SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
มหาสมัยสูตร และพระสูตรที่เกี่ยวเนื่อง ตอนที่ ๒
สัมมาปริพพาชนียสูตร
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๑๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๖
เกริ่นนา
ในพระสูตรสัมมาปริพพาชนียสูตรนี้ เป็นการแสดงพระธรรมเทศนาให้เหล่าเทวดาและพระพรหม
ที่มาเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ที่ได้กล่าวไว้ในมหาสมัยสูตร เมื่อพระพุทธนิมิตถามปัญหา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึง
ได้ตรัสพระสูตรสัมมาปริพพาชนียะนี้ (พระสูตรว่าด้วยเรื่องที่พึงเว้นโดยชอบ) แก่พวกเทวดาและพระพรหม
ที่เป็นพวกราคะจริต
สัมมาปริพพาชนียสูตร
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต
๑๓. สัมมาปริพพาชนียสูตร
ว่าด้วยภิกษุควรละเว้นอยู่ในโลกโดยชอบ
[๓๖๒] (พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้ )
ข้าพระองค์ขอทูลถามพระมุนีผู้มีปัญญามาก ทรงข้ามโอฆะได้แล้วปรินิพพาน มีพระทัย
มั่นคง ภิกษุนั้นบรรเทากามทั้งหลาย ออกจากเรือน (มาบวช) แล้ว พึงละเว้นอยู่ในโลกโดยชอบได้อย่างไร
[๓๖๓] (พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ )
ภิกษุผู้ตัดขาดการเชื่อสิ่งที่เห็นเป็นต้นว่า เป็นมงคล การยึดถืออุกกาบาตตก ความฝัน
และการทานายลักษณะ ละสิ่งที่ทาให้เกิดผลเสียต่อมงคลได้เด็ดขาด ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ
[๓๖๔] ภิกษุพึงกาจัดความกาหนัดในกามทั้งหลาย ทั้งที่เป็นของมนุษย์ และที่เป็นทิพย์ ภิกษุนั้น
ตรัสรู้ธรรมแล้ว ก้าวพ้นภพได้แล้ว ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ
[๓๖๕] ภิกษุกาจัดความส่อเสียดแล้ว พึงละความโกรธ ความตระหนี่ ภิกษุนั้นละความยินดีและ
ความยินร้ายได้แล้ว ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ
[๓๖๖] ภิกษุละสิ่งอันเป็นที่รักและไม่เป็นที่รักแล้ว ไม่ถือมั่น ผู้ไม่มีตัณหาและทิฏฐิอาศัยในภพ
ไหนๆ หลุดพ้นแล้วจากธรรมเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์ ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ
[๓๖๗] ภิกษุกาจัดฉันทราคะในสิ่งที่พึงยึดถือทั้งหลาย ไม่เห็นความเป็นสาระในอุปธิทั้งหลาย
(อุปธิ ในที่นี้ หมายถึงขันธ์ ๕) ภิกษุนั้นผู้ไม่มีตัณหาและทิฏฐิอาศัย ใครๆ พึงชักนาไปไม่ได้ ชื่อว่า ละเว้นอยู่
ในโลกได้โดยชอบ
2
[๓๖๘] ภิกษุผู้ไม่ผิดพลาดทางกาย วาจา และใจ รู้แจ้งซึ่งธรรมโดยชอบ ปรารถนาบทคือนิพพาน
อยู่ ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ
[๓๖๙] ภิกษุรู้จักเคารพนบไหว้ ไม่ถือตัว ถึงถูกด่าว่าก็ไม่โกรธ ได้ภัตตาหารที่ผู้อื่นถวายประจา
แล้วก็ไม่ประมาทมัวเมา ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ
[๓๗๐] ภิกษุละความโลภและกามภพเป็นต้นได้แล้ว เว้นขาดจากการฆ่าฟัน และการจองจาผู้อื่น
ตัดความสงสัยได้แล้ว ปราศจากกิเลสดุจลูกศร ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ
[๓๗๑] ภิกษุผู้รู้ข้อปฏิบัติที่สมควรแก่ตน รู้แจ้งสัจธรรมตามความเป็นจริง ไม่เบียดเบียนสัตว์โลก
ทุกชนิด ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ
[๓๗๒] ภิกษุไม่มีอนุสัยกิเลสใดๆ ถอนรากอกุศลธรรมได้หมดสิ้น ไม่มีความหวัง ปราศจากตัณหา
โดยสิ้นเชิง ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ
[๓๗๓] ภิกษุผู้สิ้นอาสวะแล้ว ละมานะได้เด็ดขาด ล่วงพ้นทางแห่งราคะ (ทางแห่งราคะ หมายถึง
ธรรมอันเป็นไปในภูมิ ๓ (กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ)) ทั้งหมด ฝึกตนได้ ดับกิเลสลงได้อย่างสิ้นเชิง ดารงตน
มั่นคง ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ
[๓๗๔] ภิกษุมีศรัทธามั่นคง เป็นผู้ได้สดับอย่างดี เห็นทางปฏิบัติอันถูกต้อง เป็นนักปราชญ์ ผู้ไม่
คล้อยตามไปในฝักฝ่ายมิจฉาทิฏฐิ ขจัดโลภะ โทสะคือความขุ่นเคืองใจได้ ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ
[๓๗๕] ภิกษุเอาชนะกิเลสได้ด้วยอรหัตตมรรคที่หมดจดดี ไม่มีกิเลสเครื่องปิดบัง เชี่ยวชาญใน
ธรรมทั้งหลาย (ธรรมทั้งหลาย ในที่นี้ หมายถึงอริยสัจ ๔) เป็นผู้ถึงฝั่ง หมดตัณหาอันทาให้หวั่นไหว มีความ
ฉลาดในญาณเป็นที่ดับสังขาร ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ
[๓๗๖] ภิกษุล่วงพ้นความกาหนดที่ถือว่าเป็นของเรา ในเบญจขันธ์ทั้งที่เป็นอดีตและอนาคต มี
ปัญญาบริสุทธิ์ เป็นผู้หลุดพ้นจากอายตนะทั้งปวงได้เด็ดขาด ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ
[๓๗๗] ภิกษุรู้แจ้งสภาวะที่ควรเข้าถึง จนได้บรรลุธรรม เห็นการละอาสวะทั้งหลายเป็นวิวฏะ (ใน
ที่นี้ หมายถึงนิพพาน) ไม่ติดข้องอยู่ในภพไหนๆ เพราะอุปธิทั้งปวงหมดสิ้นไปแล้ว ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้
โดยชอบ
[๓๗๘] (พระพุทธเนรมิตทูลสรุปดังนี้ )
ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ที่พระองค์ตรัสมาทั้งหมดนั้นถูกต้องทีเดียว ภิกษุใดมีความ
ประพฤติเช่นนี้ อยู่ประจา ฝึกฝนตนแล้ว เป็นผู้ข้ามสังโยชน์และโยคะทั้งปวงได้ ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดย
ชอบ
สัมมาปริพพาชนียสูตรที่ ๑๓ จบ
-------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย สุตตนิบาต จูฬวรรค
สัมมาปริพพาชนิยสูตร
อรรถกถาสัมมาปริพพาชนิยสูตรที่ ๑๓
3
ถามว่า มีการเกิดขึ้นอย่างไร?
ตอบว่า มีการเกิดขึ้นเพราะมีคาถาม.
ด้วยว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าถูกพระพุทธนิมิตถาม จึงได้ตรัสพระสูตรนี้ พร้อมกับคาถามพระสูตร
นั้น ท่านจึงเรียกว่า สัมมาปริพพาชนิยสูตรบ้าง.
ความย่อในพระสูตรนี้ มีเพียงนี้ .
ส่วนโดยพิสดารนั้น พระโบราณาจารย์ได้พรรณนาไว้ตั้งแต่การอุบัติของสากิยวงศ์และโกลิยวงศ์
การพรรณนาไว้เพียงอุเทศในเรื่องนี้ มีดังต่อไปนี้ .
ก็ครั้งปฐมกัป พระเจ้ามหาสมมติราชได้มีพระโอรสพระนามว่าโรชะ. พระเจ้าโรชะได้มี
พระโอรสพระนามว่าวโรชะ. พระเจ้าวโรชะได้มีพระโอรสพระนามว่ากัลยาณะ. พระเจ้ากัลยาณะได้มี
พระโอรสพระนามว่าวรกัลยาณะ พระเจ้าวรกัลยาณะได้มีพระโอรสพระนามว่ามันธาตุ. พระเจ้ามันธาตุได้มี
พระโอรสพระนามว่าวรมันธาตุ. พระเจ้าวรมันธาตุได้มีพระโอรสพระนามว่าอุโปสถะ. พระเจ้าอุโปสถะได้มี
พระโอรสพระนามว่าจระ. พระเจ้าจระได้มีพระโอรสพระนามว่าอุปจระ. พระเจ้าอุปจระได้มีพระโอรสพระ
นามว่าพระมฆาเทวะ.
สืบต่อจากพระเจ้ามฆาเทวะได้มีกษัตริย์ ๘๔,๐๐๐ พระองค์ ต่อจากกษัตริย์ ๘๔,๐๐๐ พระองค์
เหล่านั้นได้มีวงศ์โอกกากราช ๓ วงศ์. พระเจ้าโอกกากราชองค์ที่ ๓ มีพระมเหสี ๕ องค์ คือ พระนางหัตถา ๑
พระนางจิตตา ๑ พระนางชันตุ ๑ พระนางชาลินี ๑ พระนางวิสาขา ๑. พระมเหสีองค์หนึ่งๆ มีหญิงบริวาร
องค์ละ ๕๐๐.
พระมเหสีองค์ใหญ่มีโอรส ๔ พระองค์ คือ เจ้าชายโอกกามุขะ ๑ เจ้าชายกากัณฑะ ๑ เจ้าชาย
หัตถินิกะ ๑ เจ้าชายนิปุระ ๑. มีพระธิดา ๕ พระองค์ คือ เจ้าหญิงปิยา ๑ เจ้าหญิงสุปปิยา ๑ เจ้าหญิงอานัน
ทา ๑ เจ้าหญิงวิชิตา ๑ เจ้าหญิงวิชิตเสนา ๑.
ครั้นพระมเหสีองค์ใหญ่ได้พระโอรสพระธิดา ๙ องค์แล้วก็สิ้นพระชนม์.
พระราชาจึงทรงนาราชธิดาซึ่งยังสาว ทั้งมีรูปโฉมงดงามองค์อื่นมาตั้งไว้ในตาแหน่งพระอัคร
มเหสี. พระอัครมเหสีได้ประสูติพระโอรสองค์หนึ่ง ครั้นประสูติได้ ๕ วัน พวกนางนมได้ตกแต่งพระชันตุ
กุมารนามาเฝ้าพระราชา. พระราชาทรงยินดีได้พระราชทานพรแด่พระมเหสี. พระนางจึงทรงปรึกษากับ
บรรดาพระญาติทูลขอราชสมบัติให้แก่พระโอรส. พระราชาทรงพิโรธว่า หญิงถ่อยใจชั่ว เจ้าจงพินาศเสียเถิด
เจ้าปรารถนาให้พวกโอรสของเราได้รับอันตราย แล้วไม่พระราชทานตามที่พระมเหสีทูลขอ. พระอัครมเหสี
ประเล้าประโลมพระราชาในที่ลับบ่อยๆ ครั้นให้ทรงพอพระทัยแล้ว ทูลพระดารัสมีอาทิว่า ข้าแต่พระองค์ผู้
เป็นมหาราช ไม่ควรกล่าวคาเท็จ แล้วทูลวิงวอนซ้าแล้วซ้าอีก.
ลาดับนั้น พระราชาตรัสเรียกพระโอรสทั้งหลายมาตรัสว่า ดูก่อนลูกๆ ทั้งหลาย พ่อเห็นชันตุ
กุมารน้องของพวกลูก จึงได้ผลุนผลันให้พรแก่มารดาของชันตุกุมาร เธอประสงค์จะให้โอรสครองราชสมบัติ
เมื่อพ่อล่วงลับไปแล้ว ลูกๆ พึงมาครองราชสมบัติเถิด แล้วทรงส่งไปกับอามาตย์ ๘ คน. พระราชกุมาร
เหล่านั้นได้พาพระพี่นางพระน้องนาง ออกจากพระนครพร้อมด้วยจตุรงคเสนา.
4
พวกชาวพระนครรู้ว่า พระกุมารจะเสด็จมาครองราชสมบัติเมื่อพระบิดาสวรรคตแล้ว จึงคิดว่า
พวกเราจะติดตามไปอุปัฏฐากพระกุมารเหล่านั้น ก็พากันตามเสด็จไปเป็นอันมาก. ในวันแรกได้มีหนุ่มเสนา
ประมาณ ๑ โยชน์ ในวันที่สองประมาณ ๒ โยชน์ ในวันที่สามประมาณ ๓ โยชน์.
พระราชกุมารทั้งหลายทรงดาริว่า พลนิกายมีมาก หากเราจะยกไปตีพระราชาใกล้เคียงเมือง
หนึ่งเมืองใด ชิงเอาบ้านเมือง ชนบททั้งหมดก็จะพ่ายแพ้เรา แต่ประโยชน์อะไรด้วยราชสมบัติที่ได้มาเพราะ
เบียดเบียนผู้อื่น ชมพูทวีปก็กว้างใหญ่ เราจะสร้างนครในป่า จึงพากันเสด็จบ่ายหน้าไปยังป่าหิมพานต์.
พระราชกุมารแสวงหาที่จะสร้างพระนคร ที่ป่านั้นมีพระดาบสชื่อกปิละ มีตบะแรงกล้า อาศัยอยู่
ในป่าไม้สากะใกล้ฝั่งโบกขรณี ณ ป่าหิมพานต์ พระราชกุมารไปถึงที่อยู่ของดาบสนั้น. ดาบสเห็นพระราช
กุมารเหล่านั้นจึงถาม ครั้นทราบเรื่องราวทั้งหมดจึงได้ทาการอนุเคราะห์พระราชกุมารเหล่านั้น.
นัยว่า พระดาบสนั้นรู้ภูมิชัยวิทยา เห็นคุณและโทษในอากาศสูงขึ้นไปได้ ๘๐ ศอกและใต้พื้นดิน
ลงไป ๘๐ ศอก. ณ ภูมิประเทศนั้น หมูและเนื้ อทั้งหลายทาให้ราชสีห์และเสือเป็นต้นหวาดกลัวหนีกลับไป
กบและหนูทั้งหลายทาให้งูเกรงกลัว.
ดาบสครั้นเห็นพระราชกุมารเหล่านั้น จึงทูลว่า ภูมิประเทศนี้ เป็นพื้นปฐพีอันล้าเลิศ จึงให้สร้าง
