SlideShare a Scribd company logo
1 of 3
Download to read offline
1
มหาสมัยสูตร และพระสูตรที่เกี่ยวเนื่อง ตอนที่ ๕
จูฬวิยูหสูตร
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๖
เกริ่นนา
ในพระสูตรจูฬยูหสูตรนี้ เป็นการแสดงพระธรรมเทศนาให้เหล่าเทวดาและพระพรหมที่มาเข้าเฝ้า
พระพุทธองค์ที่ได้กล่าวไว้ในมหาสมัยสูตร เมื่อพระพุทธนิมิตถามปัญหา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงได้ตรัสพระ
สูตรจูฬวิยูหะนี้ (พระสูตรว่าด้วยพวกน้อย) พร้อมกับคาถามพระสูตรนั้น แก่พวกเทวดาและพระพรหมที่เป็น
พวกวิตกจริต
จูฬวิยูหสูตร
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต
๑๒. จูฬวิยูหสูตร
ว่าด้วยการวิวาทกันเพราะทิฏฐิสูตรเล็ก
(พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้ )
[๘๘๕] สมณพราหมณ์เจ้าลัทธิบางพวก ยึดถืออยู่เฉพาะทิฏฐิของตนๆ ถือแล้วก็อ้างตัวว่า เป็นคน
ฉลาด พูดกันไปต่างๆ ว่า บุคคลใดรู้อย่างนี้ บุคคลนั้นชื่อว่า รู้ธรรมแล้ว บุคคลใดคัดค้านธรรมนี้ บุคคลนั้น
ชื่อว่า ยังไม่สาเร็จกิจ
[๘๘๖] สมณพราหมณ์เหล่านั้นถืออย่างนี้ แล้วก็พากันวิวาท และกล่าวว่า คนอื่นเป็นคนพาล ไม่
ฉลาด วาทะของสมณพราหมณ์เหล่านี้ วาทะไหนเป็นเรื่องจริงกันหนอ เพราะสมณพราหมณ์เหล่านี้ ทั้งหมด
ต่างก็อ้างตัวว่า เป็นคนฉลาด
(พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ )
[๘๘๗] คนพาลไม่ยอมรับธรรมของผู้อื่นเลย เป็นคนต่าทราม มีปัญญาทราม สมณพราหมณ์
ทั้งหมดนั้นแหละเป็นคนพาล มีปัญญาทราม สมณพราหมณ์เหล่านี้ ทั้งหมดนั้นแหละยึดถือทิฏฐิอยู่
[๘๘๘] ถ้าพวกสมณพราหมณ์ไม่ผ่องแผ้วเพราะทิฏฐิของตน เป็นผู้มีปัญญาหมดจดดี ฉลาด มี
ความรู้แล้วไซร้ บรรดาสมณพราหมณ์เหล่านั้น ก็ไม่มีใครเสื่อมปัญญา เพราะทิฏฐิของสมณพราหมณ์แม้
เหล่านั้น ถือกันมาอย่างนั้น
[๘๘๙] คน ๒ จาพวกกล่าวทิฏฐิใดต่อกันว่า เป็นคนพาล เราไม่กล่าวทิฏฐินั้นว่า จริง สมณ
พราหมณ์พากันประกาศทิฏฐิของตนๆ ว่า จริง เพราะฉะนั้น จึงพากันใส่ไฟผู้อื่นว่า เป็นคนพาล
2
(พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้ )
[๘๙๐] สมณพราหมณ์บางพวกกล่าวธรรมใดว่าจริง ว่าแท้ สมณพราหมณ์พวกอื่นก็พากันกล่าว
ธรรมนั้นว่าเปล่า ว่าเท็จ สมณพราหมณ์เหล่านั้นต่างพากันถือมั่นแม้อย่างนี้ แล้ววิวาทกัน เพราะเหตุไร สมณ
พราหมณ์จึงไม่พูดอย่างเดียวกัน
(พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ )
[๘๙๑] หมู่ชนรู้ชัดสัจจะใดไม่พึงวิวาทกัน สัจจะนั้นมีอย่างเดียวเท่านั้น (สัจจะมีอย่างเดียว
