SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
วงจรไฟฟ้ากระแสตรง 2105-
2002
หน่วยที่ 1
ไฟฟ้ าทั่วไปและแหล่งกาเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง
สาระการเรียนรู้
ทฤษฎีอิเล็กตรอน
1.1.1 ธรรมชาติของอะตอม
1.1.2 วงอิเล็กตรอน (Electron Shell)
1.1.3 วงเลนซ์อิเล็กตรอน (Valence Electron)
1.1.4 อิเล็กตรอนอิสระ (Free Electron)
1.1.5 วิธีการเบื้องต้นในการทาให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ า
แหล่งกาเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง
1.2.1 แบตเตอรี่
1.2.2 เซลล์แสงอาทิตย์
1.2.3 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง
1.2.4 แหล่งจ่ายไฟฟ้ าแบบอิเล็กทรอนิกส์
สาระสาคัญ
สสารต่าง ๆ มีอยู่ 3 สถานะคือ ของแข็ง ของเหลวและ ก๊าช ต่างก็
ประกอบด้วยส่วนเล็ก ๆ เรียกว่า โมเลกุล (Molecule) และ ใน 1
โมเลกุลเมื่อแบ่งลงไปเรื่อย ๆ จนเป็นอนุภาคที่เล็กที่สุด เรียกว่า อะตอม
(Atom)แหล่งกาเนิดไฟฟ้าหรือแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง คือ แหล่งที่จ่าย
พลังงานศักย์ไฟฟ้า หรืออาจเรียกว่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าออกมาใช้งานกับอุปกรณ์
ไฟฟ้าทั่วๆไปในบทนี้จะกล่าวถึง แหล่งกาเนิดไฟฟ้าที่พบเห็นกันบ่อย ๆ เช่น
แบตเตอรี่ เซลล์แสงอาทิตย์เจอเนอเรเตอร์ และแหล่งจ่ายไฟฟ้าแบบ
อิเล็กทรอนิกส์
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.อธิบายโครงสร้างของอะตอมได้อย่างถูกต้อง
2. บอกแหล่งกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงได้อย่างถูกต้อง
3. อธิบายหลักการ การกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงด้วยแบตเตอรี่ได้
4. อธิบายหลักการ การกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ได้
5. อธิบายหลักการ การกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงด้วยเครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงได้
6. อธิบายหลักการ การกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรงด้วยแหล่งจ่ายไฟฟ้าแบบอิเล็กทรอนิกส์ได้
7. นักเรียนมีความตรงต่อเวลา
1.1 ทฤษฎีอิเล็กตรอน
สสารต่าง ๆ มี 3 สถานะ คือ
-ของแข็ง
-ของเหลว
-ก๊าช
สถานะทั้ง 3 สถานะ นั้น อาจอยู่ในรูปของ ธาตุ สารประกอบ และของผสม อย่างใดอย่างหนึ่ง
โดย ธาตุ สารประกอบ และของผสม นี้ต่างก็ประกอบด้วยส่วนเล็ก ๆ เรียกว่า โมเลกุล (Molecule)
