SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
NEO PHYSICS CENTER อ. พิสิฏฐ วัฒนผดุงศักดิ์
โจทย
แรงในสนามไฟฟา www.neophysics.net 0-2669-51111
แรงในสนามไฟฟา
01. ถามีลูกพิท 3 ลูก เมื่อทดลองนําลูกพิทเขาใกลกันทีละคูจนครบ 3 คู ปรากฏวา แรงกระทําระหวางลูกพิททั้ง 3 คูเปนแรงดึงดูด
ขอสรุปตอ ไปนี้ขอใดถูกตองที่สุด
3
1. ลูกพิท 3 ลูกตางมีประจุไฟฟา
2. ลูกพิทลูกหนึ่งมีประจุไฟฟาสวนอีก 2 ลูกไมมี
3. ลูกพิท 2 ลูกมีประจุไฟฟาชนิดเดียวกัน สวนลูกที่เหลือไมมีประจุ
4. ลูกพิท 2 ลูกมีประจุไฟฟาชนิดตรงขามกัน สวนลูกที่เหลือไมมีประจุ
02. เมื่อนําสาร ก. มาถูกับสาร ข. พบวาสาร ก. มีประจุไฟฟาเกิดขึ้น สาร ก. ตองเปนสารประเภทใด
1. ตัวนํา 2. ฉนวน 3. กึ่งตัวนํา 4. โลหะ
03. เมื่อนําวัตถุชิ้นหนึ่งถูกับผาแพร แลวนํามาจอกับเศษกระดาษที่เปนกลางทางไฟฟา ปรากฏวาเศษกระดาษถูกดูด แสดงวา
1. วัตถุมีประจุไฟฟาบวก 2. วัตถุมีประจุไฟฟาลบ
3. วัตถุขาดอิเล็กตรอนไปหรือรับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น 4. ขอมูลไมเพียงพอ
04. A, B และ C เปนแผนวัตถุ 3 ชนิดที่ทําใหเกิดประจุไฟฟาโดยการถู ซึ่งไดผลดังนี้ A และ B ผลักกัน สวน A และ C ดูดกัน
ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1. A และ C มีประจุบวก แต B มีประจุลบ 2. B และ C มีประจุลบ แต A มีประจุบวก
3. A และ B มีประจุบวก แต C มีประจุลบ 4. A และ C มีประจุลบ แต B มีประจุบวก
05. ทรงกลมตัวนําเบา A และ B มีสภาพเปนกลางทางไฟฟาวางชิดกันอยูบนพื้นฉนวนเกลี้ยง ถาใหประจุชนิดหนึ่งกับทรงกลม
A โดยการสัมผัสแลว ทรงกลมทั้งสองจะวางตัวลักษณะใด
1. เคลื่อนที่ออกจากกัน 2. เคลื่อนที่ตามกัน 3. หยุดนิ่งเหมือนเดิม 4 ยังสรุปอะไรไมได
06. จากรูปถาแยก A และ B ออกจากกันแลวนํา C ออกไป ผลที่ได คือ
1. ทั้ง A และ B จะไมมีประจุ 2. A มีประจุบวก B มีประจุลบ
3. A มีประจุลบ B มีประจุบวก 4. A และ B มีประจุลบ
A B
+ +
+ + + + +
+
++
+
+
C
07. วัตถุ A มีประจุไฟฟาบวกอิสระ ตัวนํา B และ C หอยจากฉนวนไฟฟา ตามรูป x นําวัตถุ A เขาไปใกลตัวนํา B และ C ซึ่ง
สัมผัสกันอยู รูป y แสดงการแยกวัตถุ B และ C ออกจากกัน รูป Z ยกวัตถุ A ออกไปใหเหลือแต B และ C ตัวนํา B
และ C จะมีประจุชนิดใด
BA
++
+
+
+
++
C A
++
+
+
+
++
B C B C
ÃÙ» x รูป y รูป z
1. B มีประจุบวก และ C มีประจุบวก 2. B มีประจุลบ และ C มีประจุลบ
3. B มีประจุบวก และ C มีประจุลบ 4. B มีประจุลบ และ C มีประจุบวก
NEO PHYSICS CENTER อ. พิสิฏฐ วัฒนผดุงศักดิ์
08. โลหะทรงกระบอกยาวปลายมนเปนกลางทางไฟฟา ตั้งอยูบนฐานที่เปนฉนวน ถานําประจุบวกขนาดเทากันมาใกลปลายทั้ง
สองขางพรอมกัน โดยระยะหางจากปลายเทากัน การกระจายของประจุบนสวน A, B และ C ของทรงกระบอกเปนอยางไร
A B C+ + 1. A และ C เปนลบ แต B เปนกลาง
2. A และ C เปนกลาง แต B เปนบวก
3. A และ C เปนบวก แต B เปนลบ
4. A และ C เปนลบ แต B เปนบวก
09. เมื่อนําแผนพีวีซีที่มีประจุไฟฟาลบเขาใกลลูกพิทของอิเล็กโทรสโคป ปรากฏวาลูกพิทเคลื่อนที่เขาหาแผนพีวีซี แสดงวา
ลูกพิทมีประจุชนิดใด
1. เปนกลาง 2. มีประจุบวกเทานั้น 3. มีประจุลบเทานั้น 4. อาจมีประจุหรือไมมีได
10. เมื่อนําวัตถุ A เขาใกลลูกพิทบอล P ซึ่งเปนกลาง
ตามรูปขอใดเปนไปได
A A A
รูป 1. รูป 2. รูป 3.
1. รูป 1 และ 3 2. รูป 2 และ 3
3. รูป 1 และ 2 4. รูป 1, 2 และ 3
11. เมื่อใหประจุบวกแกลูกพิท แลวแขวนหอยไวที่กึ่งกลางระหวาง A กับ B ปรากฏวาลูกพิทเบนเขาหา B ดังรูป อาจอธิบายได
ตามขอใด
A B
1. A มีประจุลบ B มีประจุบวก 2. A มีประจุบวก B มีประจุลบ
3. A มีประจุบวก B เปนกลางทางไฟฟา 4. ขอ 2 และ 3
12. ลูกบอลทองแดงทรงกลมกลวงมีเนื้อหนา 2 ซม. มีรัศมีภายนอก 3 ซม. รัศมีภายใน 1 ซม. ถาใหประจุ +3 คูลอมบ แกลูก
บอลนี้ อัตราสวนของประจุที่ผิวภายในตอประจุที่ผิวภายนอกเปนเทาไร
1. 0 : 3 2. 1 : 3 3. 1 : 9 4. 1 : 27
13. นําแผนพีวีซีที่มีประจุเขาใกลลูกพิท 2 ลูก ที่แขวนอยูโดยผิวของลูกพิททั้งสองสัมผัสกัน ตอมาแยกลูกพิททั้ง 2 ออกหางกัน