หมายถึงนิโรธสัจจะ หรือมัคคสัจจะ) ไม่มีอย่างที่ ๒ สมณพราหมณ์เหล่านั้น พากันอวดสัจจะต่างๆ กันไป
เอง เพราะฉะนั้น สมณพราหมณ์จึงไม่พูดอย่างเดียวกัน
(พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้ )
[๘๙๒] เพราะเหตุไรหนอ สมณพราหมณ์จึงพูดสัจจะไปต่างๆ อ้างตนว่า เป็นคนฉลาดพูดพร่ากัน
ไป สัจจะที่สมณพราหมณ์เหล่านั้นเล่าเรียนมา มีหลายอย่างต่างๆ กันหรือ หรือว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้น
พากันนึกตรึกเอาเอง
(พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ )
[๘๙๓] มิได้มีสัจจะหลายอย่างต่างๆ กันเลย เว้นแต่สัจจะที่แน่นอนด้วยสัญญาในโลก แต่สมณ
พราหมณ์ทั้งหลาย พากันกาหนดความตรึกในทิฏฐิทั้งหลายไปเอง แล้วกล่าวธรรมเป็น ๒ อย่างว่า คาของ
เราจริง คาของท่านเท็จ
[๘๙๔] เจ้าลัทธิอาศัยธรรมเหล่านี้ คือ รูปที่เห็น เสียงที่ได้ยิน ศีล วัตร และอารมณ์ที่รับรู้ แล้ว
แสดงอาการดูหมิ่น และดารงอยู่ในทิฏฐิที่ตกลงใจ แล้วก็ร่าเริงกล่าวว่า คนอื่นเป็นคนพาล ไม่ฉลาด
[๘๙๕] เจ้าลัทธิใส่ไฟบุคคลอื่นว่า เป็นคนพาล เพราะเหตุใด ก็กล่าวถึงตนเองว่า เป็นคนฉลาด
เพราะเหตุนั้น เจ้าลัทธินั้นอวดอ้างตนเองว่า เป็นคนฉลาด ย่อมดูหมิ่นบุคคลอื่นและกล่าวเช่นนั้นเหมือนกัน
[๘๙๖] เจ้าลัทธินั้นเป็นผู้เพียบพร้อมด้วยอติสารทิฏฐิ (อติสารทิฏฐิ ในที่นี้ หมายถึงทิฏฐิ ๖๒
และทิฏฐิ ๖๒ นี้ เอง เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ‘ทิฏฐิที่ตกลงใจ’) เมาด้วยความถือตัว มีความถือตัวจัด อภิเษก
ตนเองด้วยใจ เพราะทิฏฐินั้นเจ้าลัทธิถือกันมาอย่างนั้น
[๘๙๗] อนึ่ง หากบุคคลเป็นผู้เลวทรามเพราะวาจาของผู้อื่นไซร้ เขาก็เป็นผู้มีปัญญาทรามพร้อม
กับผู้นั้น และถ้าผู้เรียนจบพระเวทเอง (จบพระเวท หมายถึงจบไตรเพท อันเป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์สูงสุดของ
ศาสนาพราหมณ์ มี ๓ คือ (๑) ฤคเวท หรืออิรุเวท ประมวลบทสวดสรรเสริญเทพเจ้า (๒) ยชุรเวท บทสวด
อ้อนวอนในพิธีบูชายัญต่างๆ (๓) สามเวท ประมวลบทเพลงขับสาหรับสวดหรือร้องเป็นทานองในพิธีบูชา
ยัญ ต่อมาเพิ่ม (๔) อถรรพเวท หรืออาถรรพณเวท ว่าด้วยคาถาอาคมทางไสยศาสตร์) เป็นนักปราชญ์ได้
ไซร้ บรรดาสมณะ ก็ไม่มีใครเป็นคนพาล
[๘๙๘] ชนเหล่าใดกล่าวสรรเสริญธรรมอื่นนอกจากธรรมนี้ ชนเหล่านั้นเป็นผู้พลาดทางแห่ง
ความหมดจด เป็นผู้ไม่บริบูรณ์ เดียรถีย์พากันกล่าวทิฏฐิมากแม้อย่างนี้ เพราะพวกเขาเป็นผู้ยินดียิ่งด้วย
ความยินดีในทิฏฐิของตน
3
[๘๙๙] พวกเดียรถีย์พากันกล่าวความหมดจดว่ามีอยู่ในธรรมนี้ เท่านั้น ไม่กล่าวความหมดจดใน