พระนคร ณ ที่นั้น. ครั้งนั้น พระดาบสได้ทูลพระราชกุมารว่า หากพระองค์จะสร้างพระนครใช้ชื่อของข้า
พระองค์ ข้าพระองค์ก็ยินดี. พระราชกุมารทรงรับคาดาบส. พระดาบสกล่าวว่าแม้บุตรคนจัณฑาลสถิตอยู่ใน
ที่นี้ ก็จะข่มขี่พระเจ้าจักรพรรดิด้วยกาลังได้ แล้วกราบทูลให้สร้างพระราชมณเฑียร แล้วสร้างพระนคร ณ
ที่ตั้งอาศรม ครั้นดาบสถวายที่นั้นแล้ว ตนเองก็สร้างอาศรมอาศัยอยู่ ณ เชิงเขาไม่ไกลนัก.
จากนั้น พระราชกุมารทั้งหลายจึงสร้างพระนคร ณ ที่นั้นให้จารึกชื่อว่า กบิลพัสดุ์ เพราะกปิ
ลดาบสประสิทธิ์ให้ แล้วเสด็จอาศัยอยู่ ณ กรุงกบิลพัสดุ์นั้น.
ลาดับนั้น พวกอามาตย์คิดว่า พระกุมารเหล่านี้ ทรงเจริญวัยแล้ว หากอยู่ในสานักของพระบิดา ก็
จะกระทาอาวาหมงคลและวิวาหมงคล แต่บัดนี้ เป็นภาระของพวกเรา จึงพากันไปทูลปรึกษากับพระกุมาร.
พระกุมารตรัสว่า เรามิได้เห็นธิดาของกษัตริย์อื่นเสมอด้วยเรา และเราไม่เห็นขัตติยกุมารเหล่าอื่นเสมอด้วย
พระเชษฐภคินีและพระกนิษฐภคินีเหล่านั้นเลย อนึ่ง เราจะไม่ทาการปะปนชาติ เพราะกลัวการปะปนชาติ.
จึงตั้งพระเชษฐภคินีไว้ในฐานะพระมารดา แล้วอภิเษกสมรสกับพระกนิษฐภคินีเป็นคู่ๆ กันไป.
พระบิดาของพระราชกุมารเหล่านั้น ครั้นทรงทราบเรื่องราวทั้งหมดแล้วทรงเปล่งอุทาน
ว่า สักยะ สักยะ. นี้ เป็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นแล้ว
สมจริงดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า
ดูก่อนอัมพัฏฐะ ครั้งนั้นแล พระเจ้าโอกกากราชได้ตรัสถามที่ประชุมเหล่าอามาตย์ว่า บัดนี้ ราช
กุมารทั้งหลายพากันไปพักอยู่ที่ไหน. พวกอามาตย์กราบทูลว่า ขอเดชะ ณ ฝั่งโบกขรณี ข้างหิมวันตประเทศ
มีป่าไม้สากะอยู่มาก บัดนี้ พระราชกุมารทั้งหลายพากันไปพักอยู่ ณ ป่าไม้นั้น พระราชกุมารเหล่านั้นทรง
กลัวการระคนด้วยชาติ จึงอยู่ร่วมกันกับพระภคินีของตนๆ พระเจ้าข้า.
ดูก่อนอัมพัฏฐะ ครั้งนั้นแล พระเจ้าโอกกากราชทรงเปล่งอุทานว่า ท่านทั้งหลาย กุมารทั้งหลาย
เป็นผู้สามารถหนอ กุมารทั้งหลายเป็นผู้สามารถอย่างยิ่งหนอ.
5
ดูก่อนอัมพัฏฐะ เจ้าสักยะทั้งหลายย่อมปรากฏ ตั้งแต่ครั้งนั้นเป็นต้นมา และพระเจ้าโอกกาก
ราชนั้นเป็นบรรพบุรุษของเจ้าศากยะทั้งหลาย ดังนี้ .
ครั้นต่อมาพระเชฏฐภคินีของพระกุมารเหล่านั้นได้เป็นโรคเรื้อน พระวรกายได้ปรากฏเหมือน
ดอกทองหลาง. พระราชกุมารทั้งหลายทรงดาริว่า พระโรคนี้ ย่อมติดต่อแก่ผู้ที่นั่งที่ยืนและบริโภคร่วมกับ
พระเชษฐภคินีนี้ จึงทูลเชิญพระนางให้เสด็จขึ้นบนรถ ทาเป็นดุจจะไปชมสวน แล้วเสด็จเข้าป่ารับสั่งให้ขุดบ่อ
ลึกทาเป็นเรือนพอสังเขปใต้พื้นดิน วางพระนางลงในบ่อนั้นพร้อมด้วยของควรเคี้ยวและควรบริโภค ปิด
ข้างบนเกลี่ยฝุ่นแล้วเสด็จไป.
ก็สมัยนั้น พระราชาพระนามว่ารามะ เป็นโรคเรื้อนถูกพวกสนมและพวกฟ้อนราพากันรังเกียจ
ทรงสลดพระทัย มอบราชสมบัติให้พระโอรสองค์ใหญ่เสด็จเข้าป่า เสวยรากไม้และผลไม้ในป่านั้น ไม่ช้าก็
หายพระโรค มีพระฉวีดุจทองคา เสด็จไปตามที่ต่างๆ ทอดพระเนตรเห็นต้นไม้มีโพรงใหญ่ ทรงทาความ
สะอาดโพรงไม้นั้นประมาณ ๑๖ ศอก ภายในโพรงไม้นั้นทรงกระทาประตูหน้าต่าง พาดบันไดเสด็จประทับ
อยู่ในโพรงนั้น. พระองค์ก่อไฟที่หลุมถ่านเพลิงแล้วบรรทม ได้ทรงสดับเสียงร้องครวญครางและเสียงคาราม
ในราตรี พระองค์ทรงกาหนดว่า ที่ตรงโน้นสีหะแผดเสียง ตรงโน้นเสือคาราม ครั้นสว่างจึงเสด็จไป ณ ที่นั้น
ทรงถือเนื้ อที่เป็นเดน (ของสัตว์) ปิ้ งเสวย.
อยู่มาวันหนึ่ง ตอนใกล้รุ่ง พระองค์ประทับนั่งตามไฟอยู่. ขณะนั้น เสือโคร่งได้กลิ่นพระราชธิดา
จึงตะกายที่พื้นนั้นทาให้เป็นช่องบนพื้นกระดาน. พระนางทรงเห็นเสือทางช่องนั้น ทรงตกพระทัยกลัวร้อง
กรี๊ดจนสุดเสียง. พระราชาทรงสดับเสียงนั้น และทรงกาหนดว่า นั่นเป็นเสียงสตรีจึงเสด็จไป ณ ที่นั้นแต่
เช้าตรู่ ตรัสถามว่า ใครอยู่ในที่นี้ . พระนางตอบว่า ผู้หญิงจ้ะนาย. ตรัสว่า ออกมาเถิด. ทูลว่า ออกไปไม่ได้.
ตรัสว่า เพราะอะไร. ทูลว่า ดิฉันเป็นนางกษัตริย์. พระนางแม้ถูกขังอยู่ในหลุมอย่างนั้นยังมีขัตติยมานะ.
พระราชารับสั่งถามเรื่องราวทั้งหมด แล้วจึงตรัสบอกพระชาติของพระองค์ว่า เราก็เป็นกษัตริย์. ตรัสต่อไปว่า
ออกมาเดี๋ยวนี้ เถิดปรากฏดุจเนยใสใส่ลงในน้านม. พระนางทูลว่า หม่อมฉันเป็นโรคเรื้อน ไม่อาจออกไปได้
เพคะ. พระราชาตรัสว่า บัดนี้ เราหัวอกอันเดียวกัน เราสามารถเยียวยาให้หายได้จึงทอดบันได อุ้มพระนาง
ขึ้นมาทรงนาไปยังที่ประทับของพระองค์ พระราชทานยาที่พระองค์เสวยด้วยพระองค์เอง ไม่ช้าก็ทาให้พระ
นางหายจากพระโรคมีพระฉวีดุจทองคา. พระราชาก็ทรงอยู่ร่วมกับพระนางนั้น. ด้วยการอยู่ร่วมครั้งแรก
เท่านั้น พระนางก็ทรงครรภ์ ประสูติพระโอรสสององค์ ประสูติพระโอรสครั้งละสององค์ ๑๖ ครั้ง รวมเป็น
พระโอรส ๓๒ องค์ด้วยประการฉะนี้ . พระบิดาได้ให้พระโอรสผู้เจริญวัยเหล่านั้นได้ศึกษาศิลปะทุกแขนง.
ครั้นอยู่มาวันหนึ่ง พรานป่าคนหนึ่งชาวเมืองของพระรามราชาเที่ยวแสวงหารัตนะบนภูเขา
มาถึงถิ่นนั้น เห็นพระราชาก็จาได้ทูลว่า ข้าแต่พระองค์ ข้าพระพุทธเจ้าจาพระองค์ได้ พระเจ้าข้า. พระราชา
ตรัสถามว่า เจ้ามาจากไหน. พรานทูลว่า มาจากพระนครพระเจ้าข้า. แต่นั้น พระราชาตรัสถามเรื่องราว
ทั้งหมดกะเขา. เมื่อพระราชาและพรานป่าสนทนากันอยู่ พระกุมารทั้งหลายก็พากันมา.
พรานป่าเห็นพระกุมารเหล่านั้นจึงถามว่า ข้าแต่พระองค์ พวกเด็กเหล่านี้ เป็นใคร พระเจ้าข้า.
พระราชาตรัสว่า บุตรของเราเอง. ทูลว่า ขอเดชะ บัดนี้ พระองค์แวดล้อมแล้วด้วยพระกุมารถึง ๓๒ องค์
เหล่านี้ จักทรงทาอะไรในป่าเล่า ขอเชิญเสด็จไปครองราชสมบัติเถิด พระเจ้าข้า. พระราชาตรัสว่า อย่าเลย
6
พ่อคุณอยู่ที่นี้ ก็เป็นสุขดีแล้ว.
พรานป่าคิดว่า บัดนี้ เราได้เรื่องราวจากการสนทนาแล้ว จึงไปพระนครทูลพระโอรสของ
พระราชาให้ทรงทราบ. พระราชโอรสทรงดาริว่าจะต้องนาพระบิดากลับมา จึงเสด็จไป ณ ที่นั้นพร้อมด้วยจา
ตุรงคเสนา ทูลวิงวอนพระบิดาด้วยประการต่างๆ. พระราชาก็ทรงปฏิเสธว่า อย่าเลยกุมารลูกพ่อ ที่นี่ก็เป็น
สุขดีแล้ว.
แต่นั้น พระราชบุตรทรงดาริว่า บัดนี้ พระบิดาไม่ทรงปรารถนาจะเสด็จไป ช่างเถิดเราจะสร้าง
พระนครในที่นี้ แหละเพื่อพระองค์ แล้วทรงถอนต้นกระเบาออกสร้างพระราชมณเฑียรแล้วสร้างพระนคร
ทรงตั้งชื่อเป็นสองอย่างคือ โกลนคร เพราะถอนต้นกระเบาออกแล้วจึงสร้าง และพยัคฆปถะ เพราะเป็นทาง
เสือผ่าน เสร็จแล้วเสด็จกลับ.
ต่อแต่นั้น พระมารดาจึงรับสั่งกะพระกุมารผู้เจริญวัยว่า นี่แน่ะลูกๆ ทั้งหลาย เจ้าศากยะอยู่กรุง
กบิลพัสดุ์เป็นพระเจ้าน้าของลูกๆ ลูกทั้งหลายจงไปรับพระธิดาของพระเจ้าน้านั้นมาเถิด. พระกุมารทั้งหลาย
ได้ไปในวันที่พวกนางกษัตริย์ เสด็จไปสรงสนานที่แม่น้าแล้วกั้นท่าน้าประกาศชื่อแล้ว ทรงพาพระราชธิดาที่
พระองค์ปรารถนาแล้วๆ ไป. เจ้าศากยะทั้งหลายครั้นได้สดับแล้วตรัสว่า ช่างเขาเถิด พวกกุมารเหล่านั้นก็
เป็นพระญาติของพวกเราทั้งนั้น แล้วทรงนิ่งเสีย.
เมื่อกษัตริย์ศากยะและโกลิยะกระทาอาวาหมงคลและวิวาหมงคลซึ่งกันและกันอย่างนี้ พระวงศ์
ก็สืบต่อกันมาจนถึงพระเจ้าสีหหนุ. พระเจ้าสีหหนุมีพระราชบุตร ๕ พระองค์ คือ สุทโธทนะ ๑ อมิโตทนะ ๑
โธโตทนะ ๑ สุกโกทนะ ๑ สุกโขทนะ ๑.
บรรดาพระราชบุตรเหล่านั้น เมื่อพระเจ้าสุทโธทนะครองราชสมบัติ พระมหาบุรุษผู้บาเพ็ญ
บารมีจุติจากสวรรค์ชั้นดุสิต โดยนัยที่กล่าวแล้วในนิทานชาดก ทรงถือปฏิสนธิในพระครรภ์ของพระนาง
มายาเทวีประชาบดีของพระเจ้าสุทโธทนะ แล้วเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์โดยลาดับ ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิ
ญาณ ทรงประกาศพระธรรมจักรอันบวร เสด็จไปกรุงกบิลพัสดุ์โดยลาดับ ทรงโปรดพระประยูรญาติมีพระ
เจ้าสุทโธทนมหาราชเป็นต้นให้ทรงตั้งอยู่ในอริยผล เสด็จจาริกไปยังชนบทแล้วเสด็จกลับมาอีกครั้งประทับ
อยู่ ณ วัดนิโครธารามในกรุงกบิลพัสดุ์พร้อมด้วยภิกษุ ๑,๕๐๐ รูป.
พวกเจ้าศากยะและโกลิยะทะเลาะกันเรื่องน้า
อนึ่งเมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ นิโครธารามนั้น พวกเจ้าศากยะและโกลิยะทะเลาะกัน
เรื่องน้า. เรื่องเป็นอย่างไร.
เรื่องมีอยู่ว่า ในระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์และกรุงโกลิยะทั้งสองนั้นมีแม่น้าโรหิณีไหลผ่าน. แม่น้านั้น
บางครั้งก็น้าน้อย บางครั้งก็น้ามาก. ในเวลาน้าน้อย ทั้งเจ้าศากยะทั้งเจ้าโกลิยะทาสะพานนาน้าเพื่อเลี้ยง
ข้าวเจ้าของตนๆ. พวกมนุษย์ของเจ้าทั้งสองทาสะพานแย่งน้ากัน ด่ากันถึงชาติว่า เจ้าพวกวายร้าย ราช
ตระกูลของพวกเจ้าสมสู่อยู่ร่วมกันกับพวกน้องๆ ดุจสัตว์เดียรัจฉานมีไก่ สุนัข สุนัขจิ้งจอกเป็นต้น ราช
ตระกูลของพวกเจ้าสมสู่กันที่โพรงไม้ดุจพวกปีศาจ แล้วพากันไปกราบทูลพระราชาของตนๆ. พระราชา
เหล่านั้นทรงพิโรธเตรียมรบไปเผชิญหน้ากันที่ฝั่งแม่น้าโรหินี. กาลังพลได้ตั้งอยู่เช่นกับสงคราม.
7
ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงดาริว่า พวกพระญาติทะเลาะกันเรา จะต้องไปห้าม จึงเสด็จ
มาทางอากาศประทับยืน ณ ท่ามกลางเสนาทั้งสอง. อาจารย์บางพวกกล่าวว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงราพึง
ถึงพระญาติทะเลาะกัน ได้เสด็จมาจากกรุงสาวัตถี.
แล้วทรงแสดงความที่กษัตริย์เหล่านั้นเป็นพระญาติกันมาช้านานแล้ว ตรัสมหาวงศ์นี้ กษัตริย์
เหล่านั้นทรงเลื่อมใสอย่างยิ่งเมื่อได้ทรงทราบว่า เมื่อก่อนพวกเราก็เป็นพระญาติกัน. แต่นั้นกษัตริย์ทั้งสอง
วงศ์ได้มอบกุมาร ๕๐๐ คือกุมารฝ่ายเจ้าศากยะ ๒๕๐ กุมารฝ่ายเจ้าโกลิยะ ๒๕๐ เพื่อเป็นบริวารของพระผู้มี
พระภาคเจ้า.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเห็นบุรพเหตุของกุมารเหล่านั้น จึงตรัสว่า เธอทั้งหลายจงเป็นภิกษุมา