10 ซม. แลวจึงดึงแผนพีวีซีออก ปรากฎวาลูกพิททั้ง 2 ดูดกันดวยแรงขนาด 9×10-1 นิวตัน มีจํานวนอิเล็กตรอนเทาใดที่
เคลื่อนที่จากลูกพิทหนึ่งไปยังลูกพิทอีกลูกหนึ่ง
14. รัศมีวงโคจรของอิเล็กตรอนรอบโปรตอนในอะตอมธาตุไฮโดรเจนมีคาประมาณ 5.3×10-11 เมตร จงหา
ก. ขนาดของแรงดึงดูดระหวางประจุ ข. แรงดึงดูดระหวางมวลของประจุ
ค. อัตราสวนระหวางแรงระหวางประจุกับแรงระหวางมวล
15. ประจุขนาด +5×10-6 คูลอมบ และ -3×10-6 คูลอมบ วางอยูหางกัน 20 ซม. ถานําประจุทดสอบขนาด +1×10-6 คูลอมบ
มาวางไวที่จุดกึ่งกลางระหวางประจุทั้งสอง ขนาดและทิศทางของแรงที่กระทําตอประจุทดสอบมีคาเทาใด
16. เมื่อเอาแทงแกวซึ่งมีประจุไฟฟา 4×10-6 คูลอมบ เขาไปวางใกลกับแทงไม
คอรกสี่เหลี่ยมหนา 0.5 ซม. ถาปลอยแทงแกวหางจากไมคอรก 1 ซม. และ
เหนี่ยวนําทําใหเกิดประจุบนไมคอรกดานที่อยูไกล และใกลแทงแกวมีขนาด
1×10-13 คูลอมบ จงหาแรงระหวางแทงแกวและไมคอรกเปนแรงดูดหรือ
ผลักขนาดเปนเทาใด
+ + + +
+ + + + +
0.5cm1cm
แรงในสนามไฟฟา www.neophysics.net 0-2669-51112
NEO PHYSICS CENTER อ. พิสิฏฐ วัฒนผดุงศักดิ์
17. ตามรูป มวล A มีมวลเปน 3 เทาของ B, A มีประจุ -q และ B มีประจุ +q
ลอยนิ่งใต A เปนระยะ d จงหา
ก. น้ําหนักของ B ข. แรงตึงเชือกที่แขวนมวล A A
B
q1
q2
d
18. ทรงกลม A และ B มีประจุไฟฟา 9×10-9 และ 4×10-9 คูลอมบ ตามลําดับ
A วางอยูที่พื้น สวนลูก B ถูกผลักลอยอยูเหนือ A เปนระยะ 2 เมตร ถาลูก
B หนักเปน 2 เทาของลูก A จงหาแรงที่พื้นกระทําตอลูก A
A
B
2 m
19. สามเหลี่ยมดานเทารูปหนึ่งมีความยาวดานละ 30 ซม. และที่แตละมุมของสามเหลี่ยมนี้มีจุดประจุ +2 , -2 และ +5 ไมโครคู
ลอมบวางอยู อยากทราบวาขนาดของแรงไฟฟาบนประจุ +5 ไมโครคูลอมบมีคากี่นิวตัน
20. ประจุไฟฟาเทากันวางอยูที่จุด A, B, C โดยระยะ AB = 2 ซม., BC
= 1 ซม.ถาแรงไฟฟาที่กระทําตอ C เนื่องจาก B เทากับ 1×10-4 N
แรงไฟฟาทั้งหมดที่กระทําตอ B มีขนาดเทาใด
1cm
2 cm
A
B C
21. กราฟในรูปใดแสดงความสัมพันธระหวางแรงไฟฟาสถิต (F) กับระยะหางจากจุดประจุ (r) ไดดีที่สุด
จ.ง.ค.ข.ก.
0
F
r
0
F
r
0
F
r
F
0
r
F
0
r
P Q
L
M
O
N
22. ประจุไฟฟาขนาดเทากันวางไวที่จุด L , N และ M โดยที่ประจุที่ L และ M
เปนประจุชนิดเดียวกันและตรึงอยูกับที่ สวนที่จุด N เปนประจุชนิดตรงกัน
ขามสามารถเคลื่อนที่ได จุด O เปนจุดแบงครึ่ง LM และเสนตรง POQ
ตั้งฉากกับ LM ประจุไฟฟาที่ N จะมีการเคลื่อนที่อยางไร
1. ไปทางจุด Q 2. ไปทางจุด L 3. ไปทางจุด M 4. กลับไปกลับมาบนเสน PQ
23. จากรูป จงหาความเขมสนามไฟฟาที่จุด D
a
a
B
C
A +q
+q
+2q
D
24. จากรูป จงหาความเขมสนามไฟฟาที่จุด A A
C
0.5 m
0.5 m
B
×5 10 6C
×4 10 6C
แรงในสนามไฟฟา www.neophysics.net 0-2669-51113
NEO PHYSICS CENTER อ. พิสิฏฐ วัฒนผดุงศักดิ์
25. จุด x และ y อยูหางจากจุดประจุ q เปนระยะ 20 ซม. และ 50 ซม. ตามลําดับ ถาที่จุด x สนามไฟฟามีคาเทากับ 5 N/C
และมีทิศชี้เขาหาประจุแลว สนามไฟฟาที่จุด y จะมีขนาดเทาใดและทิศทางอยางไร
26. เครื่องบินลําหนึ่งกําลังบินที่ความสูง 2,000 m. ผานกลุมเมฆขณะเกิดฟาผา ซึ่งที่ความสูง 3,000 m. ภายในกอนเมฆ จะมี
ประจุ +40.0 C และ -40.0 C ที่ความสูง 1,000 m. จงหาสนามไฟฟา E ที่เครื่องบิน
27. ถาถือวาโลกมีรูปรางทรงกลมซึ่งมีรัศมีเทากับ 6,400 กิโลเมตร และพบวาบริเวณใกล ๆ ผิวโลกมีความเขมสนามไฟฟาขนาด
เทากับ 100 นิวตัน/คูลอมบ จงหาปริมาณประจุไฟฟาบนผิวโลก
1. C 2. C 3. C 4. C2
109 −
× 3
105× 5
105× 5
109×
28. จากรูปเมื่อวางจุดประจุ +Q ไวที่จุด A ปรากฏวาสนามไฟฟาที่จุด P มีคา
เทากับ 0.5 N/C ถานําจุดประจุชนิด -Q มาวางไวที่จุด B โดย A , P และ B
อยูบนเสนตรงเดียวกัน สนามไฟฟาที่จุด P จะมีคาเทาใดและทิศทางอยางไร
A P B
0.1 m 0.1 m
+Q
29. ABC เปนสามเหลี่ยมดานเทามีดานยาวดานละ a ถานําประจุ +q คูลอมบ ไปวางไวที่ A และที่ B มีประจุ -q คูลอมบ จง
หาสนามไฟฟาที่เกิดขึ้นที่จุด C
30. ประจุ -1 คูลอมบ อยูที่จุด A และจุด B ซึ่งอยูหางกัน 5 เมตร ที่จุด C ซึ่ง