ธรรมเหล่าอื่น พวกเดียรถีย์ตั้งอยู่ในทิฏฐิมากแม้อย่างนี้ ต่างกล่าวยืนยันในธรรมอันเป็นแนวทางของตนนั้น
[๙๐๐] อนึ่ง เจ้าลัทธิกล่าวยืนยันในแนวทางของตน ใส่ไฟใครอื่นว่า เป็นคนพาล เพราะทิฏฐินี้
เจ้าลัทธินั้น กล่าวถึงผู้อื่นว่า เป็นคนพาล มีความไม่หมดจดเป็นธรรมดา พึงนาความมุ่งร้ายมาเองทีเดียว
[๙๐๑] เจ้าลัทธินั้นตั้งอยู่ในทิฏฐิที่ตกลงใจและนับถือเองแล้ว ก็ถึงการวิวาทในกาลข้างหน้าในโลก
คนที่เกิดมาละทิฏฐิที่ตกลงใจทั้งมวลได้ ย่อมไม่ก่อการมุ่งร้ายในโลก
จูฬวิยูหสูตรที่ ๑๒ จบ
---------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบาลส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย สุตตนิบาต อัฏฐกวรรค
จูฬวิยูหสูตร
อรรถกถาจูฬวิยูหสูตรที่ ๑๒
พระสูตรนี้ มีการเกิดขึ้นเป็นอย่างไร?
ในมหาสมัยนั้นเหมือนกัน พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสพระสูตรนี้ ก็เพื่อประกาศความนั้นแก่เทวดา
บางพวกผู้มีจิตเกิดขึ้นแล้วว่า ผู้ถือทิฏฐิเหล่านี้ ทั้งหมดกล่าวว่า เราเป็นผู้ดี ผู้ถือทิฎฐิว่าเราเป็นผู้ดีเหล่านี้
ตั้งอยู่ในทิฏฐิของตนเท่านั้น หรือว่ารับทิฎฐิแม้อื่นด้วยทรงให้พระพุทธนิมิตถามพระองค์โดยนัยก่อนนั่นแล.
อนึ่ง ในบรรดาเดียรถีย์ผู้รับรองอย่างหนักแน่นเหล่านั้น เดียรถีย์คนใดคนหนึ่งรับรองอย่างหนัก
แน่นในลัทธิของตน จะพึงตั้งใครอื่นว่าเป็นคนเขลาในลัทธินี้ เล่า. เดียรถีย์รับรองอย่างหนักแน่นในลัทธิของ
ตน อันได้แก่สัสสตทิฏฐิและอุจเฉททิฏฐิในทิฏฐินั้นโดยสังเขป หรืออันต่างด้วยนัตถิกทิฏฐิ อิสสระ การณะ
นิยตะเป็นต้นโดยพิสดารว่า สิ่งนี้ เท่านั้นจริง พึงเห็นใครอื่นว่าเป็นคนเขลาในทิฏฐินี้ โดยธรรมเล่า ตาม
ความเห็นของเดียรถีย์นั้นแม้คนทั้งปวงก็เป็นบัณฑิต และเป็นผู้ปฏิบัติชอบได้เหมือนกัน
เมื่อเป็นอย่างนั้น เดียรถีย์นั้นเมื่อกล่าวผู้อื่นว่าเป็นคนเขลา มีธรรมไม่บริสุทธิ์ ก็พึงนาความ
ทะเลาะวิวาทมาให้แก่ตนฝ่ายเดียว คือเดียรถีย์แม้นั้นยังกล่าวผู้อื่นว่า ผู้นี้ เป็นคนเขลา และมีธรรมไม่บริสุทธิ์
ก็จะพึงนาความทะเลาะวิวาทมาให้แก่ตน
เดียรถีย์นั้นตั้งอยู่ในการวินิจฉัยด้วยทิฏฐิ แล้วนิรมิตศาสดาเป็นต้นขึ้นด้วยตนเอง ก็ต้องวิวาท
กันยิ่งขึ้นไป เพราะเหตุนั้นบุคคลรู้โทษในการวินิจฉัยด้วยทิฏฐิอย่างนี้ แล้ว ละการวินิจฉัยด้วยทิฏฐิทั้งหมด
ด้วยอริยมรรค แล้วไม่ทาการทะเลาะวิวาทกันในโลก ด้วยประการฉะนี้ .
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงจบเทศนาด้วยธรรมเป็นยอด คือพระอรหัต.
เมื่อจบเทศนา ได้มีผู้บรรลุเช่นกับที่ได้กล่าวแล้วในปุราเภทสูตรนั่นแล.
----------------------------------------