และ ใน 1 โมเลกุลเมื่อแบ่งลงไปเรื่อย ๆ จนเป็นอนุภาคที่เล็กที่สุด เรียกว่า อะตอม (Atom)โมเลกุล
ของสารที่ประกอบขึ้นด้วยอะตอมชนิดเดียวกันเรียกว่า ธาตุ (Element) สารที่โมเลกุลประกอบขึ้น
ด้วยอะตอมชนิดต่างชนิดกัน เรียกว่า สารประกอบ (Compound)
โมเลกุลของน้าเมื่อแบ่งลงไปเรื่อย ๆ จนกระทั้งเป็นอนุภาคที่เล็กที่สุดเท่าที่จะทา
ได้เรียกส่วนที่เล็กที่สุดที่ยังคงคุณสมบัติของน้าอยู่ได้ว่า “โมเลกุล” และในแต่
ละโมเลกุลของน้า จะประกอบด้วย ไฮโดรเจน 2 อะตอม และออกซิเจน 1
อะตอม ดังรูปที่ 1.1
ตัวอย่าง
ธรรมชาติของอะตอม
อะตอมแต่ละชนิดจะประกอบไปด้วยอนุภาคมูลฐานสาคัญ 3 ส่วน คือ
โปรตอน (Proton) นิวตรอน (Neutron) และอิเล็กตรอน (Electron)
- โปรตอน มีคุณสมบัติไฟฟ้าเป็น บวก
- นิวตรอนมีคุณสมบัติไฟฟ้าเป็น กลาง
- อิเล็กตรอน มีคุณสมบัติไฟฟ้าเป็น ลบ
โดยมีโปรตอน และนิวตรอน อยู่ภายใน นิวเคลียส (Nucleus) ที่บริเวณรอบ ๆ
โปรตอน และนิวตรอน จะมีอิเล็กตรอนที่มีอานาจไฟฟ้าเป็นลบวิ่งอยู่รอบ ๆ ด้วย
ความเร็วสูง อิเล็กตรอน เบากว่าโปรตอนประมาณ 1850 เท่า เพราะอิเล็กตรอน
เบามาก จึงถูกแรงไฟฟ้าทาให้เคลื่อนที่ไป โดยทั่วไปแล้ว อะตอมของธาตุที่มี
คุณสมบัติทางไฟฟ้าที่เป็นกลาง ในอะตอมหนึ่ง ๆ จะมีจานวนโปรตอน ที่
เท่ากับจานวนอิเล็กตรอนเสมอ เช่น อะตอมของไฮโดรเจน ที่นิวเคลียส จะมี
โปรตอน 1 ตัว และมีอิเล็กตรอน เบาๆ 1 ตัว หรือ อะตอมของฮีเลียม ที่นิวเคลียส
จะมีโปรตอน 2 ตัว และอิเล็กตรอนโคจร รอบ ๆ 2 ตัว
โครงสร้างทั่วไปของอะตอม
+
+
+ -
-
-
วงอิเล็กตรอน (ELECTRON SHELL)
ภายในอะตอมของสารที่มีอิเล็กตรอนวิ่งเคลื่อนที่อยู่โดยรอบ อิเล็กตรอนแต่ละ
ตัวจะมีพลังงานที่ขึ้นอยู่กับค่า N โดยกาหนดให้ระดับพลังงานต่าสุด คือ n = 1
ระดับสูงขึ้นไป คือ n = 2 ,3 ,4 … เพิ่มขึ้นตามลาดับ ระดับพลังงานนี้จะถูก
แบ่งเป็นวง (Shell) ซึ่งแทนด้วยอักษร K L M O P Q จานวนอิเล็กตรอนที่มี
ได้มากที่สุด ในระดับพลังงานระดับใดระดับหนึ่งมีค่าเท่ากับ 2n2 เช่น ในชั้น K
จะมีอิเล็กตรอนได้อย่างมากสุดเท่ากับ 2(1)2 = 2 ตัว นอกจากนี้อิเล็กตรอนวง
นอกสุดต้องมีได้ ไม่เกิน 8 ตัว เช่น อะตอมของทองแดง มีอิเล็กตรอน 29 ตัว
แบ่งตามวงได้ดังนี้
วง K มีอิเล็กตรอนได้ 2(1)2 = 2 ตัว เมื่อ N = 1
วง L มีอิเล็กตรอนได้ 2(2)2 = 8 ตัว เมื่อ N = 2
วง M มีอิเล็กตรอนได้ 2(3)2 = 18 ตัว เมื่อ N = 3
