SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร
              หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนการสอนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
                                     เรื่อง การจําแนกสาร

 การจําแนกสารและสมบัติสาร
       การดํารงชีวตของมนุษยจาเปนตองเกี่ยวของสัมพันธกับสสารและพลังงานทั้งสิน ดังนั้นเรา
                      ิ           ํ                                              ้
 จึงตองเรียนรูเกี่ยวกับสสาร เพื่อสามารถนําความรูที่ไดไปใชประโยชนในชีวตประจําวันไดอยาง
                                                                           ิ
 เหมาะสม
 สสารและพลังงานแตกตางกันอยางไร
         สสาร หมายถึง สิ่งทีมีมวล มีน้ําหนัก ตองการที่อยู และสัมผัสได มีทั้งสิงมีชีวตแลไมมี
                                ่                                                ่ ิ
 ชีวต เชน หิน น้ํา แร โตะ สัตว พืช อาหาร มนุษย เปนตน
    ิ
      พลังงาน หมายถึง สิงที่ไมมีมวล ไมมีน้ําหนัก และสัมผัสไมได เชน พลังงานเสียง พลังงาน
                        ่
 ลม พลังงานความรอน เปนตน
       สาร หมายถึง สสารนั่นเอง ไดแก กรดเกลือ กรดแอซีติก กํามะถัน เกลือแกง เปนตน
 การจําแนกประเภทของสาร
     การจัดจําพวกของสารมีวิธีการทําไดหลายวิธี ขึ้นอยูกับเกณฑที่นํามาจําแนก เชน ใช
 สถานะเปนเกณฑ ใชลักษณะของเนื้อสารเปนเกณฑ สมบัติความเปนกรด-เบส เปนตน
      การจําแนกสารโดยใชลักษณะเนื้อสารเปนเกณฑ ซึ่งแบงได 2 ประเภทคือ
       1. สารเนื้อเดียว หมายถึง สารที่มองเห็นเปนเนื้อเดียว และมีสมบัติเดียวกัน ซึ่งไมวาจะ            
 สัังเกตดวยวิิธีการใดก็็ตาม เชน นํ้ําบริิสุทธิ์ิ เงิิน ทองแดง นาก อากาศ ทองคํา นําเกลืือ นํ้ําเชื่อม
                   ใ                                                           ํ ้ํ                 ื
 เปนตน
      2.สารเนื้อผสม คือสารที่มีองคประกอบตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป มาผสมกันมองเห็นไมเปนเนื้อ
 เดียวกัน สารประเภทนี้อาจมีองคประกอบเหมือนกันหรือตางสถานะกันก็ได เชน น้ําโคลน
 น้ํานม น้าสลัด เปนตน
           ํ
                 การจําแนกสารเนื้อเดียวไดสารบริสุทธ และสารละลายเปนวิธีการจําแนกสารโดย
อาศัยสมบัติทางกายภาพของสาร คือลักษณะเนือสารหรือการรวมตัวกันของสารที่เปนองคประกอบ
                                           ้
โดย ไมเกิดปฏิกิริยาเคมี
***********
ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร
                 หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนการสอนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
                                     เรื่อง การจําแนกสาร

                                              สาร


               สารเนื้อเดียว                                       สารเนื้อผสม


สารบริสุทธิ์                   สารละลาย                 สารแขวนลอย               คอลลอยด


               การจําแนกสารโดยใชสถานะเปนเกณฑ แบงไดเปน 3 สถานะ คือ
        1.ของแข็ง คือสารที่มีสถานะเปนของแข็งในอุณหภูมิปกติ ของแข็งเปนสารที่มีรูปราง
 แนนอนเนื่องจากอนุภาคภายในยึดเหนี่ยวกันอยางแนนอน เชน ทองแดง หิน กระดาษ เกาอี้ เปนตน
           2. ของเหลว คือ สารที่มีสถานะเปนของเหลวที่อุณหภูมิปกติ ของเหลวจะมีปริมาตร
 แนนอนแตรูปรางจะเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ เนื่องจากอนุภาคภายในจับตัวกันแบบหลวม ๆ
 เชน น้ํา น้ามันดิบ แอลกอฮอล เปนตน
             ํ
          3. กาซ คือ สารที่มีสถานะเปนกาซหรือไอทีอณหภูมิปกติ กาซจะมีรูปรางและปริมาตรไม
                                                   ุ่
 แนนอน รูปรางจะเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ(อนุภาคจะฟุงกระจายไปทั่วภาชนะที่บรรจุ)
                                                         