เถิด. ภิกษุทั้งหมดเหล่านั้นได้บริขาร ๘ อันเกิดขึ้นด้วยฤทธิ์เหาะไปในอากาศ มายืนถวายบังคมพระผู้มีพระ
ภาคเจ้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพาภิกษุเหล่านั้นไปป่ามหาวัน. บรรดาภรรยาของภิกษุเหล่านั้นต่างก็พา
กันส่งข่าวไปให้ทราบ ภิกษุเหล่านั้นถูกภรรยาเล้าโลมโดยประการต่างๆ จึงกระสัน.
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบว่าภิกษุเหล่านั้นกระสัน ทรงประสงค์จะแสดงป่าหิมพานต์
บรรเทาความกระสันของภิกษุเหล่านั้น ด้วยตรัสกุณาลชาดก ณ ที่นั้น ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอ
เคยเห็นป่าหิมวันต์หรือ. กราบทูลว่า ไม่เคยเห็น พระเจ้าข้า. ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงมาดู
ทรงนาภิกษุเหล่านั้นไปทางอากาศด้วยฤทธิ์ของพระองค์ ทรงแสดงภูเขาหลายลูกว่า นี้ สุวรรณบรรพต นี้ รชต
บรรพต นี้ มณีบรรพต แล้วประทับยืนอยู่ ณ พื้นหินอ่อนใกล้สระนกดุเหว่า. แต่นั้นทรงอธิษฐานว่า บรรดา
สัตว์เดียรัจฉานประเภทสี่เท้าเป็นต้นทั้งหมดจงมาในภูเขาหิมวันตะเถิด นกดุเหว่ามาหลังเพื่อน.
พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะทรงพรรณนาถึงสัตว์ที่มาโดยชาติ ชื่อและภาษา จึงทรงแจ้งแก่ภิกษุ
เหล่านั้นว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้ หงส์ นี้ นกกระเรียน นี้ นกจากพราก นี้ นกการเวก นี้ นกงวงช้าง นี้ นก
นางนวล. ภิกษุทั้งหลายมีความสงสัยเมื่อเห็นสัตว์เหล่านั้น ได้เห็นนกดุเหว่าที่มาทีหลังนกทั้งหมด แวดล้อม
ด้วยนางนกพันตัว จับกลางไม้ที่นางนกสองตัว เอาจะงอยปากคาบพาไป เกิดอัศจรรย์ใจที่ไม่เคยมีมา จึง
กราบทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ แม้พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงเคยเป็นพญานก
ดุเหว่าอยู่ในที่นี้ มิใช่หรือ. ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถูกแล้ว เราได้สร้างวงศ์นกดุเหว่าขึ้นมา
ตรัสมหากุณาลชาดกครบครันว่า ก็ในอดีตกาล เราทั้งสี่อาศัยอยู่ ณ ที่นี้ คือ นารท ๑ เทวิละ ๑
เป็นฤษี พญาแร้งชื่ออานันทะ ๑ เราเป็นนกดุเหว่าสีเหลืองชื่อปุณณมุขะ ๑. ครั้นภิกษุเหล่านั้นฟังแล้ว ความ
กระสันที่เกิดขึ้นเนื่องจากภรรยาเก่าของภิกษุเหล่านั้นก็สงบลง.
แต่นั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสสัจกถาแด่ภิกษุเหล่านั้น เมื่อจบสัจกถา ภิกษุรูปที่บวช
ภายหลังได้เป็นพระโสดาบัน รูปที่บวชก่อนทั้งหมดได้เป็นพระอนาคามี ไม่มีที่เป็นปุถุชน หรือพระอรหันต์
แม้แต่รูปเดียว.
แต่นั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพาภิกษุเหล่านั้นขึ้นสู่ป่ามหาวันอีกครั้ง.
อนึ่ง ภิกษุเหล่านั้น เมื่อมาก็มาด้วยฤทธิ์ของตน. ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงธรรม
แก่ภิกษุเหล่านั้นอีก เพื่อประโยชน์แก่มรรคชั้นสูงขึ้นไป. ภิกษุ ๕๐๐ รูปเหล่านั้นเจริญวิปัสสนา ตั้งอยู่ใน
อรหัตผล. ภิกษุที่บรรลุก่อนได้ไปก่อนทีเดียวด้วยคิดว่า เราจักกราบทูลแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า. ก็ครั้นภิกษุ
8
นั้นมาถึงแล้ว จึงกราบทูลว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ข้าพระองค์ย่อมยินดียิ่ง ไม่กระสันอยู่ ดังนี้ แล้ว ถวาย
บังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า นั่ง ณ ส่วนข้างหนึ่ง. ภิกษุเหล่านั้นทั้งหมดมาถึงโดยลาดับ นั่งแวดล้อมพระผู้มี
พระภาคเจ้า. ในวันอุโบสถเดือนเจ็ดตอนเย็น เทวดาในหมื่นจักรวาลยกเว้นจาพวกอสัญญีสัตว์และอรูป
พรหม ต่างนิรมิตอัตภาพละเอียด ตามนัยที่กล่าวแล้วในอรรถกถามงคลสูตร พากันแวดล้อมพระผู้มีพระ
ภาคเจ้าซึ่งประทับนั่ง ณ วรพุทธาสนะอันพระขีณาสพ ๕๐๐ แวดล้อมแล้ว คิดว่า เราจักฟังพระธรรมเทศนา
อันวิจิตรเฉียบแหลม.
บรรดาพรหมเหล่านั้น พรหมผู้เป็นขีณาสพ ๔ องค์ออกจากสมาบัติไม่เห็นหมู่พรหม ราพึงว่า
พวกพรหมไปไหนกันหมด ครั้นทราบความนั้นแล้วจึงมาทีหลัง เมื่อไม่ได้โอกาสในป่ามหาวัน จึงยืนอยู่บน
ยอดจักรวาล ได้กล่าวปัจเจกคาถาทั้งหลาย ดังที่ท่านกล่าวไว้ดังต่อไปนี้ .
ครั้งนั้นแล เทวดาชั้นสุทธาวาสสี่องค์ได้คิดกันว่า พระผู้มีพระภาคเจ้านี้ แลประทับอยู่ ณ ป่ามหา
วันใกล้กรุงกบิลพัสดุ์ ในแคว้นสักกะพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ ทั้งหมดล้วนเป็นพระ
อรหันต์. อนึ่ง เทวดาทั้งหลายจากโลกธาตุสิบโดยมากมาประชุมกัน เพื่อเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าและภิกษุ
สงฆ์ ถ้ากระไรแม้เราก็พึงเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ครั้นเข้าไปเฝ้าแล้ว พึงกล่าวปัจเจกคาถาใน
สานักของพระผู้มีพระภาคเจ้า.
ก็ครั้นกล่าวอย่างนี้ แล้ว พรหมองค์หนึ่ง ณ ที่นั้นได้โอกาสบนยอดจักรวาลด้านทิศตะวันออก
ประดิษฐานอยู่บนยอดจักรวาลนั้น ได้กล่าวคาถาความว่า วันนี้ เป็นมหาสมัยในป่ าใหญ่ หมู่เทวดามา
ประชุมกัน เรามาสู่ธรรมสมัยนี้ เพื่อจะเห็นพระพุทธเจ้าและพระสงฆ์ผู้ชนะมารแล้ว.
เมื่อพรหมนั้นกล่าวคาถานี้ พวกพรหมที่ประดิษฐานอยู่ ณ ภูเขาจักรวาลด้านทิศตะวันตกได้ยิน
เสียง. พรหมองค์ที่สองได้โอกาสบนยอดจักรวาลด้านทิศตะวันตก ประดิษฐานอยู่บนยอดจักรวาลนั้น
สดับคาถานั้น จึงได้กล่าวคาถาความว่า ภิกษุทั้งหลายในที่ประชุมนั้นมั่นคงแล้ว เหมือนสารถีถือเชือก
ยืนอยู่ ท่านเป็นบัณฑิตรักษาอินทรีย์ทั้งหลาย.
พรหมองค์ที่สามได้โอกาสบนยอดจักรวาลด้านทิศใต้ ประดิษฐานอยู่บนจักรวาลนั้น สดับ
คาถานั้นแล้วได้กล่าวคาถานี้ ความว่า ภิกษุเหล่านั้นตัดกิเลสดุจตะปู ตัดกิเลสดุจลิ่ม ตัดกิเลสดุจเสา
เขื่อน เป็นผู้ไม่หวั่นไหว ท่านเป็นผู้หมดจดไม่มีมลทินเที่ยวไป ท่านเป็นพระนาคหนุ่ม มีดวงตาฝึกฝนดี
แล้ว.
พรหมองค์ที่สี่ได้โอกาสบนยอดจักรวาลด้านทิศเหนือ ประดิษฐานอยู่บนยอดจักรวาลนั้น
สดับคาถานั้นแล้วได้กล่าวคาถาความว่า ชนทั้งหลายเหล่าใดเหล่าหนึ่งถึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นสรณะ ชน
ทั้งหลายเหล่านั้นจักไม่ถึงอบายภูมิ ละกายของมนุษย์แล้ว จักยังกายเทพให้บริบูรณ์.
พรหมที่ประดิษฐานอยู่ ณ จักรวาลด้านทิศใต้ ได้สดับเสียงของพรหมนั้น.
ในครั้งนั้น พรหมสี่องค์เหล่านี้ ได้ยืนชมเชยบริษัทด้วยประการฉะนี้ . มหาพรหมได้ยืน
ครอบจักรวาลเป็นอันเดียวกัน.
9
ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรวจดูเทพบริษัทแล้ว ทรงแจ้งแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ความว่า
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายเหล่านั้นใด ได้มีแล้วในอดีตกาล เทวดาทั้งหลาย
ประมาณเท่านี้ แหละได้ประชุมกันเพื่อเห็นพระพุทธเจ้า เพื่อเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าทั้งหลายพระองค์นั้น
เหมือนเหล่าเทวดาประชุมกันเพื่อเห็นเราในบัดนี้
ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายเหล่านั้นใดจักมีในอนาคต เทวดา
ทั้งหลายมีประมาณเท่านี้ แหละ จักประชุมกันเพื่อเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เหมือนเทวดา
ทั้งหลายประชุมกันเพื่อเห็นเราในบัดนี้ .
ลาดับนั้น เทพบริษัทนั้นแยกออกเป็นสองพวกทั้งที่เป็นภัพพสัตว์และอภัพพสัตว์ พวกเป็นภัพพ
สัตว์มีประมาณเท่านี้ พวกเป็นอภัพพสัตว์มีประมาณเท่านี้ . บรรดาเทพบริษัทเหล่านั้น บริษัทที่เป็นอภัพพะ
แม้เมื่อพระพุทธเจ้าร้อยพระองค์ทรงแสดงธรรม ก็ไม่ตรัสรู้ได้ ส่วนบริษัทที่เป็นภัพพะสามารถรู้ได้.
ครั้นรู้แล้วยังแบ่งภัพพบุคคลออกเป็นหกประเภทด้วยสามารถจริต คือประเภทราคจริตประมาณ
เท่านี้ ประเภทโทสจริต โมหจริต วิตักกจริต สัทธาจริต พุทธิจริตประมาณเท่านี้ . ครั้นกาหนดจริตอย่างนี้
แล้ว ทรงเลือกเฟ้นธรรมกถาว่า การแสดงธรรมชนิดไร จึงจะเป็นที่สบายแก่บริษัทนั้นๆ ได้ทรงใฝ่พระทัยถึง
บริษัทนั้นๆ อีกว่าบริษัทนั้นพึงรู้ได้โดยอัธยาศัยของตนหรือหนอ หรือพึงรู้ได้โดยอัธยาศัยของผู้อื่นด้วย
อานาจแห่งเรื่องเกิดขึ้น ด้วยอานาจคาถาม.
แต่นั้นทรงทราบว่าพึงรู้ได้ด้วยคาถาม ทรงราพึงถึงบริษัททั้งสิ้นต่อไปอีกว่า ผู้สามารถจะถาม
ปัญหามีอยู่หรือไม่มี ครั้นทรงทราบว่าไม่มีใคร จึงทรงดาริว่า หากเราถามเอง แก้เอง ก็จะไม่เป็นที่สบายแก่
บริษัทนี้ ถ้ากระไรเราควรเนรมิตพระพุทธนิมิต จึงทรงเข้าสมาบัติมีฌานเป็นบาท ครั้นทรงออกจากฌาน
แล้ว ทรงปรับปรุงด้วยมโนมยิทธิ ทรงเนรมิตพระพุทธนิมิต.
พระพุทธนิมิตได้ปรากฏพร้อมด้วยจิตอธิษฐานว่า ขอจงสมบูรณ์ด้วยลักษณะแห่งอวัยวะน้อย
ใหญ่ทั้งหมด ทรงบาตรและจีวร ถึงพร้อมด้วยการมองดูและการเหลียวดูเป็นต้น. พระพุทธนิมิตนั้นเสด็จมา
จากปาจีนโลกธาตุประทับนั่งบนอาสนะเสมอพระผู้มีพระภาคเจ้า พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสพระสูตร ๖ พระ
สูตรด้วยสามารถจริตในสมาคมนี้ คือ ปุราเภทสูตร ๑ กลหวิวาทสูตร ๑ จูฬพยูหสูตร ๑ มหาพยูหสูตร
๑ ตุวฏกสูตร ๑ และสัมมาปริพพาชนิยสูตรนี้ แหละ
ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงปรารภว่า เพราะผู้ที่ยังไม่ถึงความสิ้นอาสวะ จะชื่อว่าเว้นรอบ
โดยชอบไม่มี ฉะนั้น เมื่อพระองค์ทรงกาหนดประชุมแห่งภัพพบุคคล ด้วยสามารถแห่งจริตมีราคจริตเป็นต้น
ในภิกษุนั้น จึงทรงปรารภคานั้นๆ ว่า เป็นมงคลแก่ภิกษุใด ดังนี้ เพื่อละโทษที่หมู่เทวดาซึ่งมีโทษเสมอกัน
เหล่านั้น ประพฤติเป็นอาจิณ เมื่อจะทรงประกาศถึงปฏิปทาของพระขีณาสพด้วยยอดคือพระอรหัต จึงได้
ตรัสพระคาถา ๑๕ พระคาถา.
เมื่อจบพระสูตร เทวดาแสนโกฏิได้บรรลุผลอันเลิศ ส่วนผู้ที่บรรลุพระโสดาปัตติผล
สกทาคามิผลและอนาคามิผลนับไม่ถ้วน.
-----------------------------------------------------