อยูหางจากทั้งจุด A และจุด B เปนระยะทาง 5 เมตร จะมีขนาด
สนามไฟฟาเทาใด
A B
C
5m 5m
5m
-1C -1C
31. มีประจุไฟฟาบวก 2 ประจุ ขนาด 4×10-6 C และ 9×10-6 C วางอยูหางกัน 20 ซม. จงหาวาตําแหนงที่สนามไฟฟาลัพธเปน
ศูนยที่เกิดขึ้นจะอยูหางประจุ +4×10-6 C เทาใด
32. ประจุ 4 ตัวประกอบดวย q1 , q2 , q3 และ q4 วางอยูที่มุมสี่เหลี่ยมจัตุรัสซึ่งมีความยาว
ดานละ ดังรูป ถาประจุทั้งสี่มีขนาดของประจุเทากันคือ q ในกรณีใดบางตอไปนี้ที่ทํา
ใหสนามไฟฟา ณ จุดกึ่งกลางของสี่เหลี่ยมจตุรัสมีคาเปนศูนย
q1 q2
q4q3
ก. q1 = q2 = q3 = q4 = +q ข. q1 = q2 = q3 = q4 = -q
ค. q1 = q4 = +q , q2 = q3 = -q ง. q1 = q2 = +q , q3 = q4 = -q
คําตอบที่ถูกตองคือขอใด
1. ก. 2. ก. และ ข. 3. ก.,ข. และ ค. 4. ก.,ข.,ค. และ ง.
33. ขอความในขอใดถูก
1. สนามไฟฟาที่ตําแหนงตาง ๆ ภายในตัวนําทรงกลมที่มีประจุไฟฟาจะมีคามากกวาสนามไฟฟาที่ผิวทรงกลม
2. สนามไฟฟาที่ตําแหนงตาง ๆ ภายในตัวนําทรงกลมที่มีประจุไฟฟาจะมีคาเทากันโดยตลอด และมีคาเปนศูนย
3. สนามไฟฟาที่ตําแหนงตาง ๆ ภายในตัวนําทรงกลมที่มีประจุไฟฟาจะมีคาเทากันโดยตลอด และมีคาไมเปนศูนย
4. สนามไฟฟาที่ตําแหนงติดกับผิวของตัวนําทรงกลมที่มีประจุไฟฟา จะมีคาเทากับศูนย
34. เมื่อนําประจุ -2×10-6 คูลอมบ เขาไปวางไว ณ จุดหนึ่ง ๆ ปรากฏวามีแรง 8×10-6 นิวตัน มากระทําตอประจุนี้ในทิศจาก
ซายไปขวา สนามไฟฟาจะมีขนาดเทาใดและทิศทางอยางไร
35. จงหาคาขนาดสนามไฟฟา ที่ทําใหอิเล็กตรอนมีแรงของไฟฟาเทากับน้ําหนักของมันเอง
แรงในสนามไฟฟา www.neophysics.net 0-2669-51114
NEO PHYSICS CENTER อ. พิสิฏฐ วัฒนผดุงศักดิ์
36. หยดน้ํามันหยดหนึ่งมีมวล 3.2×10-15
กิโลกรัม สามารถลอยอยูนิ่งในอากาศ ภายในสนามไฟฟาซึ่งมีทิศพุงลงตามแนวดิ่ง
ขนาด 2×104
N/C แสดงวาหยดน้ํามันนี้
1. รับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น 10 ตัว 2. เสียอิเล็กตรอนไป 10 ตัว
3. รับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น 20 ตัว 4. เสียอิเล็กตรอนไป 20 ตัว
37. ทรงกลมเล็ก ๆ มีมวล m กิโลกรัม มีประจุ +q สามารถลอยนิ่งในสนามไฟฟาสม่ําเสมอมีทิศตามแนวดิ่ง ทรงกลมไดรับแรง
ไฟฟาตามขอใด
1. mg นิวตัน ทิศพุงขึ้น 2. mg นิวตัน ทิศพุงลง 3. mq นิวตัน ทิศพุงขึ้น 4. mq นิวตัน ทิศพุงลง
38. จุด A และ B อยูภายในเสนสนามไฟฟาที่มีทิศตามลูกศรดังรูป ขอใดตอไปนี้ถูกตอง
1. วางประจุลบที่ A ประจุลบจะเคลื่อนที่ไปที่ B
แรงในสนามไฟฟา www.neophysics.net 0-2669-51115
2. วางประจุบวกลงที่ B ประจุบวกจะเคลื่อนที่ไปที่ A
3. สนามไฟฟาที่ A สูงกวาสนามไฟฟาที่ B
A B
4. สนามไฟฟาที่ A มีคาเทากับสนามไฟฟาที่ B
39. รูปที่กําหนดใหเปนบริเวณที่มีสนามไฟฟา E สม่ําเสมอ จงพิจารณาขอความตอไปนี้
ก. สนามไฟฟาที่จุด A, B และ C มีขนาดเทากัน ข. วางประจุลบลงที่ B ประจุลบจะเคลื่อนที่ไปที่ C
ค. แรงที่กระทําตอประจุ +q, +q และ -q ที่จุด A, B และ C ตามลําดับ มีขนาดเทากัน
ขอที่ถูกตองคือ
1. ขอ ก, ข และ ค 2. ขอ ข และ ค 3. ขอ ก และ ค 4. ขอ ก เทานั้น
A
B C
E
40. เมื่ออิเล็กตรอนเคลื่อนที่เขาไปในแนวตั้งฉากกับสนามไฟฟาสม่ําเสมอระหวาง
แผนคูขนานดังรูป จงเขียนเสนทางการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน
e
E
E
41. อนุภาคตัวหนึ่งมีมวล 1.6×10-27
กิโลกรัม เมื่อเคลื่อนที่เขาไประหวางแผน
คูขนานดังรูป ปรากฎวาอนุภาคนั้นมีแนวการเคลื่อนที่เบนโคงลง แตเมื่อใส
สนามไฟฟาขนาด 100 N/C ในทิศพุงขึ้นตามแนวดิ่ง ปรากฎวาแนวการ
เคลื่อนที่ของอนุภาคนั้นจะเปนแนวเสนตรง
42. ตัวนําที่อยูในสภาพสมดุลทางไฟฟาสถิต สนามไฟฟา ณ ตําแหนงใกลกับผิวตัวนําจะมีลักษณะดังขอใด
1. ตั้งฉากกับผิวตัวนํา 2. ขนานกับผิวตัวนํา
3. มีทิศทํามุม θ กับผิวตัวนํา โดยมุม θ จะขึ้นกับรูปรางของผิวตัวนํา 4. มีคาเปนศูนย
43. สนามไฟฟา ณ ตําแหนงติดกับผิวตัวนําดานนอก จะมีทิศทางใด
1. ตั้งฉากกับผิว 2. สัมผัสผิว 3. ขึ้นกับรูปรางของผิว 4. ทํามุมกับผิวนอยกวา 45°