วง N มีอิเล็กตรอนได้ 1 ตัว
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
--
-
-
-
-
- -
-
-
-
-
+29
N
M
L
K
K
L
M
N
โครงสร้างของอะตอมทองแดง
วงเลนซ์อิเล็กตรอน (VALENCE ELECTRON)
วงของอิเล็กตรอนที่มีบทบาทในการรวมตัวกับอะตอมของธาตุอื่น คือ วงจรอยู่ชั้นนอก
สุดและอิเล็กตรอนวงชั้นนอกสุดจะมีได้ไม่เกิน 8 ตัว วงที่อยู่ชั้นนอกสุดนั้นเรียกว่า
Valence Shell อิเล็กตรอนที่อยู่ในวงนอกสุดเรียกว่า Valence Electron
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
-
--
-
-
-
-
- -
-
-
-
-
+29
N
M
L
K
K
L
M
N
อิเล็กตรอนอิสระ (FREE ELECTRON)
เมื่อให้พลังงานแก่อิเล็กตรอน หรือเมื่อจ่ายแรงดันให้กับตัวนาไฟฟ้า เช่น
ให้ความร้อน แสง รังสี หรือ พลังงานรูปอื่น ๆ จะทาให้อิเล็กตรอนที่อยู่
วงนอกสุดของอะตอม หรือเรียกว่า Valence Electron ถูกกระทาให้หลุด
จากวงโคตร กลายเป็นอิเล็กตรอนอิสระ Free Electron ซึ่ง
อิเล็กตรอนอิสระนี้เองเป็นตัวที่ทาให้เกิดกระแสไฟฟ้า ในตัวนา
จากรูปแสดงการเกิด FREE ELECTRON และ ATOM จะมีประจุเป็นบวก
-
+
-
+
2
วิธีการเบื้องต้นในการทาให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ า มีด้วยกัน 6 วิธี
1.1.5.1 การขัดสี แรงเคลื่อนไฟฟ้าจะเกิดขึ้นโดยการนาวัตถุสองชนิดมาถูกัน
1.1.5.2 แรงกดดัน แรงเคลื่อนไฟฟ้าจะเกิดขึ้นได้โดยการบีบตัวของผลึก (Crystal) ของสารชนิดหนึ่ง
1.1.5.3 ความร้อน แรงเคลื่อนไฟฟ้าจะเกิดขึ้นได้โดยให้ความร้อนที่จุดต่อของโลหะที่ต่างชนิดกัน
1.1.5.4 แสงสว่าง แรงเคลื่อนไฟฟ้าจะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อแสงสว่างกระทบกันกับสารที่มีความไวต่อแสง
1.1.5.5 กิริยาเคมี แรงเคลื่อนไฟฟ้ าจะเกิดขึ้นโดยปฏิกิริยาเคมี เช่น แบตเตอรี่
1.1.5.6 อานาจแม่เหล็ก แรงเคลื่อนไฟฟ้าจะเกิดขึ้นในตัวนาไฟฟ้าได้เมื่อตัวนาเคลื่อนที่ผ่าน
สนามแม่เหล็ก หรือสนามแม่เหล็กเคลื่อนที่ผ่านตัวนา ซึ่งมีลักษณะเช่นนี้ ตัวนาจะตัดเส้นแรงของ
สนามแม่เหล็ก
แหล่งกาเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง
แหล่งกาเนิดไฟฟ้ าหรือแหล่งจ่ายไฟฟ้ า คือ แหล่งที่จ่ายพลังงานศักย์ไฟฟ้ า หรืออาจ
เรียกว่าแรงเคลื่อนไฟฟ้ า ออกมาใช้งานกับอุปกรณ์ไฟฟ้ าทั่วๆไปสามารถแบ่งออกเป็น 4
ชนิดใหญ่ๆคือ
1.2.1 แบตเตอรี่
1.2 2 เซลล์แสงอาทิตย์
1.2.3 เครื่องกาเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง
1.2.4 แหล่งจ่ายไฟฟ้ าแบบอิเล็กทรอนิกส์
1.2.1แบตเตอรี่
แบตเตอรี่ เป็นแหล่งกาเนิดไฟฟ้าที่อาศัยหลักการเปลี่ยนแปลงพลังงานเคมีให้
เป็นพลังงานไฟฟ้า แบตเตอรี่ประกอบด้วยเซลล์ไฟฟ้าตั้งแต่ 1 เซลล์หรือ
มากกว่า โดยเซลล์นี้จะเชื่อมต่อเข้าด้วยกันทางไฟฟ้า
แบตเตอรี่ปฐมภูมิ
แบตเตอรี่ปฐมภูมิ เป็นแบตเตอรี่ที่เมื่อผ่านการใช้แล้วไม่สามารถนา
กลับมาชาร์จประจุเพื่อกลับมาใช้ใหม่ได้หรือที่มักเรียกกันว่า “ถ่าน” มี
อยู่หลายชนิด เช่น ถ่านอัลคาไลน์ ถ่านลิเทียม เป็นต้น แบตเตอรี่แบบนี้มี
หลายขนาด ใช้ในวิทยุ นาฬิกา เก็บพลังงานได้สูง อายุการใช้งานสูง แต่
เมื่อถูกใช้หมดจะกลายเป็นขยะมลพิษ ในช่วงเวลาที่ผ่านมา ถ่านไฟฉาย
แบบอัลคาไลน์ที่ใช้แล้วทิ้งนั้นเป็นที่นิยมกันมาก
แบตเตอรี่ทุติยภูมิ
เป็นแบตเตอรี่ที่เมื่อผ่านการใช้แล้วสามารถนากลับมาชาร์จประจุเพื่อกลับมาใช้
ใหม่ได้เช่น แบตเตอรี่รถยนต์ แบตเตอรี่มือถือ และถ่านรุ่นใหม่ๆ เป็นต้น
แบตเตอรี่ชนิดอัดกระแสไฟใหม่ได้หรือ เซลล์ทุติยภูมิ สามารถอัดกระแสไฟ
ใหม่ได้หลังจากไฟหมดเนื่องจากสารเคมีที่ใช้ทาแบตเตอรี่ชนิดนี้สามารถทาให้
กลับไปอยู่ในสภาพเดิมได้โดยการอัดกระแสไฟเข้าไปใหม่ซึ่งอุปกรณ์ที่ใช้อัด
ไฟนี้เรียกว่า ชาร์เจอร์ หรือ รีชาร์เจอร์ แบตเตอรี่ชนิดอัดกระแสไฟใหม่ได้ที่
เก่าแก่ที่สุดซึ่งใช้อยู่จนกระทั่งปัจจุบันคือ "เซลล์เปียก"
เซลล์แสงอาทิตย์ ( SOLAR CELL )
เซลล์แสงอาทิตย์เป็นอุปกรณ์สิ่งประดิษฐ์ทางวิศวกรรม โดยประยุกต์ให้มีคุณสมบัติทางด้าน
สารกึ่งตัวนา เมื่อมีแสงมากระทบจะทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจากพลังงานแสงอาทิตย์ให้เป็น
พลังงานไฟฟ้า เซลล์แสงอาทิตย์ในปัจจุบันทามาจากธาตุซิลิกอน (Silicon) ซึ่งเป็นธาตุที่พบ
มากที่สุดบนโลก การสร้างจะทาได้โดยใช้ P-N Junction ประกอบขึ้นเป็นพื้นฐานโดยให้
แรงดันไฟฟ้าประมาณ 0.5 โวลต์ ส่วนกระแสจะแปรผันตามแสงบนพื้นที่ของเซลล์ ในการรับ
แสงของซิลิกอนแบบผลึกเดี่ยว ให้กระแสได้ประมาณ 2 แอมแปร์ต่อพื้นที่ 1 ตารางเมตร เมื่อ
ต้องการแรงดันไฟฟ้าสูงขึ้น ต้องนาเซลล์แสงอาทิตย์มาต่อเพิ่มแบบอนุกรมเพื่อให้ได้แรงดัน
ตามต้องการ ถ้าต้องการกระแสเพิ่มสูงขึ้น ให้นาเซลล์แสงอาทิตย์มาต่อขนานกัน การต่อแบบนี้
มีลักษณะเป็นโมดูล เมื่อนาโมดูลมาประกอบเพื่อติดตั้งใช้งานจะเรียกว่าแผง (Array) แผงที่
ติดตั้งในปัจจุบันจะมีอายุการใช้งานประมาณ 20-25 ปี แต่ในขณะนี้ได้มีการพยายามคิดค้นและ