More Related Content

Similar to ๒๑.๑ สัมมาปริพพาชนียสูตร มจร.pdf

(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf
(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf
(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdfmaruay songtanin
 
(๒๐) พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี มจร.pdf
(๒๐) พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี มจร.pdf(๒๐) พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี มจร.pdf
(๒๐) พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี มจร.pdfmaruay songtanin
 
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf
๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf
๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้Tongsamut vorasan
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๖.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๖.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๖.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๖.pdfmaruay songtanin
 
๐๖ วัมมิกสูตร มจร.pdf
๐๖ วัมมิกสูตร มจร.pdf๐๖ วัมมิกสูตร มจร.pdf
๐๖ วัมมิกสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
(๒๓) พระปฏาจาราเถรี มจร.pdf
(๒๓) พระปฏาจาราเถรี มจร.pdf(๒๓) พระปฏาจาราเถรี มจร.pdf
(๒๓) พระปฏาจาราเถรี มจร.pdfmaruay songtanin
 
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdfmaruay songtanin
 
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลYota Bhikkhu
 
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 

Similar to ๒๑.๑ สัมมาปริพพาชนียสูตร มจร.pdf (20)

(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf
(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf
(๒๑) พระอุบลวรรณาเถรี มจร.pdf
 
(๒๐) พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี มจร.pdf
(๒๐) พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี มจร.pdf(๒๐) พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี มจร.pdf
(๒๐) พระมหาปชาบดีโคตมีเถรี มจร.pdf
 