More Related Content

Similar to 20012554 0958584524

เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์thanakit553
 
คณิตศาสตร์ M6
คณิตศาสตร์ M6คณิตศาสตร์ M6
คณิตศาสตร์ M6linnoi
 
คณิต ปี 51
คณิต ปี 51คณิต ปี 51
คณิต ปี 51phasit39910
 
4คณิตศาสตร์
4คณิตศาสตร์4คณิตศาสตร์
4คณิตศาสตร์Nontt' Panich
 
O net คณิตศาสตร์ 2552
O net คณิตศาสตร์ 2552O net คณิตศาสตร์ 2552
O net คณิตศาสตร์ 2552Justice MengKing
 
วิชา คณิตศาสตร์
วิชา คณิตศาสตร์วิชา คณิตศาสตร์
วิชา คณิตศาสตร์Chariyakornkul
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์chaikasem
 
4คณิตศาสตร์
4คณิตศาสตร์4คณิตศาสตร์
4คณิตศาสตร์Nontt' Panich
 
ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2551
ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2551ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2551
ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2551pattanan_hansuek
 

Similar to 20012554 0958584524 (20)

P15
P15P15
P15
 
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่ 15  ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่ 15 ไฟฟ้าสถิตย์
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
O net math3 y55
O net math3 y55O net math3 y55
O net math3 y55
 
คณิตศาสตร์ M6
คณิตศาสตร์ M6คณิตศาสตร์ M6
คณิตศาสตร์ M6
 
คณิต ปี 51
คณิต ปี 51คณิต ปี 51
คณิต ปี 51
 
M6 math-2551
M6 math-2551M6 math-2551
M6 math-2551
 
04math
04math04math
04math
 
คณิตศาสตร์ปี 2551
คณิตศาสตร์ปี 2551คณิตศาสตร์ปี 2551
คณิตศาสตร์ปี 2551
 
4คณิตศาสตร์
4คณิตศาสตร์4คณิตศาสตร์
4คณิตศาสตร์
 
4
44
4
 
O net คณิตศาสตร์ 2552
O net คณิตศาสตร์ 2552O net คณิตศาสตร์ 2552
O net คณิตศาสตร์ 2552
 
073895c6ba690bdd833ec8ce2065c415
073895c6ba690bdd833ec8ce2065c415073895c6ba690bdd833ec8ce2065c415
073895c6ba690bdd833ec8ce2065c415
 
1774 ad01
1774 ad011774 ad01
1774 ad01
 
O net math 2552
O net math 2552O net math 2552
O net math 2552
 
5
55
5
 
วิชา คณิตศาสตร์
วิชา คณิตศาสตร์วิชา คณิตศาสตร์
วิชา คณิตศาสตร์
 
คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์คณิตศาสตร์
คณิตศาสตร์
 
4คณิตศาสตร์
4คณิตศาสตร์4คณิตศาสตร์
4คณิตศาสตร์
 
ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2551
ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2551ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2551
ข้อสอบวิชาคณิตศาสตร์ ม.6 ปีการศึกษา 2551
 

More from ชีวิตนี้ จงอดทนในการเผชิญกับบททดสอบ

More from ชีวิตนี้ จงอดทนในการเผชิญกับบททดสอบ (20)

7 อุปนิสัยผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง.pdf
7 อุปนิสัยผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง.pdf7 อุปนิสัยผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง.pdf
7 อุปนิสัยผู้ทรงประสิทธิผลยิ่ง.pdf
 