More Related Content

Similar to ๒๑.๔ จูฬวิยูหสูตร มจร.pdf

๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้Tongsamut vorasan
 
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tongsamut vorasan
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณีsawinee37
 
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdfmaruay songtanin
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๓.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๓.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๓.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๓.pdfmaruay songtanin
 
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
28 กปิลราชจริยา มจร.pdfmaruay songtanin
 
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑Tongsamut vorasan
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21Krusangworn
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdfmaruay songtanin
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้Theeraphisith Candasaro
 
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdfmaruay songtanin
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะPadvee Academy
 

Similar to ๒๑.๔ จูฬวิยูหสูตร มจร.pdf (20)

๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf
๒๑.๓ กลหวิวาทสูตร มจร.pdf
 
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
Tri91 20+มัชฌิมนิกาย+มัชฌิมปัณณาสก์+เล่ม+๒+ภาค+๑
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณี
 
45 พรรษา
45 พรรษา45 พรรษา
45 พรรษา
 
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
๑๗ มหาปทานสูตร มจร.pdf
 
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๓.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๓.pdf๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๓.pdf
๒๐ มหาปรินิพพานสูตร มจร ตอนที่ ๓.pdf
 
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
28 กปิลราชจริยา มจร.pdf
 
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
(๑๒) พระอานันทเถราปทาน มจร.pdf
 
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
(๗) พระปุณณมันตานีปุตตเถราปทาน มจร.pdf
 
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
2 23คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๑
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ม.21
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนาเกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
เกณฑ์การรับกุลบุตรเพื่ออุปสมบทในพระพุทธศาสนา
 
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์
 
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
(๑๐) พระปิณโฑลภารทวาชเถราปทาน มจร.pdf
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
 
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 

More from maruay songtanin

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdfmaruay songtanin
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...maruay songtanin
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...maruay songtanin
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docxmaruay songtanin
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfmaruay songtanin
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...maruay songtanin
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...maruay songtanin
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...maruay songtanin
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...maruay songtanin
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...maruay songtanin
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
7 proven leadership principles หลักการผู้นำ 7 ประการ.pdf
 
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
๑๐. มหาเวสสันดรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุ...
 
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๙. วิธุรชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
๐๘. มหานารทกัสสปชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจ...
 
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๗. จันทกุมารชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๐๖. ภูริทัตตชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๕. มโหสธชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
๐๔. เนมิราชชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
๐๓. สุวรรณสามชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๐๒. มหาชนกชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๐๑. เตมิยชาดก (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
๐๐ บทนำ มหานิบาตชาดก (พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).docx
 
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdfOperational Resilience  ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
Operational Resilience ความยืดหยุ่นในการปฏิบัติงาน.pdf
 
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
๘๕. สุนิกขิตตวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬ...
 
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
๘๔. เสริสสกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
๘๓. มัฏฐกุณฑลีวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุ...
 
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
๘๒. อเนกวัณณวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬา...
 
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๑. กัณฐกวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
๘๐. โคปาลวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])...
 
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
๗๙. อัมพวิมาน (พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ])....
 