พัฒนา เพื่อให้มีอายุการใช้งานมากกว่า 30 ปี
เซลล์แสงอาทิตย์คือ สิ่งประดิษฐ์ที่ทาจากสารกึ่งตัวนา เช่น ซิลิคอน (Silicon), แกลเลี่ยม
อาร์เซไนด์ (Gallium Arsenide), อินเดียม ฟอสไฟด์ (Indium Phosphide), แคดเมียม เทลเลอ
ไรด์ (Cadmium Telluride) และคอปเปอร์ อินเดียม ไดเซเลไนด์ (Copper Indium Diselenide)
เป็นต้น ซึ่งเมื่อได้รับแสงอาทิตย์โดยตรงก็จะเปลี่ยนเป็นพาหะนาไฟฟ้า และจะถูกแยกเป็น
ประจุไฟฟ้าบวกและลบเพื่อให้เกิดแรงดันไฟฟ้าที่ขั้วทั้งสองของเซลล์แสงอาทิตย์เมื่อนา
ขั้วไฟฟ้าของเซลล์แสงอาทิตย์ต่อเข้ากับอุปกรณ์ไฟฟ้ากระแสตรง กระแสไฟฟ้าจะไหลเข้าสู่
อุปกรณ์เหล่านั้น ทาให้สามารถทางานได้
จุดเด่นของไฟฟ้ าจากเซลล์แสงอาทิตย์
1 แหล่งพลังงานคือดวงอาทิตย์เพราะฉะนั้นจะใช้ได้ตลอดไปและไม่เสียค่าใช้จ่าย แหล่งพลังงาน
อื่น ๆ ที่เอามาใช้กันเช่น น้ามัน, ถ่านหิน, ก๊าซธรรมชาติ ซึ่งแหล่งพลังงานเหล่านี้จะหมดไปได้
2 ไฟฟ้าที่ได้จากเซลล์แสงอาทิตย์เกิดจากการเปลี่ยนพลังงานแสงเป็นพลังงานไฟฟ้าโดยตรง ไม่
ใช้น้ามัน, ถ่านหิน หรือก๊าซเป็นเชื้อเพลิง ซึ่งทาให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม
3 สามารถสร้างไฟฟ้าได้ทุกขนาด ตั้งแต่ขนาดเล็กที่สามารถนาไปใช้กับเครื่องคิดเลขจนถึงระบบ
โรงงานไฟฟ้าขนาดใหญ่ระดับ 100 KW ซึ่งเซลล์แสงอาทิตย์สามารถให้ประสิทธิภาพเท่ากัน
ปัจจุบันนาไปใช้กับเครื่องคิดเลข, ปั๊มน้า, รถยนต์ไฟฟ้า, เรือไฟฟ้า, ระบบไฟฟ้าตามบ้าน เป็นต้น
4. มีการประยุกต์นาเซลล์แสงอาทิตย์ไปใช้เป็นแหล่งจ่ายไฟสาหรับอุปกรณ์ไฟฟ้าบางประเภท
เช่น เครื่องหมายสัญญาณจราจร, ไฟฟ้าบริเวณถนนต่าง ๆ, เครื่องทวนสัญญาณวิทยุและโทรศัพท์
และใช้ติดบนหลังคารถยนต์
เครื่องกาเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง (DC GENERATOR)
เครื่องกาเนิดไฟฟ้า(Generator) คือ เครื่องกลไฟฟ้าที่เปลี่ยนพลังงานกลเป็นพลังงานไฟฟ้า
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าแบ่งตามกระแสไฟฟ้ามี 2 ชนิด คือ เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสตรง(DC
Generator) กับ เครื่องกาเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ(AC Generator)
หลักการกาเนิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ า มี 2 วิธี
1.3.1 หลักการขดลวดตัดผ่านสนามแม่เหล็ก
กาเนิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าโดยวิธีขดลวดตัวนาเคลื่อนที่ตัดกับสนามแม่เหล็ก
หลักการกาเนิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าโดยวิธีการของขดลวดตัดผ่าน
สนามแม่เหล็ก มีหลักการดังนี้ให้ขั้วแม่เหล็กอยู่กับที่แล้วนา
ขดลวดตัวนามาวางระหว่างขั้วแม่เหล็กแล้วหาพลังงานมาหมุน
ขดลวดตัดผ่านสนามแม่เหล็ก ทาให้ได้แรงเคลื่อนไฟฟ้า
เหนี่ยวนาเกิดขึ้นที่ขดลวดตัวนานี้
หลักการสนามแม่เหล็กตัดผ่านขดลวด
หลักการกาเนิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าโดยวิธีการของสนามแม่เหล็กตัด
ผ่านขดลวด มีหลักการดังนี้ให้ขดลวดลวดตัวนาอยู่กับที่แล้วหาพลังงาน
กลมาขับให้สนามแม่เหล็กตัดผ่านขดลวดตัวนา ทาให้ได้
แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวเกิดขึ้นที่ขดลวดตัวนานี้
เครื่องกาเนิดไฟฟ้าอาศัยหลักการขดลวดตัวนาหมุนตัด
สนามแม่เหล็ก ขดลวดตัวนาที่สร้างแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนานี้เรียกว่า
ขดลวดอาร์เมเจอร์ (armature) ซึ่งวางอยู่ระหว่างขั้วแม่เหล็ก และ
สามารถหมุนได้โดยมีต้นกาลังงานกลมาขับ เมื่อขดลวดนี้ตัดผ่าน
สนามแม่เหล็ก ทาให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้ ากระแสสลับเกิดขึ้นในขดลวด
อาร์เมเจอร์
ส่วนประกอบของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง
จะได้รูปสัญญาณแรงดันไฟฟ้ า
โครงสร้างและส่วนประกอบของเครื่องกาเนิดไฟฟ้ ากระแสตรง
เมื่อแรงเคลื่อนไฟฟ้ากระแสสลับไหลมาถึงที่คอมมิวเตเตอร์(commutator) ไฟฟ้ า
กระแสสลับนี้ถูกเปลี่ยนให้เป็นไฟฟ้ ากระแสตรงและไหลออกสู่วงจรภายนอกโดย
ผ่านแปรงถ่าน (brushes)
แหล่งจ่ายไฟฟ้ าแบบอิเล็กทรอนิกส์
แหล่งจ่ายไฟฟ้าแบบอิเล็กทรอนิกส์ปรับค่าแรงดันและกระแสได้
แหล่งจ่ายไฟระบบสวิตชิ่งเพาเวอร์ซัพพลาย
แหล่งจ่ายไฟแบบอิเล็กทรอนิกส์ ( Electronic Power Supplies )เป็นแหล่งจ่ายที่ไม่ได้
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงพลังงานในรูปแบบใดให้เป็นพลังงานไฟฟ้า แต่เป็นการ
เปลี่ยนแปลงแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับจากระบบไฟฟ้าที่ใช้กันตามบ้าน ขนาด 220
โวลท์ ให้เป็นแรงดันไฟฟ้ากระแสตรงแรงดันต่า ที่มีค่าความคงที่ การต่อออกไปใช้งาน
เพียงต่อออกจากขั้วไฟที่เตรียมไว้มีทั้งที่สามารถปรับค่าได้ ทั้งค่าของแรงดัน และค่า
ของกระแส เพื่อจ่ายให้แก่วงจรอิเล็กทรอนิกส์ให้สามารถทางานได้