ติวเข้ม ฟิสิกส์ ตาก.pdf
ติวเข้ม ฟิสิกส์ ตาก.pdfติวเข้ม ฟิสิกส์ ตาก.pdf
ติวเข้ม ฟิสิกส์ ตาก.pdf
 
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้วภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
ภาค ก ความประพฤติและการปฏิบัติของวิชาชีพครูผู้ช่วย2562อัพเดทแล้ว
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญาพ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา
 
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา (1)
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา (1)พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา (1)
พ.ร.บ.ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน2534และประมวลกฎหมายอาญา (1)
 
แผนภาพสรุปนักจิตวิทยา ชวนกันมาอ่านหนังสือShort clip05
แผนภาพสรุปนักจิตวิทยา ชวนกันมาอ่านหนังสือShort clip05แผนภาพสรุปนักจิตวิทยา ชวนกันมาอ่านหนังสือShort clip05
แผนภาพสรุปนักจิตวิทยา ชวนกันมาอ่านหนังสือShort clip05
 
แนวข้อสอบ พรบระเบียบข้าราชการครู2547
แนวข้อสอบ พรบระเบียบข้าราชการครู2547แนวข้อสอบ พรบระเบียบข้าราชการครู2547
แนวข้อสอบ พรบระเบียบข้าราชการครู2547
 
แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542
แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542
แนวข้อสอบ พรบการศึกษาแห่งชาติ2542
 
บริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรม
บริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรมบริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรม
บริบทโลกและเศษฐกิจพอเพียง 6 เฟรม
 
จิตวิทยา 6 เฟรม
จิตวิทยา  6 เฟรมจิตวิทยา  6 เฟรม
จิตวิทยา 6 เฟรม
 
การศึกษาภาคบังคับ ปฐมวัย รธน แผน ยุทธ (6เฟรม)
การศึกษาภาคบังคับ ปฐมวัย รธน แผน ยุทธ (6เฟรม)การศึกษาภาคบังคับ ปฐมวัย รธน แผน ยุทธ (6เฟรม)
การศึกษาภาคบังคับ ปฐมวัย รธน แผน ยุทธ (6เฟรม)
 
กฎหมายการศึกษา 6
กฎหมายการศึกษา 6กฎหมายการศึกษา 6
กฎหมายการศึกษา 6
 
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
Unit2 เอกภพและกาแล็กซี่
 
Trench final
Trench finalTrench final
Trench final
 
Kunnatam ex
Kunnatam exKunnatam ex
Kunnatam ex
 
Lesson plan electricfield
Lesson plan electricfieldLesson plan electricfield
Lesson plan electricfield
 
Checkins report
Checkins reportCheckins report
Checkins report
 
E0b8a1 6-2-e0b980e0b899e0b989e0b899e0b8a7e0b8b4e0b897e0b8a2e0b98c
E0b8a1 6-2-e0b980e0b899e0b989e0b899e0b8a7e0b8b4e0b897e0b8a2e0b98cE0b8a1 6-2-e0b980e0b899e0b989e0b899e0b8a7e0b8b4e0b897e0b8a2e0b98c
E0b8a1 6-2-e0b980e0b899e0b989e0b899e0b8a7e0b8b4e0b897e0b8a2e0b98c
 
Build your own_volcano
Build your own_volcanoBuild your own_volcano
Build your own_volcano
 
