อย่างนิ่มๆต่อ ้ เศาะหาบะฮ์ของท่านจากการทำานมาซสุนัตใดอีกหลังจากที่ เขาได้นมาซตะรอเวี๊ยะห์และนมาซวิตรี่เสร็จสิ้นพร้อม อิหม่ามทีมัสญิดแล้ว ด้วยการแจ้งเหตุผลว่า ผู้ที่นมาซใน ่ ลักษณะดังกล่าว จะได้ร ับ ผลบุญ เท่า กับ นมาซทั้ง คืน อยู่แ ล้ว จึงไม่จำาเป็นต้องกลับไปทำานมาซใดๆในคืนนั้นอีก ... จึงขอแนะนำาให้ผู้ที่กลับไปทำานมาซที่เรียกกันเองว่ากิ ยามุ้ลลัยล์ (?) ต่อที่บ้านหลังจากนมาซตะรอเวี๊ยะห์เสร็จ พร้อมกับอิหม่ามที่มัสญิดแล้ว ควรพิจารณาว่า การกระทำา ของพวกท่านดังกล่าวนี้ เป็นการฝ่าฝืนการ “ปราม” ของ ท่านนบีย์หรือไม่ ? ... (4). คำากล่าวที่ว่า .. “จากเหตุก ารณ์ต รงนี้ บรรดา ซอฮาบะฮ์จ ึง ถือ ว่า การละหมาดต้า รอเวี๊ย ะนั้น จึง เป็น แบบฉบับ ของท่า นนบี แต่ไ ม่ไ ด้ม ีก ารละหมาด จำา นวน 20 ร่อ กาอัต อย่า งเปิด เผย เสมือ นสมัย ของ
  • 23. 23 ท่า นอุม ัร และบุค คลหลัง จากท่า นอุม ัร จนถึง ปัจ จุบ ัน .....” ชีแจง ้ คำาพูดที่ว่า .. บรรดาเศาะหาบะฮ์ถือว่าการนมาซตะรอ เวี๊ยะห์นั้น เป็นแบบฉบับของท่านนบีย์ .. เป็นคำาพูดที่ถูกต้อง ... แต่คำากล่าวที่ว่า .. แต่ไม่ได้มีการละหมาดจำานวน 20 ร็ อกอะฮ์อย่างเปิดเผยเหมือนสมัยของท่านอุมัรฺ ... เป็นคำาพูด ทีขัดแย้งกับหลัก ฐานที่ถ ูก ต้อ ง ซึงถูกรายงานมาจากคำา ่ ่ สั่งของท่านอุมัรฺ อิบนุ้ลค็อฏฏอบ ร.ฎ. เอง และการปฏิบัติ ของประชาชนในสมัยของท่าน ... ท่านอิหม่ามมาลิก ได้บันทึกในหนังสือ “อัล-มุวัฎ เฎาะอ์” เล่มที่ 1 หน้า 105 หรือหะดีษที่ 249, โดยรายงาน มาจากท่า นมุห ัม มัด บิน ยูซ ุฟ ซึงรายงานมาจากน้าชาย่ ของท่านคือท่า นอัซ -ซาอิบ บิน ยะซีด ร.ฎ.ว่า ... ‫أ َمر عمر بن الخطاب أ أ ُبى بن كعب وَتميما الدارى أ َن يقأ ُوما‬ َ ْ‫َ َ أ ُ َ أ ُ ُتْ أ ُ ُتْ َ ّ ْيِ ّ َ ُتْ َ َ ُتْ ٍ َ ْيِ ً ّ ْيِ ّ ُتْ َ ُت‬ ً َ ْ‫َ ُتْ َ َ ُت‬ ‫للناس بإحدى عشرةَ ركعة‬ َ ْ‫ْيِ ّ ْيِ ْيِ ْيِ ُت‬ “ท่านอุมัรฺ อิบนุ้ลค็อฏฏอบได้ใช้ท่านอุบัยย์ บินกะอฺบ์ และท่านตะมีม อัด-ดารีย์ใ ห้ท ั้ง สองนำา นมาซ (ตะรอเวี๊ ยะห์)แก่ป ระชาชน 11 ร็อ กอะฮ์” ... ท่านอัส-สะยูฏีย์ได้กล่าวในหนังสือ “อัล-มะศอเบี๊ยะห์ ฟีศ่อลาติตตะรอเวี๊ยะห์” ซึงรวมชุดอยู่ในหนังสือ “อัล-หา ่ วีย์ ลิ้ลฟะตาวีย์” เล่มที่ 1 หน้า 542 ว่า ... ْ‫ُتْ أ ُ َ ّ ْيِ َ ْيِ ُتْ أ ُ َ ّ ْيِ َ ْيِ ُتْ ْيِ ُتْ ْيِ َ ُتْ أ ُ ُتْ ٍ ْيِ َ ٍ ْيِ ُت‬ ‫ولكن فى الموطأ وفى مصنف سعيد بن منصور ب سَ ن د ف ى‬ ِ‫َ َ ْيِ ُتْ ْي‬ ً َ ْ‫َ ُتْ َ َ َ ُت‬ ‫... غا ي ة ال ص ح ة عن السائب بن يزيد إ ْيِحدى عشرة ركعة‬ َ ْ‫ّ ْيِ ْيِ ُتْ ْيِ َ ْيِ ُتْ َ ُت‬ ْ‫ىِّ ّ ْيِ َ ُت‬ ِ‫َ َ ْي‬ “แต่ .. มีปรากฏในหนังสืออัล-มุวัฎเฎาะอ์(ของท่าน อิหม่ามมาลิก) และหนังสืออัล-มุศ็อนนัฟของท่านสะอีด บิ นมันศูรฺ “ด้ว ยสายรายงานที่ถ ูก ต้อ งสุด ๆ ” (จากท่า นมุหัมมัด บินยูซุฟ) จากท่านอัซ-ซาอิบ บินยะซีด(ที่ กล่าว)ว่า (ท่านอุมัรฺ อิบนุ้ลค็อฏฏอบได้ใช้ให้ท่านอุบัยย์ บิ นกะอฺบ์และท่านตะมีม อัด-ดารีย์นำาประชาชนนมาซ) 11 ร็ อกอะฮ์” ...