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
 
๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf
๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf
๒๑.๒ ปุราเภทสูตร มจร.pdf
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๖.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๖.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๖.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๖.pdf
 
๐๖ วัมมิกสูตร มจร.pdf
๐๖ วัมมิกสูตร มจร.pdf๐๖ วัมมิกสูตร มจร.pdf
๐๖ วัมมิกสูตร มจร.pdf
 
(๒๓) พระปฏาจาราเถรี มจร.pdf
(๒๓) พระปฏาจาราเถรี มจร.pdf(๒๓) พระปฏาจาราเถรี มจร.pdf
(๒๓) พระปฏาจาราเถรี มจร.pdf
 
200789830 katin
200789830 katin200789830 katin
200789830 katin
 
-------------- --- 1
 -------------- --- 1 -------------- --- 1
-------------- --- 1
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
06 มหาโควินทจริยา มจร.pdf
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๕.pdf
 
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาลพุทธศาสนาหลังพุทธกาล
พุทธศาสนาหลังพุทธกาล
 
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
13 ภูริทัตตจริยา มจร.pdf
 

More from maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

๒๑.๑ สัมมาปริพพาชนียสูตร มจร.pdf

  • 1. 1 มหาสมัยสูตร และพระสูตรที่เกี่ยวเนื่อง ตอนที่ ๒ สัมมาปริพพาชนียสูตร พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๑๙ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๖ เกริ่นนา ในพระสูตรสัมมาปริพพาชนียสูตรนี้ เป็นการแสดงพระธรรมเทศนาให้เหล่าเทวดาและพระพรหม ที่มาเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ที่ได้กล่าวไว้ในมหาสมัยสูตร เมื่อพระพุทธนิมิตถามปัญหา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึง ได้ตรัสพระสูตรสัมมาปริพพาชนียะนี้ (พระสูตรว่าด้วยเรื่องที่พึงเว้นโดยชอบ) แก่พวกเทวดาและพระพรหม ที่เป็นพวกราคะจริต สัมมาปริพพาชนียสูตร พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต ๑๓. สัมมาปริพพาชนียสูตร ว่าด้วยภิกษุควรละเว้นอยู่ในโลกโดยชอบ [๓๖๒] (พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้ ) ข้าพระองค์ขอทูลถามพระมุนีผู้มีปัญญามาก ทรงข้ามโอฆะได้แล้วปรินิพพาน มีพระทัย มั่นคง ภิกษุนั้นบรรเทากามทั้งหลาย ออกจากเรือน (มาบวช) แล้ว พึงละเว้นอยู่ในโลกโดยชอบได้อย่างไร [๓๖๓] (พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ ) ภิกษุผู้ตัดขาดการเชื่อสิ่งที่เห็นเป็นต้นว่า เป็นมงคล การยึดถืออุกกาบาตตก ความฝัน และการทานายลักษณะ ละสิ่งที่ทาให้เกิดผลเสียต่อมงคลได้เด็ดขาด ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ [๓๖๔] ภิกษุพึงกาจัดความกาหนัดในกามทั้งหลาย ทั้งที่เป็นของมนุษย์ และที่เป็นทิพย์ ภิกษุนั้น ตรัสรู้ธรรมแล้ว ก้าวพ้นภพได้แล้ว ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ [๓๖๕] ภิกษุกาจัดความส่อเสียดแล้ว พึงละความโกรธ ความตระหนี่ ภิกษุนั้นละความยินดีและ ความยินร้ายได้แล้ว ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ [๓๖๖] ภิกษุละสิ่งอันเป็นที่รักและไม่เป็นที่รักแล้ว ไม่ถือมั่น ผู้ไม่มีตัณหาและทิฏฐิอาศัยในภพ ไหนๆ หลุดพ้นแล้วจากธรรมเป็นที่ตั้งแห่งสังโยชน์ ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ [๓๖๗] ภิกษุกาจัดฉันทราคะในสิ่งที่พึงยึดถือทั้งหลาย ไม่เห็นความเป็นสาระในอุปธิทั้งหลาย (อุปธิ ในที่นี้ หมายถึงขันธ์ ๕) ภิกษุนั้นผู้ไม่มีตัณหาและทิฏฐิอาศัย ใครๆ พึงชักนาไปไม่ได้ ชื่อว่า ละเว้นอยู่ ในโลกได้โดยชอบ
  • 2. 2 [๓๖๘] ภิกษุผู้ไม่ผิดพลาดทางกาย วาจา และใจ รู้แจ้งซึ่งธรรมโดยชอบ ปรารถนาบทคือนิพพาน อยู่ ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ [๓๖๙] ภิกษุรู้จักเคารพนบไหว้ ไม่ถือตัว ถึงถูกด่าว่าก็ไม่โกรธ ได้ภัตตาหารที่ผู้อื่นถวายประจา แล้วก็ไม่ประมาทมัวเมา ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ [๓๗๐] ภิกษุละความโลภและกามภพเป็นต้นได้แล้ว เว้นขาดจากการฆ่าฟัน และการจองจาผู้อื่น ตัดความสงสัยได้แล้ว ปราศจากกิเลสดุจลูกศร ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ [๓๗๑] ภิกษุผู้รู้ข้อปฏิบัติที่สมควรแก่ตน รู้แจ้งสัจธรรมตามความเป็นจริง ไม่เบียดเบียนสัตว์โลก ทุกชนิด ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ [๓๗๒] ภิกษุไม่มีอนุสัยกิเลสใดๆ ถอนรากอกุศลธรรมได้หมดสิ้น ไม่มีความหวัง ปราศจากตัณหา โดยสิ้นเชิง ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ [๓๗๓] ภิกษุผู้สิ้นอาสวะแล้ว ละมานะได้เด็ดขาด ล่วงพ้นทางแห่งราคะ (ทางแห่งราคะ หมายถึง ธรรมอันเป็นไปในภูมิ ๓ (กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ)) ทั้งหมด ฝึกตนได้ ดับกิเลสลงได้อย่างสิ้นเชิง ดารงตน มั่นคง ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ [๓๗๔] ภิกษุมีศรัทธามั่นคง เป็นผู้ได้สดับอย่างดี เห็นทางปฏิบัติอันถูกต้อง เป็นนักปราชญ์ ผู้ไม่ คล้อยตามไปในฝักฝ่ายมิจฉาทิฏฐิ ขจัดโลภะ โทสะคือความขุ่นเคืองใจได้ ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ [๓๗๕] ภิกษุเอาชนะกิเลสได้ด้วยอรหัตตมรรคที่หมดจดดี ไม่มีกิเลสเครื่องปิดบัง เชี่ยวชาญใน ธรรมทั้งหลาย (ธรรมทั้งหลาย ในที่นี้ หมายถึงอริยสัจ ๔) เป็นผู้ถึงฝั่ง หมดตัณหาอันทาให้หวั่นไหว มีความ ฉลาดในญาณเป็นที่ดับสังขาร ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ [๓๗๖] ภิกษุล่วงพ้นความกาหนดที่ถือว่าเป็นของเรา ในเบญจขันธ์ทั้งที่เป็นอดีตและอนาคต มี ปัญญาบริสุทธิ์ เป็นผู้หลุดพ้นจากอายตนะทั้งปวงได้เด็ดขาด ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดยชอบ [๓๗๗] ภิกษุรู้แจ้งสภาวะที่ควรเข้าถึง จนได้บรรลุธรรม เห็นการละอาสวะทั้งหลายเป็นวิวฏะ (ใน ที่นี้ หมายถึงนิพพาน) ไม่ติดข้องอยู่ในภพไหนๆ เพราะอุปธิทั้งปวงหมดสิ้นไปแล้ว ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้ โดยชอบ [๓๗๘] (พระพุทธเนรมิตทูลสรุปดังนี้ ) ข้าแต่พระผู้มีพระภาค ที่พระองค์ตรัสมาทั้งหมดนั้นถูกต้องทีเดียว ภิกษุใดมีความ ประพฤติเช่นนี้ อยู่ประจา ฝึกฝนตนแล้ว เป็นผู้ข้ามสังโยชน์และโยคะทั้งปวงได้ ชื่อว่า ละเว้นอยู่ในโลกได้โดย ชอบ สัมมาปริพพาชนียสูตรที่ ๑๓ จบ ------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบางส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย สุตตนิบาต จูฬวรรค สัมมาปริพพาชนิยสูตร อรรถกถาสัมมาปริพพาชนิยสูตรที่ ๑๓