How to-use
How to-useHow to-use
How to-use
 

20012554 0958584524

  • 1. NEO PHYSICS CENTER อ. พิสิฏฐ วัฒนผดุงศักดิ์ โจทย แรงในสนามไฟฟา www.neophysics.net 0-2669-51111 แรงในสนามไฟฟา 01. ถามีลูกพิท 3 ลูก เมื่อทดลองนําลูกพิทเขาใกลกันทีละคูจนครบ 3 คู ปรากฏวา แรงกระทําระหวางลูกพิททั้ง 3 คูเปนแรงดึงดูด ขอสรุปตอ ไปนี้ขอใดถูกตองที่สุด 3 1. ลูกพิท 3 ลูกตางมีประจุไฟฟา 2. ลูกพิทลูกหนึ่งมีประจุไฟฟาสวนอีก 2 ลูกไมมี 3. ลูกพิท 2 ลูกมีประจุไฟฟาชนิดเดียวกัน สวนลูกที่เหลือไมมีประจุ 4. ลูกพิท 2 ลูกมีประจุไฟฟาชนิดตรงขามกัน สวนลูกที่เหลือไมมีประจุ 02. เมื่อนําสาร ก. มาถูกับสาร ข. พบวาสาร ก. มีประจุไฟฟาเกิดขึ้น สาร ก. ตองเปนสารประเภทใด 1. ตัวนํา 2. ฉนวน 3. กึ่งตัวนํา 4. โลหะ 03. เมื่อนําวัตถุชิ้นหนึ่งถูกับผาแพร แลวนํามาจอกับเศษกระดาษที่เปนกลางทางไฟฟา ปรากฏวาเศษกระดาษถูกดูด แสดงวา 1. วัตถุมีประจุไฟฟาบวก 2. วัตถุมีประจุไฟฟาลบ 3. วัตถุขาดอิเล็กตรอนไปหรือรับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น 4. ขอมูลไมเพียงพอ 04. A, B และ C เปนแผนวัตถุ 3 ชนิดที่ทําใหเกิดประจุไฟฟาโดยการถู ซึ่งไดผลดังนี้ A และ B ผลักกัน สวน A และ C ดูดกัน ขอใดตอไปนี้ถูกตอง 1. A และ C มีประจุบวก แต B มีประจุลบ 2. B และ C มีประจุลบ แต A มีประจุบวก 3. A และ B มีประจุบวก แต C มีประจุลบ 4. A และ C มีประจุลบ แต B มีประจุบวก 05. ทรงกลมตัวนําเบา A และ B มีสภาพเปนกลางทางไฟฟาวางชิดกันอยูบนพื้นฉนวนเกลี้ยง ถาใหประจุชนิดหนึ่งกับทรงกลม A โดยการสัมผัสแลว ทรงกลมทั้งสองจะวางตัวลักษณะใด 1. เคลื่อนที่ออกจากกัน 2. เคลื่อนที่ตามกัน 3. หยุดนิ่งเหมือนเดิม 4 ยังสรุปอะไรไมได 06. จากรูปถาแยก A และ B ออกจากกันแลวนํา C ออกไป ผลที่ได คือ 1. ทั้ง A และ B จะไมมีประจุ 2. A มีประจุบวก B มีประจุลบ 3. A มีประจุลบ B มีประจุบวก 4. A และ B มีประจุลบ A B + + + + + + + + ++ + + C 07. วัตถุ A มีประจุไฟฟาบวกอิสระ ตัวนํา B และ C หอยจากฉนวนไฟฟา ตามรูป x นําวัตถุ A เขาไปใกลตัวนํา B และ C ซึ่ง สัมผัสกันอยู รูป y แสดงการแยกวัตถุ B และ C ออกจากกัน รูป Z ยกวัตถุ A ออกไปใหเหลือแต B และ C ตัวนํา B และ C จะมีประจุชนิดใด BA ++ + + + ++ C A ++ + + + ++ B C B C ÃÙ» x รูป y รูป z 1. B มีประจุบวก และ C มีประจุบวก 2. B มีประจุลบ และ C มีประจุลบ 3. B มีประจุบวก และ C มีประจุลบ 4. B มีประจุลบ และ C มีประจุบวก
  • 2. NEO PHYSICS CENTER อ. พิสิฏฐ วัฒนผดุงศักดิ์ 08. โลหะทรงกระบอกยาวปลายมนเปนกลางทางไฟฟา ตั้งอยูบนฐานที่เปนฉนวน ถานําประจุบวกขนาดเทากันมาใกลปลายทั้ง สองขางพรอมกัน โดยระยะหางจากปลายเทากัน การกระจายของประจุบนสวน A, B และ C ของทรงกระบอกเปนอยางไร A B C+ + 1. A และ C เปนลบ แต B เปนกลาง 2. A และ C เปนกลาง แต B เปนบวก 3. A และ C เปนบวก แต B เปนลบ 4. A และ C เปนลบ แต B เปนบวก 09. เมื่อนําแผนพีวีซีที่มีประจุไฟฟาลบเขาใกลลูกพิทของอิเล็กโทรสโคป ปรากฏวาลูกพิทเคลื่อนที่เขาหาแผนพีวีซี แสดงวา ลูกพิทมีประจุชนิดใด 1. เปนกลาง 2. มีประจุบวกเทานั้น 3. มีประจุลบเทานั้น 4. อาจมีประจุหรือไมมีได 10. เมื่อนําวัตถุ A เขาใกลลูกพิทบอล P ซึ่งเปนกลาง ตามรูปขอใดเปนไปได A A A รูป 1. รูป 2. รูป 3. 1. รูป 1 และ 3 2. รูป 2 และ 3 3. รูป 1 และ 2 4. รูป 1, 2 และ 3 11. เมื่อใหประจุบวกแกลูกพิท แลวแขวนหอยไวที่กึ่งกลางระหวาง A กับ B ปรากฏวาลูกพิทเบนเขาหา B ดังรูป อาจอธิบายได ตามขอใด A B 1. A มีประจุลบ B มีประจุบวก 2. A มีประจุบวก B มีประจุลบ 3. A มีประจุบวก B เปนกลางทางไฟฟา 4. ขอ 2 และ 3 12. ลูกบอลทองแดงทรงกลมกลวงมีเนื้อหนา 2 ซม. มีรัศมีภายนอก 3 ซม. รัศมีภายใน 1 ซม. ถาใหประจุ +3 คูลอมบ แกลูก บอลนี้ อัตราสวนของประจุที่ผิวภายในตอประจุที่ผิวภายนอกเปนเทาไร 1. 0 : 3 2. 1 : 3 3. 1 : 9 4. 