๒๑.๔ จูฬวิยูหสูตร มจร.pdf

  • 1. 1 มหาสมัยสูตร และพระสูตรที่เกี่ยวเนื่อง ตอนที่ ๕ จูฬวิยูหสูตร พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๒๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๖ เกริ่นนา ในพระสูตรจูฬยูหสูตรนี้ เป็นการแสดงพระธรรมเทศนาให้เหล่าเทวดาและพระพรหมที่มาเข้าเฝ้า พระพุทธองค์ที่ได้กล่าวไว้ในมหาสมัยสูตร เมื่อพระพุทธนิมิตถามปัญหา พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงได้ตรัสพระ สูตรจูฬวิยูหะนี้ (พระสูตรว่าด้วยพวกน้อย) พร้อมกับคาถามพระสูตรนั้น แก่พวกเทวดาและพระพรหมที่เป็น พวกวิตกจริต จูฬวิยูหสูตร พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต ๑๒. จูฬวิยูหสูตร ว่าด้วยการวิวาทกันเพราะทิฏฐิสูตรเล็ก (พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้ ) [๘๘๕] สมณพราหมณ์เจ้าลัทธิบางพวก ยึดถืออยู่เฉพาะทิฏฐิของตนๆ ถือแล้วก็อ้างตัวว่า เป็นคน ฉลาด พูดกันไปต่างๆ ว่า บุคคลใดรู้อย่างนี้ บุคคลนั้นชื่อว่า รู้ธรรมแล้ว บุคคลใดคัดค้านธรรมนี้ บุคคลนั้น ชื่อว่า ยังไม่สาเร็จกิจ [๘๘๖] สมณพราหมณ์เหล่านั้นถืออย่างนี้ แล้วก็พากันวิวาท และกล่าวว่า คนอื่นเป็นคนพาล ไม่ ฉลาด วาทะของสมณพราหมณ์เหล่านี้ วาทะไหนเป็นเรื่องจริงกันหนอ เพราะสมณพราหมณ์เหล่านี้ ทั้งหมด ต่างก็อ้างตัวว่า เป็นคนฉลาด (พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ ) [๘๘๗] คนพาลไม่ยอมรับธรรมของผู้อื่นเลย เป็นคนต่าทราม มีปัญญาทราม สมณพราหมณ์ ทั้งหมดนั้นแหละเป็นคนพาล มีปัญญาทราม สมณพราหมณ์เหล่านี้ ทั้งหมดนั้นแหละยึดถือทิฏฐิอยู่ [๘๘๘] ถ้าพวกสมณพราหมณ์ไม่ผ่องแผ้วเพราะทิฏฐิของตน เป็นผู้มีปัญญาหมดจดดี ฉลาด มี ความรู้แล้วไซร้ บรรดาสมณพราหมณ์เหล่านั้น ก็ไม่มีใครเสื่อมปัญญา เพราะทิฏฐิของสมณพราหมณ์แม้ เหล่านั้น ถือกันมาอย่างนั้น [๘๘๙] คน ๒ จาพวกกล่าวทิฏฐิใดต่อกันว่า เป็นคนพาล เราไม่กล่าวทิฏฐินั้นว่า จริง สมณ พราหมณ์พากันประกาศทิฏฐิของตนๆ ว่า จริง เพราะฉะนั้น จึงพากันใส่ไฟผู้อื่นว่า เป็นคนพาล
  • 2. 2 (พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้ ) [๘๙๐] สมณพราหมณ์บางพวกกล่าวธรรมใดว่าจริง ว่าแท้ สมณพราหมณ์พวกอื่นก็พากันกล่าว ธรรมนั้นว่าเปล่า ว่าเท็จ สมณพราหมณ์เหล่านั้นต่างพากันถือมั่นแม้อย่างนี้ แล้ววิวาทกัน เพราะเหตุไร สมณ พราหมณ์จึงไม่พูดอย่างเดียวกัน (พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ ) [๘๙๑] หมู่ชนรู้ชัดสัจจะใดไม่พึงวิวาทกัน สัจจะนั้นมีอย่างเดียวเท่านั้น (สัจจะมีอย่างเดียว หมายถึงนิโรธสัจจะ หรือมัคคสัจจะ) ไม่มีอย่างที่ ๒ สมณพราหมณ์เหล่านั้น พากันอวดสัจจะต่างๆ กันไป เอง เพราะฉะนั้น สมณพราหมณ์จึงไม่พูดอย่างเดียวกัน (พระพุทธเนรมิตทูลถามดังนี้ ) [๘๙๒] เพราะเหตุไรหนอ สมณพราหมณ์จึงพูดสัจจะไปต่างๆ อ้างตนว่า เป็นคนฉลาดพูดพร่ากัน ไป สัจจะที่สมณพราหมณ์เหล่านั้นเล่าเรียนมา มีหลายอย่างต่างๆ กันหรือ หรือว่าสมณพราหมณ์เหล่านั้น พากันนึกตรึกเอาเอง (พระผู้มีพระภาคตรัสตอบดังนี้ ) [๘๙๓] มิได้มีสัจจะหลายอย่างต่างๆ กันเลย เว้นแต่สัจจะที่แน่นอนด้วยสัญญาในโลก แต่สมณ พราหมณ์ทั้งหลาย พากันกาหนดความตรึกในทิฏฐิทั้งหลายไปเอง แล้วกล่าวธรรมเป็น ๒ อย่างว่า คาของ เราจริง คาของท่านเท็จ [๘๙๔] เจ้าลัทธิอาศัยธรรมเหล่านี้ คือ รูปที่เห็น เสียงที่ได้ยิน ศีล วัตร และอารมณ์ที่รับรู้ แล้ว แสดงอาการดูหมิ่น และดารงอยู่ในทิฏฐิที่ตกลงใจ แล้วก็ร่าเริงกล่าวว่า คนอื่นเป็นคนพาล ไม่ฉลาด [๘๙๕] เจ้าลัทธิใส่ไฟบุคคลอื่นว่า เป็นคนพาล เพราะเหตุใด ก็กล่าวถึงตนเองว่า เป็นคนฉลาด เพราะเหตุนั้น เจ้าลัทธินั้นอวดอ้างตนเองว่า เป็นคนฉลาด ย่อมดูหมิ่นบุคคลอื่นและกล่าวเช่นนั้นเหมือนกัน [๘๙๖] เจ้าลัทธินั้นเป็นผู้เพียบพร้อมด้วยอติสารทิฏฐิ (อติสารทิฏฐิ ในที่นี้ หมายถึงทิฏฐิ ๖๒ และทิฏฐิ ๖๒ นี้ เอง เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ‘ทิฏฐิที่ตกลงใจ’) เมาด้วยความถือตัว มีความถือตัวจัด อภิเษก ตนเองด้วยใจ เพราะทิฏฐินั้นเจ้าลัทธิถือกันมาอย่างนั้น [๘๙๗] อนึ่ง หากบุคคลเป็นผู้เลวทรามเพราะวาจาของผู้อื่นไซร้ เขาก็เป็นผู้มีปัญญาทรามพร้อม กับผู้นั้น และถ้าผู้เรียนจบพระเวทเอง (จบพระเวท หมายถึงจบไตรเพท อันเป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์สูงสุดของ ศาสนาพราหมณ์ มี ๓ คือ (๑) ฤคเวท หรืออิรุเวท ประมวลบทสวดสรรเสริญเทพเจ้า (๒) ยชุรเวท บทสวด อ้อนวอนในพิธีบูชายัญต่างๆ (๓) สามเวท ประมวลบทเพลงขับสาหรับสวดหรือร้องเป็นทานองในพิธีบูชา ยัญ ต่อมาเพิ่ม (๔) อถรรพเวท หรืออาถรรพณเวท ว่าด้วยคาถาอาคมทางไสยศาสตร์) เป็นนักปราชญ์ได้ ไซร้ บรรดาสมณะ ก็ไม่มีใครเป็นคนพาล [๘๙๘] ชนเหล่าใดกล่าวสรรเสริญธรรมอื่นนอกจากธรรมนี้ ชนเหล่านั้นเป็นผู้พลาดทางแห่ง ความหมดจด เป็นผู้ไม่บริบูรณ์ เดียรถีย์พากันกล่าวทิฏฐิมากแม้อย่างนี้ เพราะพวกเขาเป็นผู้ยินดียิ่งด้วย ความยินดีในทิฏฐิของตน