  • 3. 3 ถามว่า มีการเกิดขึ้นอย่างไร? ตอบว่า มีการเกิดขึ้นเพราะมีคาถาม. ด้วยว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าถูกพระพุทธนิมิตถาม จึงได้ตรัสพระสูตรนี้ พร้อมกับคาถามพระสูตร นั้น ท่านจึงเรียกว่า สัมมาปริพพาชนิยสูตรบ้าง. ความย่อในพระสูตรนี้ มีเพียงนี้ . ส่วนโดยพิสดารนั้น พระโบราณาจารย์ได้พรรณนาไว้ตั้งแต่การอุบัติของสากิยวงศ์และโกลิยวงศ์ การพรรณนาไว้เพียงอุเทศในเรื่องนี้ มีดังต่อไปนี้ . ก็ครั้งปฐมกัป พระเจ้ามหาสมมติราชได้มีพระโอรสพระนามว่าโรชะ. พระเจ้าโรชะได้มี พระโอรสพระนามว่าวโรชะ. พระเจ้าวโรชะได้มีพระโอรสพระนามว่ากัลยาณะ. พระเจ้ากัลยาณะได้มี พระโอรสพระนามว่าวรกัลยาณะ พระเจ้าวรกัลยาณะได้มีพระโอรสพระนามว่ามันธาตุ. พระเจ้ามันธาตุได้มี พระโอรสพระนามว่าวรมันธาตุ. พระเจ้าวรมันธาตุได้มีพระโอรสพระนามว่าอุโปสถะ. พระเจ้าอุโปสถะได้มี พระโอรสพระนามว่าจระ. พระเจ้าจระได้มีพระโอรสพระนามว่าอุปจระ. พระเจ้าอุปจระได้มีพระโอรสพระ นามว่าพระมฆาเทวะ. สืบต่อจากพระเจ้ามฆาเทวะได้มีกษัตริย์ ๘๔,๐๐๐ พระองค์ ต่อจากกษัตริย์ ๘๔,๐๐๐ พระองค์ เหล่านั้นได้มีวงศ์โอกกากราช ๓ วงศ์. พระเจ้าโอกกากราชองค์ที่ ๓ มีพระมเหสี ๕ องค์ คือ พระนางหัตถา ๑ พระนางจิตตา ๑ พระนางชันตุ ๑ พระนางชาลินี ๑ พระนางวิสาขา ๑. พระมเหสีองค์หนึ่งๆ มีหญิงบริวาร องค์ละ ๕๐๐. พระมเหสีองค์ใหญ่มีโอรส ๔ พระองค์ คือ เจ้าชายโอกกามุขะ ๑ เจ้าชายกากัณฑะ ๑ เจ้าชาย หัตถินิกะ ๑ เจ้าชายนิปุระ ๑. มีพระธิดา ๕ พระองค์ คือ เจ้าหญิงปิยา ๑ เจ้าหญิงสุปปิยา ๑ เจ้าหญิงอานัน ทา ๑ เจ้าหญิงวิชิตา ๑ เจ้าหญิงวิชิตเสนา ๑. ครั้นพระมเหสีองค์ใหญ่ได้พระโอรสพระธิดา ๙ องค์แล้วก็สิ้นพระชนม์. พระราชาจึงทรงนาราชธิดาซึ่งยังสาว ทั้งมีรูปโฉมงดงามองค์อื่นมาตั้งไว้ในตาแหน่งพระอัคร มเหสี. พระอัครมเหสีได้ประสูติพระโอรสองค์หนึ่ง ครั้นประสูติได้ ๕ วัน พวกนางนมได้ตกแต่งพระชันตุ กุมารนามาเฝ้าพระราชา. พระราชาทรงยินดีได้พระราชทานพรแด่พระมเหสี. พระนางจึงทรงปรึกษากับ บรรดาพระญาติทูลขอราชสมบัติให้แก่พระโอรส. พระราชาทรงพิโรธว่า หญิงถ่อยใจชั่ว เจ้าจงพินาศเสียเถิด เจ้าปรารถนาให้พวกโอรสของเราได้รับอันตราย แล้วไม่พระราชทานตามที่พระมเหสีทูลขอ. พระอัครมเหสี ประเล้าประโลมพระราชาในที่ลับบ่อยๆ ครั้นให้ทรงพอพระทัยแล้ว ทูลพระดารัสมีอาทิว่า ข้าแต่พระองค์ผู้ เป็นมหาราช ไม่ควรกล่าวคาเท็จ แล้วทูลวิงวอนซ้าแล้วซ้าอีก. ลาดับนั้น พระราชาตรัสเรียกพระโอรสทั้งหลายมาตรัสว่า ดูก่อนลูกๆ ทั้งหลาย พ่อเห็นชันตุ กุมารน้องของพวกลูก จึงได้ผลุนผลันให้พรแก่มารดาของชันตุกุมาร เธอประสงค์จะให้โอรสครองราชสมบัติ เมื่อพ่อล่วงลับไปแล้ว ลูกๆ พึงมาครองราชสมบัติเถิด แล้วทรงส่งไปกับอามาตย์ ๘ คน. พระราชกุมาร เหล่านั้นได้พาพระพี่นางพระน้องนาง ออกจากพระนครพร้อมด้วยจตุรงคเสนา.
  • 4. 4 พวกชาวพระนครรู้ว่า พระกุมารจะเสด็จมาครองราชสมบัติเมื่อพระบิดาสวรรคตแล้ว จึงคิดว่า พวกเราจะติดตามไปอุปัฏฐากพระกุมารเหล่านั้น ก็พากันตามเสด็จไปเป็นอันมาก. ในวันแรกได้มีหนุ่มเสนา ประมาณ ๑ โยชน์ ในวันที่สองประมาณ ๒ โยชน์ ในวันที่สามประมาณ ๓ โยชน์. พระราชกุมารทั้งหลายทรงดาริว่า พลนิกายมีมาก หากเราจะยกไปตีพระราชาใกล้เคียงเมือง หนึ่งเมืองใด ชิงเอาบ้านเมือง ชนบททั้งหมดก็จะพ่ายแพ้เรา แต่ประโยชน์อะไรด้วยราชสมบัติที่ได้มาเพราะ เบียดเบียนผู้อื่น ชมพูทวีปก็กว้างใหญ่ เราจะสร้างนครในป่า จึงพากันเสด็จบ่ายหน้าไปยังป่าหิมพานต์. พระราชกุมารแสวงหาที่จะสร้างพระนคร ที่ป่านั้นมีพระดาบสชื่อกปิละ มีตบะแรงกล้า อาศัยอยู่ ในป่าไม้สากะใกล้ฝั่งโบกขรณี ณ ป่าหิมพานต์ พระราชกุมารไปถึงที่อยู่ของดาบสนั้น. ดาบสเห็นพระราช กุมารเหล่านั้นจึงถาม ครั้นทราบเรื่องราวทั้งหมดจึงได้ทาการอนุเคราะห์พระราชกุมารเหล่านั้น. นัยว่า พระดาบสนั้นรู้ภูมิชัยวิทยา เห็นคุณและโทษในอากาศสูงขึ้นไปได้ ๘๐ ศอกและใต้พื้นดิน ลงไป ๘๐ ศอก. ณ ภูมิประเทศนั้น หมูและเนื้ อทั้งหลายทาให้ราชสีห์และเสือเป็นต้นหวาดกลัวหนีกลับไป กบและหนูทั้งหลายทาให้งูเกรงกลัว. ดาบสครั้นเห็นพระราชกุมารเหล่านั้น จึงทูลว่า ภูมิประเทศนี้ เป็นพื้นปฐพีอันล้าเลิศ จึงให้สร้าง พระนคร ณ ที่นั้น. ครั้งนั้น พระดาบสได้ทูลพระราชกุมารว่า หากพระองค์จะสร้างพระนครใช้ชื่อของข้า พระองค์ ข้าพระองค์ก็ยินดี. พระราชกุมารทรงรับคาดาบส. พระดาบสกล่าวว่าแม้บุตรคนจัณฑาลสถิตอยู่ใน ที่นี้ ก็จะข่มขี่พระเจ้าจักรพรรดิด้วยกาลังได้ แล้วกราบทูลให้สร้างพระราชมณเฑียร แล้วสร้างพระนคร ณ ที่ตั้งอาศรม ครั้นดาบสถวายที่นั้นแล้ว ตนเองก็สร้างอาศรมอาศัยอยู่ ณ เชิงเขาไม่ไกลนัก. จากนั้น พระราชกุมารทั้งหลายจึงสร้างพระนคร ณ ที่นั้นให้จารึกชื่อว่า กบิลพัสดุ์ เพราะกปิ ลดาบสประสิทธิ์ให้ แล้วเสด็จอาศัยอยู่ ณ กรุงกบิลพัสดุ์นั้น. ลาดับนั้น พวกอามาตย์คิดว่า พระกุมารเหล่านี้ ทรงเจริญวัยแล้ว หากอยู่ในสานักของพระบิดา ก็ จะกระทาอาวาหมงคลและวิวาหมงคล แต่บัดนี้ เป็นภาระของพวกเรา จึงพากันไปทูลปรึกษากับพระกุมาร. พระกุมารตรัสว่า เรามิได้เห็นธิดาของกษัตริย์อื่นเสมอด้วยเรา และเราไม่เห็นขัตติยกุมารเหล่าอื่นเสมอด้วย พระเชษฐภคินีและพระกนิษฐภคินีเหล่านั้นเลย อนึ่ง เราจะไม่ทาการปะปนชาติ เพราะกลัวการปะปนชาติ. จึงตั้งพระเชษฐภคินีไว้ในฐานะพระมารดา แล้วอภิเษกสมรสกับพระกนิษฐภคินีเป็นคู่ๆ กันไป. พระบิดาของพระราชกุมารเหล่านั้น ครั้นทรงทราบเรื่องราวทั้งหมดแล้วทรงเปล่งอุทาน ว่า สักยะ สักยะ. นี้ เป็นเรื่องราวที่เกิดขึ้นแล้ว สมจริงดังที่พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสไว้ว่า ดูก่อนอัมพัฏฐะ ครั้งนั้นแล พระเจ้าโอกกากราชได้ตรัสถามที่ประชุมเหล่าอามาตย์ว่า บัดนี้ ราช กุมารทั้งหลายพากันไปพักอยู่ที่ไหน. พวกอามาตย์กราบทูลว่า ขอเดชะ ณ ฝั่งโบกขรณี ข้างหิมวันตประเทศ มีป่าไม้สากะอยู่มาก บัดนี้ พระราชกุมารทั้งหลายพากันไปพักอยู่ ณ ป่าไม้นั้น พระราชกุมารเหล่านั้นทรง กลัวการระคนด้วยชาติ จึงอยู่ร่วมกันกับพระภคินีของตนๆ พระเจ้าข้า. ดูก่อนอัมพัฏฐะ ครั้งนั้นแล พระเจ้าโอกกากราชทรงเปล่งอุทานว่า ท่านทั้งหลาย กุมารทั้งหลาย เป็นผู้สามารถหนอ กุมารทั้งหลายเป็นผู้สามารถอย่างยิ่งหนอ.
  • 5. 5 ดูก่อนอัมพัฏฐะ เจ้าสักยะทั้งหลายย่อมปรากฏ ตั้งแต่ครั้งนั้นเป็นต้นมา และพระเจ้าโอกกาก ราชนั้นเป็นบรรพบุรุษของเจ้าศากยะทั้งหลาย ดังนี้ . ครั้นต่อมาพระเชฏฐภคินีของพระกุมารเหล่านั้นได้เป็นโรคเรื้อน พระวรกายได้ปรากฏเหมือน ดอกทองหลาง. พระราชกุมารทั้งหลายทรงดาริว่า พระโรคนี้ ย่อมติดต่อแก่ผู้ที่นั่งที่ยืนและบริโภคร่วมกับ พระเชษฐภคินีนี้ จึงทูลเชิญพระนางให้เสด็จขึ้นบนรถ ทาเป็นดุจจะไปชมสวน แล้วเสด็จเข้าป่ารับสั่งให้ขุดบ่อ ลึกทาเป็นเรือนพอสังเขปใต้พื้นดิน วางพระนางลงในบ่อนั้นพร้อมด้วยของควรเคี้ยวและควรบริโภค ปิด ข้างบนเกลี่ยฝุ่นแล้วเสด็จไป. ก็สมัยนั้น พระราชาพระนามว่ารามะ เป็นโรคเรื้อนถูกพวกสนมและพวกฟ้อนราพากันรังเกียจ ทรงสลดพระทัย มอบราชสมบัติให้พระโอรสองค์ใหญ่เสด็จเข้าป่า เสวยรากไม้และผลไม้ในป่านั้น ไม่ช้าก็ หายพระโรค มีพระฉวีดุจทองคา เสด็จไปตามที่ต่างๆ ทอดพระเนตรเห็นต้นไม้มีโพรงใหญ่ ทรงทาความ สะอาดโพรงไม้นั้นประมาณ ๑๖ ศอก ภายในโพรงไม้นั้นทรงกระทาประตูหน้าต่าง พาดบันไดเสด็จประทับ อยู่ในโพรงนั้น. พระองค์ก่อไฟที่หลุมถ่านเพลิงแล้วบรรทม ได้ทรงสดับเสียงร้องครวญครางและเสียงคาราม ในราตรี พระองค์ทรงกาหนดว่า ที่ตรงโน้นสีหะแผดเสียง ตรงโน้นเสือคาราม ครั้นสว่างจึงเสด็จไป ณ ที่นั้น ทรงถือเนื้ อที่เป็นเดน (ของสัตว์) ปิ้ งเสวย. อยู่มาวันหนึ่ง ตอนใกล้รุ่ง พระองค์ประทับนั่งตามไฟอยู่. ขณะนั้น เสือโคร่งได้กลิ่นพระราชธิดา จึงตะกายที่พื้นนั้นทาให้เป็นช่องบนพื้นกระดาน. พระนางทรงเห็นเสือทางช่องนั้น ทรงตกพระทัยกลัวร้อง กรี๊ดจนสุดเสียง. พระราชาทรงสดับเสียงนั้น และทรงกาหนดว่า นั่นเป็นเสียงสตรีจึงเสด็จไป ณ ที่นั้นแต่ เช้าตรู่ ตรัสถามว่า ใครอยู่ในที่นี้ . พระนางตอบว่า ผู้หญิงจ้ะนาย. ตรัสว่า ออกมาเถิด. ทูลว่า ออกไปไม่ได้. ตรัสว่า เพราะอะไร. ทูลว่า ดิฉันเป็นนางกษัตริย์. พระนางแม้ถูกขังอยู่ในหลุมอย่างนั้นยังมีขัตติยมานะ. พระราชารับสั่งถามเรื่องราวทั้งหมด