1 : 27 13. นําแผนพีวีซีที่มีประจุเขาใกลลูกพิท 2 ลูก ที่แขวนอยูโดยผิวของลูกพิททั้งสองสัมผัสกัน ตอมาแยกลูกพิททั้ง 2 ออกหางกัน 10 ซม. แลวจึงดึงแผนพีวีซีออก ปรากฎวาลูกพิททั้ง 2 ดูดกันดวยแรงขนาด 9×10-1 นิวตัน มีจํานวนอิเล็กตรอนเทาใดที่ เคลื่อนที่จากลูกพิทหนึ่งไปยังลูกพิทอีกลูกหนึ่ง 14. รัศมีวงโคจรของอิเล็กตรอนรอบโปรตอนในอะตอมธาตุไฮโดรเจนมีคาประมาณ 5.3×10-11 เมตร จงหา ก. ขนาดของแรงดึงดูดระหวางประจุ ข. แรงดึงดูดระหวางมวลของประจุ ค. อัตราสวนระหวางแรงระหวางประจุกับแรงระหวางมวล 15. ประจุขนาด +5×10-6 คูลอมบ และ -3×10-6 คูลอมบ วางอยูหางกัน 20 ซม. ถานําประจุทดสอบขนาด +1×10-6 คูลอมบ มาวางไวที่จุดกึ่งกลางระหวางประจุทั้งสอง ขนาดและทิศทางของแรงที่กระทําตอประจุทดสอบมีคาเทาใด 16. เมื่อเอาแทงแกวซึ่งมีประจุไฟฟา 4×10-6 คูลอมบ เขาไปวางใกลกับแทงไม คอรกสี่เหลี่ยมหนา 0.5 ซม. ถาปลอยแทงแกวหางจากไมคอรก 1 ซม. และ เหนี่ยวนําทําใหเกิดประจุบนไมคอรกดานที่อยูไกล และใกลแทงแกวมีขนาด 1×10-13 คูลอมบ จงหาแรงระหวางแทงแกวและไมคอรกเปนแรงดูดหรือ ผลักขนาดเปนเทาใด + + + + + + + + + 0.5cm1cm แรงในสนามไฟฟา www.neophysics.net 0-2669-51112
  • 3. NEO PHYSICS CENTER อ. พิสิฏฐ วัฒนผดุงศักดิ์ 17. ตามรูป มวล A มีมวลเปน 3 เทาของ B, A มีประจุ -q และ B มีประจุ +q ลอยนิ่งใต A เปนระยะ d จงหา ก. น้ําหนักของ B ข. แรงตึงเชือกที่แขวนมวล A A B q1 q2 d 18. ทรงกลม A และ B มีประจุไฟฟา 9×10-9 และ 4×10-9 คูลอมบ ตามลําดับ A วางอยูที่พื้น สวนลูก B ถูกผลักลอยอยูเหนือ A เปนระยะ 2 เมตร ถาลูก B หนักเปน 2 เทาของลูก A จงหาแรงที่พื้นกระทําตอลูก A A B 2 m 19. สามเหลี่ยมดานเทารูปหนึ่งมีความยาวดานละ 30 ซม. และที่แตละมุมของสามเหลี่ยมนี้มีจุดประจุ +2 , -2 และ +5 ไมโครคู ลอมบวางอยู อยากทราบวาขนาดของแรงไฟฟาบนประจุ +5 ไมโครคูลอมบมีคากี่นิวตัน 20. ประจุไฟฟาเทากันวางอยูที่จุด A, B, C โดยระยะ AB = 2 ซม., BC = 1 ซม.ถาแรงไฟฟาที่กระทําตอ C เนื่องจาก B เทากับ 1×10-4 N แรงไฟฟาทั้งหมดที่กระทําตอ B มีขนาดเทาใด 1cm 2 cm A B C 21. กราฟในรูปใดแสดงความสัมพันธระหวางแรงไฟฟาสถิต (F) กับระยะหางจากจุดประจุ (r) ไดดีที่สุด จ.ง.ค.ข.ก. 0 F r 0 F r 0 F r F 0 r F 0 r P Q L M O N 22. ประจุไฟฟาขนาดเทากันวางไวที่จุด L , N และ M โดยที่ประจุที่ L และ M เปนประจุชนิดเดียวกันและตรึงอยูกับที่ สวนที่จุด N เปนประจุชนิดตรงกัน ขามสามารถเคลื่อนที่ได จุด O เปนจุดแบงครึ่ง LM และเสนตรง POQ ตั้งฉากกับ LM ประจุไฟฟาที่ N จะมีการเคลื่อนที่อยางไร 1. ไปทางจุด Q 2. ไปทางจุด L 3. ไปทางจุด M 4. กลับไปกลับมาบนเสน PQ 23. จากรูป จงหาความเขมสนามไฟฟาที่จุด D a a B C A +q +q +2q D 24. จากรูป จงหาความเขมสนามไฟฟาที่จุด A A C 0.5 m 0.5 m B ×5 10 6C ×4 10 6C แรงในสนามไฟฟา www.neophysics.net 0-2669-51113
  • 4. NEO PHYSICS CENTER อ. พิสิฏฐ วัฒนผดุงศักดิ์ 25. จุด x และ y อยูหางจากจุดประจุ q เปนระยะ 20 ซม. และ 50 ซม. ตามลําดับ ถาที่จุด x สนามไฟฟามีคาเทากับ 5 N/C และมีทิศชี้เขาหาประจุแลว สนามไฟฟาที่จุด y จะมีขนาดเทาใดและทิศทางอยางไร 26. เครื่องบินลําหนึ่งกําลังบินที่ความสูง 2,000 m. ผานกลุมเมฆขณะเกิดฟาผา ซึ่งที่ความสูง 3,000 m. ภายในกอนเมฆ จะมี ประจุ +40.0 C และ -40.0 C ที่ความสูง 1,000 m. จงหาสนามไฟฟา E ที่เครื่องบิน 27. ถาถือวาโลกมีรูปรางทรงกลมซึ่งมีรัศมีเทากับ 6,400 กิโลเมตร และพบวาบริเวณใกล ๆ ผิวโลกมีความเขมสนามไฟฟาขนาด เทากับ 100 นิวตัน/คูลอมบ จงหาปริมาณประจุไฟฟาบนผิวโลก 1. C 2. C 3. C 4. C2 109 − × 3 105× 5 105× 5 109× 28. จากรูปเมื่อวางจุดประจุ +Q ไวที่จุด A ปรากฏวาสนามไฟฟาที่จุด P มีคา เทากับ 0.5 N/C ถานําจุดประจุชนิด -Q มาวางไวที่จุด B โดย A , P และ B อยูบนเสนตรงเดียวกัน สนามไฟฟาที่จุด P จะมีคาเทาใดและทิศทางอยางไร A P B 0.1 m 0.1 m +Q 29. ABC เปนสามเหลี่ยมดานเทามีดานยาวดานละ a ถานําประจุ +q คูลอมบ ไปวางไวที่ A และที่ B มีประจุ -q คูลอมบ จง หาสนามไฟฟาที่เกิดขึ้นที่จุด C 30. ประจุ -1 คูลอมบ อยูที่จุด