More Related Content

What's hot

โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงrutchaneechoomking
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันSiratcha Wongkom
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2Wichai Likitponrak
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟsuraidabungasayu
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็นTaraya Srivilas
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)Thitaree Samphao
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยDuangdenSandee
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

What's hot (20)

โมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรงโมเมนต์ของแรง
โมเมนต์ของแรง
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวันสะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
สะเต็มศึกษากับชีวิตประจำวัน
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
ทฤษฎีการเรียนรู้ของพาฟลอฟ
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
การสืบพันธุ์ของพืชดอก (T)
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัยการกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
การกำหนดหัวข้อและประเด็นปัญหาการวิจัย
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอองค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
องค์ประกอบทางเคมีของดีเอ็นเอ
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่นสภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 

Viewers also liked

ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสTheerawat Duangsin
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1Somporn Laothongsarn
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2Somporn Laothongsarn
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพWijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4Wijitta DevilTeacher
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558dnavaroj
 

Viewers also liked (12)

ไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรงไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรง
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง1
 
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
กฎของโอห์มและปริมาณที่เกี่ยวข้อง2
 
ข้อสอบติว Pat 2 ฟิสิกส์
ข้อสอบติว Pat 2 ฟิสิกส์ข้อสอบติว Pat 2 ฟิสิกส์
ข้อสอบติว Pat 2 ฟิสิกส์
 
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้าสนามแม่เหล็กไฟฟ้า
สนามแม่เหล็กไฟฟ้า
 
กระแสไฟฟ้า (Electric current)1
กระแสไฟฟ้า (Electric current)1กระแสไฟฟ้า (Electric current)1
กระแสไฟฟ้า (Electric current)1
 
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
กระแสไฟฟ้า (Electric current)2
 
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
5ความร้อน และการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
 
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5   2558
แบบทดสอบปลายภาคเรียน วิทย์ 5 2558
 

Similar to หน่วยที่1

ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10Nann 'mlemell
 
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 210.1 dynamo 2
10.1 dynamo 23cha_sp
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52krukrajeab
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าrattanapon
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนDr.Woravith Chansuvarn
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันMossmean
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันMossmean
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีtearchersittikon
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด ณรรตธร คงเจริญ
 
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสารสมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสารพัน พัน
 

Similar to หน่วยที่1 (20)

ใบความรู้.05
ใบความรู้.05ใบความรู้.05
ใบความรู้.05
 
Electrochem 1
Electrochem 1Electrochem 1
Electrochem 1
 
Atom semiconductor
Atom semiconductorAtom semiconductor
Atom semiconductor
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
Atom 3
Atom 3Atom 3
Atom 3
 
ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10ฟิสิกส์ ใบงาน10
ฟิสิกส์ ใบงาน10
 
10.1 dynamo 2
10.1 dynamo 210.1 dynamo 2
10.1 dynamo 2
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 
โครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้าโครงงานไฟฟ้า
โครงงานไฟฟ้า
 
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)การนำไฟฟ้า (Conductivity)
การนำไฟฟ้า (Conductivity)
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
 
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบันเครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
เครื่องใช้ไฟฟ้าในปัจจุบัน
 
Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01Random 111229101649-phpapp01
Random 111229101649-phpapp01
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดีเอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
เอกสารประกอบการสอนอิเล็กทรอนิกส์ขั้นพื้นฐาน โดย อ.นาถวดี
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสารสมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
สมบัติตามหมู่และตามคาบของสาร
 

หน่วยที่1