แล้วจึงตรัสบอกพระชาติของพระองค์ว่า เราก็เป็นกษัตริย์. ตรัสต่อไปว่า ออกมาเดี๋ยวนี้ เถิดปรากฏดุจเนยใสใส่ลงในน้านม. พระนางทูลว่า หม่อมฉันเป็นโรคเรื้อน ไม่อาจออกไปได้ เพคะ. พระราชาตรัสว่า บัดนี้ เราหัวอกอันเดียวกัน เราสามารถเยียวยาให้หายได้จึงทอดบันได อุ้มพระนาง ขึ้นมาทรงนาไปยังที่ประทับของพระองค์ พระราชทานยาที่พระองค์เสวยด้วยพระองค์เอง ไม่ช้าก็ทาให้พระ นางหายจากพระโรคมีพระฉวีดุจทองคา. พระราชาก็ทรงอยู่ร่วมกับพระนางนั้น. ด้วยการอยู่ร่วมครั้งแรก เท่านั้น พระนางก็ทรงครรภ์ ประสูติพระโอรสสององค์ ประสูติพระโอรสครั้งละสององค์ ๑๖ ครั้ง รวมเป็น พระโอรส ๓๒ องค์ด้วยประการฉะนี้ . พระบิดาได้ให้พระโอรสผู้เจริญวัยเหล่านั้นได้ศึกษาศิลปะทุกแขนง. ครั้นอยู่มาวันหนึ่ง พรานป่าคนหนึ่งชาวเมืองของพระรามราชาเที่ยวแสวงหารัตนะบนภูเขา มาถึงถิ่นนั้น เห็นพระราชาก็จาได้ทูลว่า ข้าแต่พระองค์ ข้าพระพุทธเจ้าจาพระองค์ได้ พระเจ้าข้า. พระราชา ตรัสถามว่า เจ้ามาจากไหน. พรานทูลว่า มาจากพระนครพระเจ้าข้า. แต่นั้น พระราชาตรัสถามเรื่องราว ทั้งหมดกะเขา. เมื่อพระราชาและพรานป่าสนทนากันอยู่ พระกุมารทั้งหลายก็พากันมา. พรานป่าเห็นพระกุมารเหล่านั้นจึงถามว่า ข้าแต่พระองค์ พวกเด็กเหล่านี้ เป็นใคร พระเจ้าข้า. พระราชาตรัสว่า บุตรของเราเอง. ทูลว่า ขอเดชะ บัดนี้ พระองค์แวดล้อมแล้วด้วยพระกุมารถึง ๓๒ องค์ เหล่านี้ จักทรงทาอะไรในป่าเล่า ขอเชิญเสด็จไปครองราชสมบัติเถิด พระเจ้าข้า. พระราชาตรัสว่า อย่าเลย
  • 6. 6 พ่อคุณอยู่ที่นี้ ก็เป็นสุขดีแล้ว. พรานป่าคิดว่า บัดนี้ เราได้เรื่องราวจากการสนทนาแล้ว จึงไปพระนครทูลพระโอรสของ พระราชาให้ทรงทราบ. พระราชโอรสทรงดาริว่าจะต้องนาพระบิดากลับมา จึงเสด็จไป ณ ที่นั้นพร้อมด้วยจา ตุรงคเสนา ทูลวิงวอนพระบิดาด้วยประการต่างๆ. พระราชาก็ทรงปฏิเสธว่า อย่าเลยกุมารลูกพ่อ ที่นี่ก็เป็น สุขดีแล้ว. แต่นั้น พระราชบุตรทรงดาริว่า บัดนี้ พระบิดาไม่ทรงปรารถนาจะเสด็จไป ช่างเถิดเราจะสร้าง พระนครในที่นี้ แหละเพื่อพระองค์ แล้วทรงถอนต้นกระเบาออกสร้างพระราชมณเฑียรแล้วสร้างพระนคร ทรงตั้งชื่อเป็นสองอย่างคือ โกลนคร เพราะถอนต้นกระเบาออกแล้วจึงสร้าง และพยัคฆปถะ เพราะเป็นทาง เสือผ่าน เสร็จแล้วเสด็จกลับ. ต่อแต่นั้น พระมารดาจึงรับสั่งกะพระกุมารผู้เจริญวัยว่า นี่แน่ะลูกๆ ทั้งหลาย เจ้าศากยะอยู่กรุง กบิลพัสดุ์เป็นพระเจ้าน้าของลูกๆ ลูกทั้งหลายจงไปรับพระธิดาของพระเจ้าน้านั้นมาเถิด. พระกุมารทั้งหลาย ได้ไปในวันที่พวกนางกษัตริย์ เสด็จไปสรงสนานที่แม่น้าแล้วกั้นท่าน้าประกาศชื่อแล้ว ทรงพาพระราชธิดาที่ พระองค์ปรารถนาแล้วๆ ไป. เจ้าศากยะทั้งหลายครั้นได้สดับแล้วตรัสว่า ช่างเขาเถิด พวกกุมารเหล่านั้นก็ เป็นพระญาติของพวกเราทั้งนั้น แล้วทรงนิ่งเสีย. เมื่อกษัตริย์ศากยะและโกลิยะกระทาอาวาหมงคลและวิวาหมงคลซึ่งกันและกันอย่างนี้ พระวงศ์ ก็สืบต่อกันมาจนถึงพระเจ้าสีหหนุ. พระเจ้าสีหหนุมีพระราชบุตร ๕ พระองค์ คือ สุทโธทนะ ๑ อมิโตทนะ ๑ โธโตทนะ ๑ สุกโกทนะ ๑ สุกโขทนะ ๑. บรรดาพระราชบุตรเหล่านั้น เมื่อพระเจ้าสุทโธทนะครองราชสมบัติ พระมหาบุรุษผู้บาเพ็ญ บารมีจุติจากสวรรค์ชั้นดุสิต โดยนัยที่กล่าวแล้วในนิทานชาดก ทรงถือปฏิสนธิในพระครรภ์ของพระนาง มายาเทวีประชาบดีของพระเจ้าสุทโธทนะ แล้วเสด็จออกมหาภิเนษกรมณ์โดยลาดับ ตรัสรู้พระสัมมาสัมโพธิ ญาณ ทรงประกาศพระธรรมจักรอันบวร เสด็จไปกรุงกบิลพัสดุ์โดยลาดับ ทรงโปรดพระประยูรญาติมีพระ เจ้าสุทโธทนมหาราชเป็นต้นให้ทรงตั้งอยู่ในอริยผล เสด็จจาริกไปยังชนบทแล้วเสด็จกลับมาอีกครั้งประทับ อยู่ ณ วัดนิโครธารามในกรุงกบิลพัสดุ์พร้อมด้วยภิกษุ ๑,๕๐๐ รูป. พวกเจ้าศากยะและโกลิยะทะเลาะกันเรื่องน้า อนึ่งเมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าประทับอยู่ ณ นิโครธารามนั้น พวกเจ้าศากยะและโกลิยะทะเลาะกัน เรื่องน้า. เรื่องเป็นอย่างไร. เรื่องมีอยู่ว่า ในระหว่างกรุงกบิลพัสดุ์และกรุงโกลิยะทั้งสองนั้นมีแม่น้าโรหิณีไหลผ่าน. แม่น้านั้น บางครั้งก็น้าน้อย บางครั้งก็น้ามาก. ในเวลาน้าน้อย ทั้งเจ้าศากยะทั้งเจ้าโกลิยะทาสะพานนาน้าเพื่อเลี้ยง ข้าวเจ้าของตนๆ. พวกมนุษย์ของเจ้าทั้งสองทาสะพานแย่งน้ากัน ด่ากันถึงชาติว่า เจ้าพวกวายร้าย ราช ตระกูลของพวกเจ้าสมสู่อยู่ร่วมกันกับพวกน้องๆ ดุจสัตว์เดียรัจฉานมีไก่ สุนัข สุนัขจิ้งจอกเป็นต้น ราช ตระกูลของพวกเจ้าสมสู่กันที่โพรงไม้ดุจพวกปีศาจ แล้วพากันไปกราบทูลพระราชาของตนๆ. พระราชา เหล่านั้นทรงพิโรธเตรียมรบไปเผชิญหน้ากันที่ฝั่งแม่น้าโรหินี. กาลังพลได้ตั้งอยู่เช่นกับสงคราม.
  • 7. 7 ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงดาริว่า พวกพระญาติทะเลาะกันเรา จะต้องไปห้าม จึงเสด็จ มาทางอากาศประทับยืน ณ ท่ามกลางเสนาทั้งสอง. อาจารย์บางพวกกล่าวว่า พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงราพึง ถึงพระญาติทะเลาะกัน ได้เสด็จมาจากกรุงสาวัตถี. แล้วทรงแสดงความที่กษัตริย์เหล่านั้นเป็นพระญาติกันมาช้านานแล้ว ตรัสมหาวงศ์นี้ กษัตริย์ เหล่านั้นทรงเลื่อมใสอย่างยิ่งเมื่อได้ทรงทราบว่า เมื่อก่อนพวกเราก็เป็นพระญาติกัน. แต่นั้นกษัตริย์ทั้งสอง วงศ์ได้มอบกุมาร ๕๐๐ คือกุมารฝ่ายเจ้าศากยะ ๒๕๐ กุมารฝ่ายเจ้าโกลิยะ ๒๕๐ เพื่อเป็นบริวารของพระผู้มี พระภาคเจ้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงเห็นบุรพเหตุของกุมารเหล่านั้น จึงตรัสว่า เธอทั้งหลายจงเป็นภิกษุมา เถิด. ภิกษุทั้งหมดเหล่านั้นได้บริขาร ๘ อันเกิดขึ้นด้วยฤทธิ์เหาะไปในอากาศ มายืนถวายบังคมพระผู้มีพระ ภาคเจ้า. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพาภิกษุเหล่านั้นไปป่ามหาวัน. บรรดาภรรยาของภิกษุเหล่านั้นต่างก็พา กันส่งข่าวไปให้ทราบ ภิกษุเหล่านั้นถูกภรรยาเล้าโลมโดยประการต่างๆ จึงกระสัน. พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงทราบว่าภิกษุเหล่านั้นกระสัน ทรงประสงค์จะแสดงป่าหิมพานต์ บรรเทาความกระสันของภิกษุเหล่านั้น ด้วยตรัสกุณาลชาดก ณ ที่นั้น ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอ เคยเห็นป่าหิมวันต์หรือ. กราบทูลว่า ไม่เคยเห็น พระเจ้าข้า. ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พวกเธอจงมาดู ทรงนาภิกษุเหล่านั้นไปทางอากาศด้วยฤทธิ์ของพระองค์ ทรงแสดงภูเขาหลายลูกว่า นี้ สุวรรณบรรพต นี้ รชต บรรพต นี้ มณีบรรพต แล้วประทับยืนอยู่ ณ พื้นหินอ่อนใกล้สระนกดุเหว่า. แต่นั้นทรงอธิษฐานว่า บรรดา สัตว์เดียรัจฉานประเภทสี่เท้าเป็นต้นทั้งหมดจงมาในภูเขาหิมวันตะเถิด นกดุเหว่ามาหลังเพื่อน. พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อจะทรงพรรณนาถึงสัตว์ที่มาโดยชาติ ชื่อและภาษา จึงทรงแจ้งแก่ภิกษุ เหล่านั้นว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย นี้ หงส์ นี้ นกกระเรียน นี้ นกจากพราก นี้ นกการเวก นี้ นกงวงช้าง นี้ นก นางนวล. ภิกษุทั้งหลายมีความสงสัยเมื่อเห็นสัตว์เหล่านั้น ได้เห็นนกดุเหว่าที่มาทีหลังนกทั้งหมด แวดล้อม ด้วยนางนกพันตัว จับกลางไม้ที่นางนกสองตัว เอาจะงอยปากคาบพาไป เกิดอัศจรรย์ใจที่ไม่เคยมีมา จึง กราบทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้าว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ แม้พระผู้มีพระภาคเจ้าก็ทรงเคยเป็นพญานก ดุเหว่าอยู่ในที่นี้ มิใช่หรือ. ตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ถูกแล้ว เราได้สร้างวงศ์นกดุเหว่าขึ้นมา ตรัสมหากุณาลชาดกครบครันว่า ก็ในอดีตกาล เราทั้งสี่อาศัยอยู่ ณ ที่นี้ คือ นารท ๑ เทวิละ ๑ เป็นฤษี พญาแร้งชื่ออานันทะ ๑ เราเป็นนกดุเหว่าสีเหลืองชื่อปุณณมุขะ ๑. ครั้นภิกษุเหล่านั้นฟังแล้ว ความ กระสันที่เกิดขึ้นเนื่องจากภรรยาเก่าของภิกษุเหล่านั้นก็สงบลง. แต่นั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสสัจกถาแด่ภิกษุเหล่านั้น เมื่อจบสัจกถา ภิกษุรูปที่บวช ภายหลังได้เป็นพระโสดาบัน รูปที่บวชก่อนทั้งหมดได้เป็นพระอนาคามี ไม่มีที่เป็นปุถุชน หรือพระอรหันต์ แม้แต่รูปเดียว. แต่นั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพาภิกษุเหล่านั้นขึ้นสู่ป่ามหาวันอีกครั้ง. อนึ่ง ภิกษุเหล่านั้น เมื่อมาก็มาด้วยฤทธิ์ของตน. ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงแสดงธรรม แก่ภิกษุเหล่านั้นอีก เพื่อประโยชน์แก่มรรคชั้นสูงขึ้นไป. ภิกษุ ๕๐๐ รูปเหล่านั้นเจริญวิปัสสนา ตั้งอยู่ใน อรหัตผล. ภิกษุที่บรรลุก่อนได้ไปก่อนทีเดียวด้วยคิดว่า เราจักกราบทูลแด่พระผู้มีพระภาคเจ้า. ก็ครั้นภิกษุ
  • 8. 8 นั้นมาถึงแล้ว จึงกราบทูลว่า ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ข้าพระองค์ย่อมยินดียิ่ง ไม่กระสันอยู่ ดังนี้ แล้ว ถวาย บังคมพระผู้มีพระภาคเจ้า นั่ง ณ ส่วนข้างหนึ่ง. ภิกษุเหล่านั้นทั้งหมดมาถึงโดยลาดับ นั่งแวดล้อมพระผู้มี พระภาคเจ้า. ในวันอุโบสถเดือนเจ็ดตอนเย็น เทวดาในหมื่นจักรวาลยกเว้นจาพวกอสัญญีสัตว์และอรูป พรหม ต่างนิรมิตอัตภาพละเอียด ตามนัยที่กล่าวแล้วในอรรถกถามงคลสูตร พากันแวดล้อมพระผู้มีพระ ภาคเจ้าซึ่งประทับนั่ง ณ วรพุทธาสนะอันพระขีณาสพ ๕๐๐ แวดล้อมแล้ว คิดว่า เราจักฟังพระธรรมเทศนา อันวิจิตรเฉียบแหลม. บรรดาพรหมเหล่านั้น พรหมผู้เป็นขีณาสพ ๔ องค์ออกจากสมาบัติไม่เห็นหมู่พรหม ราพึงว่า พวกพรหมไปไหนกันหมด ครั้นทราบความนั้นแล้วจึงมาทีหลัง เมื่อไม่ได้โอกาสในป่ามหาวัน จึงยืนอยู่บน ยอดจักรวาล ได้กล่าวปัจเจกคาถาทั้งหลาย ดังที่ท่านกล่าวไว้ดังต่อไปนี้ . ครั้งนั้นแล เทวดาชั้นสุทธาวาสสี่องค์ได้คิดกันว่า พระผู้มีพระภาคเจ้านี้ แลประทับอยู่ ณ ป่ามหา วันใกล้กรุงกบิลพัสดุ์ ในแคว้นสักกะพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์หมู่ใหญ่ประมาณ ๕๐๐ ทั้งหมดล้วนเป็นพระ อรหันต์. อนึ่ง เทวดาทั้งหลายจากโลกธาตุสิบโดยมากมาประชุมกัน เพื่อเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าและภิกษุ สงฆ์ ถ้ากระไรแม้เราก็พึงเข้าเฝ้าพระผู้มีพระภาคเจ้าถึงที่ประทับ ครั้นเข้าไปเฝ้าแล้ว พึงกล่าวปัจเจกคาถาใน สานักของพระผู้มีพระภาคเจ้า. ก็ครั้นกล่าวอย่างนี้ แล้ว พรหมองค์หนึ่ง ณ ที่นั้นได้โอกาสบนยอดจักรวาลด้านทิศตะวันออก ประดิษฐานอยู่บนยอดจักรวาลนั้น ได้กล่าวคาถาความว่า วันนี้ เป็นมหาสมัยในป่ าใหญ่ หมู่เทวดามา ประชุมกัน เรามาสู่ธรรมสมัยนี้ เพื่อจะเห็นพระพุทธเจ้าและพระสงฆ์ผู้ชนะมารแล้ว. เมื่อพรหมนั้นกล่าวคาถานี้ พวกพรหมที่ประดิษฐานอยู่ ณ ภูเขาจักรวาลด้านทิศตะวันตกได้ยิน เสียง. พรหมองค์ที่สองได้โอกาสบนยอดจักรวาลด้านทิศตะวันตก ประดิษฐานอยู่บนยอดจักรวาลนั้น สดับคาถานั้น จึงได้กล่าวคาถาความว่า ภิกษุทั้งหลายในที่ประชุมนั้นมั่นคงแล้ว เหมือนสารถีถือเชือก ยืนอยู่ ท่านเป็นบัณฑิตรักษาอินทรีย์ทั้งหลาย. พรหมองค์ที่สามได้โอกาสบนยอดจักรวาลด้านทิศใต้ ประดิษฐานอยู่บนจักรวาลนั้น สดับ คาถานั้นแล้วได้กล่าวคาถานี้ ความว่า ภิกษุเหล่านั้นตัดกิเลสดุจตะปู ตัดกิเลสดุจลิ่ม ตัดกิเลสดุจเสา เขื่อน เป็นผู้ไม่หวั่นไหว ท่านเป็นผู้หมดจดไม่มีมลทินเที่ยวไป ท่านเป็นพระนาคหนุ่ม มีดวงตาฝึกฝนดี แล้ว. พรหมองค์ที่สี่ได้โอกาสบนยอดจักรวาลด้านทิศเหนือ ประดิษฐานอยู่บนยอดจักรวาลนั้น สดับคาถานั้นแล้วได้กล่าวคาถาความว่า ชนทั้งหลายเหล่าใดเหล่าหนึ่งถึงพระพุทธเจ้าว่าเป็นสรณะ ชน ทั้งหลายเหล่านั้นจักไม่ถึงอบายภูมิ ละกายของมนุษย์แล้ว จักยังกายเทพให้บริบูรณ์. พรหมที่ประดิษฐานอยู่ ณ จักรวาลด้านทิศใต้ ได้สดับเสียงของพรหมนั้น. ในครั้งนั้น พรหมสี่องค์เหล่านี้ ได้ยืนชมเชยบริษัทด้วยประการฉะนี้ . มหาพรหมได้ยืน ครอบจักรวาลเป็นอันเดียวกัน.
  • 9. 9 ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรวจดูเทพบริษัทแล้ว ทรงแจ้งแก่ภิกษุทั้งหลายว่า ความว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายเหล่านั้นใด ได้มีแล้วในอดีตกาล เทวดาทั้งหลาย ประมาณเท่านี้ แหละได้ประชุมกันเพื่อเห็นพระพุทธเจ้า เพื่อเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าทั้งหลายพระองค์นั้น เหมือนเหล่าเทวดาประชุมกันเพื่อเห็นเราในบัดนี้ ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้าทั้งหลายเหล่านั้นใดจักมีในอนาคต เทวดา ทั้งหลายมีประมาณเท่านี้ แหละ จักประชุมกันเพื่อเห็นพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น เหมือนเทวดา ทั้งหลายประชุมกันเพื่อเห็นเราในบัดนี้ . ลาดับนั้น เทพบริษัทนั้นแยกออกเป็นสองพวกทั้งที่เป็นภัพพสัตว์และอภัพพสัตว์ พวกเป็นภัพพ สัตว์มีประมาณเท่านี้ พวกเป็นอภัพพสัตว์มีประมาณเท่านี้ . บรรดาเทพบริษัทเหล่านั้น บริษัทที่เป็นอภัพพะ แม้เมื่อพระพุทธเจ้าร้อยพระองค์ทรงแสดงธรรม ก็ไม่ตรัสรู้ได้ ส่วนบริษัทที่เป็นภัพพะสามารถรู้ได้. ครั้นรู้แล้วยังแบ่งภัพพบุคคลออกเป็นหกประเภทด้วยสามารถจริต คือประเภทราคจริตประมาณ เท่านี้ ประเภทโทสจริต โมหจริต วิตักกจริต สัทธาจริต พุทธิจริตประมาณเท่านี้ . ครั้นกาหนดจริตอย่างนี้ แล้ว ทรงเลือกเฟ้นธรรมกถาว่า การแสดงธรรมชนิดไร จึงจะเป็นที่สบายแก่บริษัทนั้นๆ ได้ทรงใฝ่พระทัยถึง บริษัทนั้นๆ อีกว่าบริษัทนั้นพึงรู้ได้โดยอัธยาศัยของตนหรือหนอ หรือพึงรู้ได้โดยอัธยาศัยของผู้อื่นด้วย อานาจแห่งเรื่องเกิดขึ้น ด้วยอานาจคาถาม. แต่นั้นทรงทราบว่าพึงรู้ได้ด้วยคาถาม ทรงราพึงถึงบริษัททั้งสิ้นต่อไปอีกว่า ผู้สามารถจะถาม ปัญหามีอยู่หรือไม่มี ครั้นทรงทราบว่าไม่มีใคร จึงทรงดาริว่า หากเราถามเอง แก้เอง ก็จะไม่เป็นที่สบายแก่ บริษัทนี้ ถ้ากระไรเราควรเนรมิตพระพุทธนิมิต จึงทรงเข้าสมาบัติมีฌานเป็นบาท ครั้นทรงออกจากฌาน แล้ว ทรงปรับปรุงด้วยมโนมยิทธิ ทรงเนรมิตพระพุทธนิมิต. พระพุทธนิมิตได้ปรากฏพร้อมด้วยจิตอธิษฐานว่า ขอจงสมบูรณ์ด้วยลักษณะแห่งอวัยวะน้อย ใหญ่ทั้งหมด ทรงบาตรและจีวร ถึงพร้อมด้วยการมองดูและการเหลียวดูเป็นต้น. พระพุทธนิมิตนั้นเสด็จมา จากปาจีนโลกธาตุประทับนั่งบนอาสนะเสมอพระผู้มีพระภาคเจ้า พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสพระสูตร ๖ พระ สูตรด้วยสามารถจริตในสมาคมนี้ คือ ปุราเภทสูตร ๑ กลหวิวาทสูตร ๑ จูฬพยูหสูตร ๑ มหาพยูหสูตร ๑ ตุวฏกสูตร ๑ และสัมมาปริพพาชนิยสูตรนี้ แหละ ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงปรารภว่า เพราะผู้ที่ยังไม่ถึงความสิ้นอาสวะ จะชื่อว่าเว้นรอบ โดยชอบไม่มี ฉะนั้น เมื่อพระองค์ทรงกาหนดประชุมแห่งภัพพบุคคล ด้วยสามารถแห่งจริตมีราคจริตเป็นต้น ในภิกษุนั้น จึงทรงปรารภคานั้นๆ ว่า เป็นมงคลแก่ภิกษุใด ดังนี้ เพื่อละโทษที่หมู่เทวดาซึ่งมีโทษเสมอกัน เหล่านั้น ประพฤติเป็นอาจิณ เมื่อจะทรงประกาศถึงปฏิปทาของพระขีณาสพด้วยยอดคือพระอรหัต จึงได้ ตรัสพระคาถา ๑๕ พระคาถา. เมื่อจบพระสูตร เทวดาแสนโกฏิได้บรรลุผลอันเลิศ ส่วนผู้ที่บรรลุพระโสดาปัตติผล สกทาคามิผลและอนาคามิผลนับไม่ถ้วน. -----------------------------------------------------