A และจุด B ซึ่งอยูหางกัน 5 เมตร ที่จุด C ซึ่ง อยูหางจากทั้งจุด A และจุด B เปนระยะทาง 5 เมตร จะมีขนาด สนามไฟฟาเทาใด A B C 5m 5m 5m -1C -1C 31. มีประจุไฟฟาบวก 2 ประจุ ขนาด 4×10-6 C และ 9×10-6 C วางอยูหางกัน 20 ซม. จงหาวาตําแหนงที่สนามไฟฟาลัพธเปน ศูนยที่เกิดขึ้นจะอยูหางประจุ +4×10-6 C เทาใด 32. ประจุ 4 ตัวประกอบดวย q1 , q2 , q3 และ q4 วางอยูที่มุมสี่เหลี่ยมจัตุรัสซึ่งมีความยาว ดานละ ดังรูป ถาประจุทั้งสี่มีขนาดของประจุเทากันคือ q ในกรณีใดบางตอไปนี้ที่ทํา ใหสนามไฟฟา ณ จุดกึ่งกลางของสี่เหลี่ยมจตุรัสมีคาเปนศูนย q1 q2 q4q3 ก. q1 = q2 = q3 = q4 = +q ข. q1 = q2 = q3 = q4 = -q ค. q1 = q4 = +q , q2 = q3 = -q ง. q1 = q2 = +q , q3 = q4 = -q คําตอบที่ถูกตองคือขอใด 1. ก. 2. ก. และ ข. 3. ก.,ข. และ ค. 4. ก.,ข.,ค. และ ง. 33. ขอความในขอใดถูก 1. สนามไฟฟาที่ตําแหนงตาง ๆ ภายในตัวนําทรงกลมที่มีประจุไฟฟาจะมีคามากกวาสนามไฟฟาที่ผิวทรงกลม 2. สนามไฟฟาที่ตําแหนงตาง ๆ ภายในตัวนําทรงกลมที่มีประจุไฟฟาจะมีคาเทากันโดยตลอด และมีคาเปนศูนย 3. สนามไฟฟาที่ตําแหนงตาง ๆ ภายในตัวนําทรงกลมที่มีประจุไฟฟาจะมีคาเทากันโดยตลอด และมีคาไมเปนศูนย 4. สนามไฟฟาที่ตําแหนงติดกับผิวของตัวนําทรงกลมที่มีประจุไฟฟา จะมีคาเทากับศูนย 34. เมื่อนําประจุ -2×10-6 คูลอมบ เขาไปวางไว ณ จุดหนึ่ง ๆ ปรากฏวามีแรง 8×10-6 นิวตัน มากระทําตอประจุนี้ในทิศจาก ซายไปขวา สนามไฟฟาจะมีขนาดเทาใดและทิศทางอยางไร 35. จงหาคาขนาดสนามไฟฟา ที่ทําใหอิเล็กตรอนมีแรงของไฟฟาเทากับน้ําหนักของมันเอง แรงในสนามไฟฟา www.neophysics.net 0-2669-51114
  • 5. NEO PHYSICS CENTER อ. พิสิฏฐ วัฒนผดุงศักดิ์ 36. หยดน้ํามันหยดหนึ่งมีมวล 3.2×10-15 กิโลกรัม สามารถลอยอยูนิ่งในอากาศ ภายในสนามไฟฟาซึ่งมีทิศพุงลงตามแนวดิ่ง ขนาด 2×104 N/C แสดงวาหยดน้ํามันนี้ 1. รับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น 10 ตัว 2. เสียอิเล็กตรอนไป 10 ตัว 3. รับอิเล็กตรอนเพิ่มขึ้น 20 ตัว 4. เสียอิเล็กตรอนไป 20 ตัว 37. ทรงกลมเล็ก ๆ มีมวล m กิโลกรัม มีประจุ +q สามารถลอยนิ่งในสนามไฟฟาสม่ําเสมอมีทิศตามแนวดิ่ง ทรงกลมไดรับแรง ไฟฟาตามขอใด 1. mg นิวตัน ทิศพุงขึ้น 2. mg นิวตัน ทิศพุงลง 3. mq นิวตัน ทิศพุงขึ้น 4. mq นิวตัน ทิศพุงลง 38. จุด A และ B อยูภายในเสนสนามไฟฟาที่มีทิศตามลูกศรดังรูป ขอใดตอไปนี้ถูกตอง 1. วางประจุลบที่ A ประจุลบจะเคลื่อนที่ไปที่ B แรงในสนามไฟฟา www.neophysics.net 0-2669-51115 2. วางประจุบวกลงที่ B ประจุบวกจะเคลื่อนที่ไปที่ A 3. สนามไฟฟาที่ A สูงกวาสนามไฟฟาที่ B A B 4. สนามไฟฟาที่ A มีคาเทากับสนามไฟฟาที่ B 39. รูปที่กําหนดใหเปนบริเวณที่มีสนามไฟฟา E สม่ําเสมอ จงพิจารณาขอความตอไปนี้ ก. สนามไฟฟาที่จุด A, B และ C มีขนาดเทากัน ข. วางประจุลบลงที่ B ประจุลบจะเคลื่อนที่ไปที่ C ค. แรงที่กระทําตอประจุ +q, +q และ -q ที่จุด A, B และ C ตามลําดับ มีขนาดเทากัน ขอที่ถูกตองคือ 1. ขอ ก, ข และ ค 2. ขอ ข และ ค 3. ขอ ก และ ค 4. ขอ ก เทานั้น A B C E 40. เมื่ออิเล็กตรอนเคลื่อนที่เขาไปในแนวตั้งฉากกับสนามไฟฟาสม่ําเสมอระหวาง แผนคูขนานดังรูป จงเขียนเสนทางการเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอน e E E 41. อนุภาคตัวหนึ่งมีมวล 1.6×10-27 กิโลกรัม เมื่อเคลื่อนที่เขาไประหวางแผน คูขนานดังรูป ปรากฎวาอนุภาคนั้นมีแนวการเคลื่อนที่เบนโคงลง แตเมื่อใส สนามไฟฟาขนาด 100 N/C ในทิศพุงขึ้นตามแนวดิ่ง ปรากฎวาแนวการ เคลื่อนที่ของอนุภาคนั้นจะเปนแนวเสนตรง 42. ตัวนําที่อยูในสภาพสมดุลทางไฟฟาสถิต สนามไฟฟา ณ ตําแหนงใกลกับผิวตัวนําจะมีลักษณะดังขอใด 1. ตั้งฉากกับผิวตัวนํา 2. ขนานกับผิวตัวนํา 3. มีทิศทํามุม θ กับผิวตัวนํา โดยมุม θ จะขึ้นกับรูปรางของผิวตัวนํา 4. มีคาเปนศูนย 43. สนามไฟฟา ณ ตําแหนงติดกับผิวตัวนําดานนอก จะมีทิศทางใด 1. ตั้งฉากกับผิว 2. สัมผัสผิว 3. ขึ้นกับรูปรางของผิว 4. ทํามุมกับผิวนอยกวา 45°