  • 3. 3 [๘๙๙] พวกเดียรถีย์พากันกล่าวความหมดจดว่ามีอยู่ในธรรมนี้ เท่านั้น ไม่กล่าวความหมดจดใน ธรรมเหล่าอื่น พวกเดียรถีย์ตั้งอยู่ในทิฏฐิมากแม้อย่างนี้ ต่างกล่าวยืนยันในธรรมอันเป็นแนวทางของตนนั้น [๙๐๐] อนึ่ง เจ้าลัทธิกล่าวยืนยันในแนวทางของตน ใส่ไฟใครอื่นว่า เป็นคนพาล เพราะทิฏฐินี้ เจ้าลัทธินั้น กล่าวถึงผู้อื่นว่า เป็นคนพาล มีความไม่หมดจดเป็นธรรมดา พึงนาความมุ่งร้ายมาเองทีเดียว [๙๐๑] เจ้าลัทธินั้นตั้งอยู่ในทิฏฐิที่ตกลงใจและนับถือเองแล้ว ก็ถึงการวิวาทในกาลข้างหน้าในโลก คนที่เกิดมาละทิฏฐิที่ตกลงใจทั้งมวลได้ ย่อมไม่ก่อการมุ่งร้ายในโลก จูฬวิยูหสูตรที่ ๑๒ จบ --------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนี้ นามาจากบาลส่วนของอรรถกถา ขุททกนิกาย สุตตนิบาต อัฏฐกวรรค จูฬวิยูหสูตร อรรถกถาจูฬวิยูหสูตรที่ ๑๒ พระสูตรนี้ มีการเกิดขึ้นเป็นอย่างไร? ในมหาสมัยนั้นเหมือนกัน พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสพระสูตรนี้ ก็เพื่อประกาศความนั้นแก่เทวดา บางพวกผู้มีจิตเกิดขึ้นแล้วว่า ผู้ถือทิฏฐิเหล่านี้ ทั้งหมดกล่าวว่า เราเป็นผู้ดี ผู้ถือทิฎฐิว่าเราเป็นผู้ดีเหล่านี้ ตั้งอยู่ในทิฏฐิของตนเท่านั้น หรือว่ารับทิฎฐิแม้อื่นด้วยทรงให้พระพุทธนิมิตถามพระองค์โดยนัยก่อนนั่นแล. อนึ่ง ในบรรดาเดียรถีย์ผู้รับรองอย่างหนักแน่นเหล่านั้น เดียรถีย์คนใดคนหนึ่งรับรองอย่างหนัก แน่นในลัทธิของตน จะพึงตั้งใครอื่นว่าเป็นคนเขลาในลัทธินี้ เล่า. เดียรถีย์รับรองอย่างหนักแน่นในลัทธิของ ตน อันได้แก่สัสสตทิฏฐิและอุจเฉททิฏฐิในทิฏฐินั้นโดยสังเขป หรืออันต่างด้วยนัตถิกทิฏฐิ อิสสระ การณะ นิยตะเป็นต้นโดยพิสดารว่า สิ่งนี้ เท่านั้นจริง พึงเห็นใครอื่นว่าเป็นคนเขลาในทิฏฐินี้ โดยธรรมเล่า ตาม ความเห็นของเดียรถีย์นั้นแม้คนทั้งปวงก็เป็นบัณฑิต และเป็นผู้ปฏิบัติชอบได้เหมือนกัน เมื่อเป็นอย่างนั้น เดียรถีย์นั้นเมื่อกล่าวผู้อื่นว่าเป็นคนเขลา มีธรรมไม่บริสุทธิ์ ก็พึงนาความ ทะเลาะวิวาทมาให้แก่ตนฝ่ายเดียว คือเดียรถีย์แม้นั้นยังกล่าวผู้อื่นว่า ผู้นี้ เป็นคนเขลา และมีธรรมไม่บริสุทธิ์ ก็จะพึงนาความทะเลาะวิวาทมาให้แก่ตน เดียรถีย์นั้นตั้งอยู่ในการวินิจฉัยด้วยทิฏฐิ แล้วนิรมิตศาสดาเป็นต้นขึ้นด้วยตนเอง ก็ต้องวิวาท กันยิ่งขึ้นไป เพราะเหตุนั้นบุคคลรู้โทษในการวินิจฉัยด้วยทิฏฐิอย่างนี้ แล้ว ละการวินิจฉัยด้วยทิฏฐิทั้งหมด ด้วยอริยมรรค แล้วไม่ทาการทะเลาะวิวาทกันในโลก ด้วยประการฉะนี้ . พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงจบเทศนาด้วยธรรมเป็นยอด คือพระอรหัต. เมื่อจบเทศนา ได้มีผู้บรรลุเช่นกับที่ได้กล่าวแล้วในปุราเภทสูตรนั่นแล. ----------------------------------------