  • 24. 24 รายงานเรื่อง 11 ร็อกอะฮ์ จึงถือเป็นรายงานที่ “ถูก ต้อ งที่ส ุด ” จากคำาสั่งของท่านอุมัรฺในกรณีนี้ ... อนึ่ง อีกรายงานหนึ่งของท่านอิหม่ามมาลิก, จากท่าน ยะซีด บินรูมานที่กล่าวว่า َ َ َ ْ‫ُت‬ ‫كَان النّاس يَقومون فْيِى زَمن عأ ُمر بُتْن الُتْخطاب فْيِى رَمضان‬ ِ‫ُتْ َ ْيِ َ َ ْيِ َ ّ ْي‬ َ ْ‫أ ُ أ ُ ُتْ أ ُ ُت‬ َ ً َ ْ‫ْيِ َ ٍ ْيِ ُتْ ْيِ ُتْ َ ُت‬ ‫بثل َث وَعشرين رَكعة‬ “ประชาชนในสมัยของท่านอุมัรฺ อิบนุ้ลค็อฏฏอบ ได้ ทำานมาซ(ตะรอเวี๊ยะห์) ในเดือนรอมะฎอน 23 ร็อ กอะฮ์” ... (บันทึกโดยท่านอิหม่ามมาลิกในหนังสือ “อัล-มุ วัฏเฏาะอ์” เล่มที่ 1 หน้า 105 และท่านอัล-บัยฮะกีย์ใน หนังสือ “อัส-สุนัน อัล-กุบรออ์” เล่มที่ 2 หน้า 496)) ... ท่านอิหม่ามนะวะวีย์ได้กล่าวในหนังสือ “อัล-มัจญมั๊ วะอฺ” เล่มที่ 4 หน้า 33 ว่า َ َ ُ ‫َ ْيِ ُتْ ُتْ أ ُ أ ُ ُتْ َ َ َ ُتْ أ ُ ُتْ ْيِ ُتْ أ‬ ‫يزيدأ ُ بن رومان لم يدرك عمر‬ “ยะซีด บินรูมาน (เกิด)ไม่ทันท่านอุมัรฺ ... ความหมายคำากล่าวข้างต้นนี้ก็คือรายงานข้างต้นนี้ เป็น รายงานที่เ ฎาะอีฟ เพราะสายรายงานขาดตอน ! เนื่องจากท่านยะซีด บินรูมานผู้อ้างรายงานดังกล่าวเกิด ไม่ทันยุคของท่านอุมัรฺ อิบนุ้ลค็อฏฏอบ ร.ฎ. ... (ท่านอุมัรฺสิ้นชีวิตปีฮ.ศ. 23, ส่วนท่านยะซีด บินรูมาน สิ้นชีวิตปีฮ.ศ. 130) ... และสำาหรับคำากล่าวของท่านอิหม่ามนะวะวีย์ใน หนังสือ “อัล-มัจญมั๊วะอฺ” ที่ว่า ِ‫ْيِ ُتْ ْي‬ ‫واحتج أَصحابنا بْيِما رَواه الُتْبيهقى وَغيرهأ ُ بْيِالْيِسُتْناد الصّحيح‬ ِ‫َ ْي‬ ْ‫َ ُتْ َ ّ ُتْ َ أ ُ َ َ َ أ ُ َ ُتْ َ ْيِ ّ َ ُتْ أ ُ ُت‬ ‫عَن السّائب بُتْن يزيد الصّحابى رَضى ا عَنه قَال : كَانوا‬ ْ‫أ ُ ُت‬ َ ُ ‫ْيِ َ أ ُ ُتْ أ‬ ِ‫َ ْي‬ َ ْ‫ْيِ ْيِ ْيِ َ ْيِ ُت‬ ِ‫ْي‬ ْ‫ُت‬ ‫يقومون عَلى عَهد عأ ُمر بن الُتْخطاب رَضى الله عنه فْيِى‬ ُ ‫ُتْ ْيِ َ َ ُتْ ْيِ َ ّ ْيِ ْيِ َ أ ُ َ ُتْ أ‬ َ َ ْ‫َ أ ُ ُتْ أ ُ ُت‬ ً َ ْ‫ُتْ ْيِ َ َ َ َ ْيِ ْيِ ُتْ ْيِ ُتْ َ ُت‬ ‫........ شَهررمضان بعشرين رَكعة‬ “บรรดาอัศหาบของเรา (คือนักวิชาการมัษฮับท่าน อิหม่ามชาฟิอีย์) ได้อ้างหลักฐานจากการรายงานของท่า