 เนื่องจากกาซมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคนอยมาก เชน ไอน้า กาซออกซิเจน กาซไนโตรเจน
                                       ุ                   ํ
 เปนตน




               ของแข็ง                        ของเหลว                              กาซ
ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร
          หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนการสอนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
                             เรื่อง การจําแนกสาร
สมบัติของสาร
       สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของสารที่สามารถบงบอกวาเปนสารชนิดใด
เพราะสมบัติของสารแตละชนิดไมเหมือนกันทุกประการ สมบัติของสารแบงออกเปน 2 ประเภท
ใหญ ๆ คือ สมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมี
  ญ
      สมบัติทางกายภาพของสาร หมายถึง สมบัติที่สังเกตเห็นจากลักษณะภายนอก และสามารถ
สัมผัสไดดวยประมาทสัมผัส เชน สถานะ การละลาย การนําไฟฟา จุดเดือด จุดหลอมเหลว เปนตน
          
     1. จุดเดือด คือจุดที่สารนั้นกําลังเปลี่ยนแปลงสถานะจากของเหลวกลายเปนไอ จุดเดือดของ
สารแตละประเภทจะไมเทากัน ดังนั้นจึงสามารถใชสมบัตจดเดือดของสารเปนเกณฑในการบอก
                                                      ิุ
ชนิดของสารได เชน นําบริสุทธิ์มีจุดเดือดที่ 100 องศาเซลเซียส เปนตน
                     ้
    2. สถานะของสาร คือสมบัติทางกายภาพของสาร สารทั้งหมดบนโลก มีอยู 3 สถานะ คือ
ของแข็ง ของเหลว และกาซ สถานะของสารสามารถเกิดการเปลี่ยนแปลงไดซึ่งตองขึ้นอยูกับสภาวะ
ของอุณหภูมิ เชน วัฏจักรของน้า เปนตน
                             ํ
      3. การละลายนา เปนสมบตเฉพาะตวของสาร สารแตละชนดจะมความสามารถในการละลาย
      3 การละลายน้ํา เปนสมบัติเฉพาะตัวของสาร สารแตละชนิดจะมีความสามารถในการละลาย
น้ําไดตางกัน บางชนิดอาจละลายไดดี แตสารบางชนิดละลายน้ําไดนอย หรือไมละลายน้าเลย เชน
                                                                            ํ
น้ําตาลทรายละลายในน้า เกลือละลายในน้า เปนตน
                      ํ                ํ
   4. ความหนาแนน คือ อัตราสวนระหวางมวลตอปริมาตรของสาร ซึ่งเปนสมบัติเฉพาะของ
สาร ดังนั้นสารแตละชนิดจึงมีความหนาแนนตางกัน ความหนาแนนหาไดจากสูตร
                                         มวลของสาร
             ความหนาแนน =
                                         ปริมาตรของสาร

                                         M
                                D=
                                         V

   D คือ ความหนาแนน มีหนวยเปน กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร หรือกิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร
   M คือ มวลของสาร มีหนวยเปน กรัมหรือ กิโลกรัม
   V คือ ปริมาตรของสาร มีหนวยเปน ลูกบาศกเซนติเมตร หรือลูกบาศกเมตร
ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร
           หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนการสอนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
                              เรื่อง การจําแนกสาร

    5.ความถวงจําเพาะหรือความหนาแนนสัมพัทธ คือ อัตราสวนระหวางความหนาแนนของ
   สาร นั้นตอความหนาแนนของน้า ณ อุณหภูมิหนึ่ง (ตามปกติเปนอุณหภูมิ 20 0C)
                              ํ

                                        ความหนาแนนของสาร
                                                 
                 ความถวงจําเพาะ =
                                        ความหนาแนนของน้า
                                                        ํ

                   น้ําบริสุทธิ์มีความหนาแนน = 1.0 กรัมตอลูกบาศก
                                        เซนติเมตร

                                        ความหนาแนนของสาร
               ความหนาแนนสัมพัทธ =
                                            1.0 g/cm2


        สมบัติทางเคมีของสาร หมายถึง สมบัติที่เกี่ยวของกับองคประกอบโครงสรางภายในของ
สาร(อะตอมหรือโมเลกุล) หรือเกี่ยวของกับปฏิกิริยาเคมี โดยการเกิดปฏิกิริยาของสารบางชนิดจะ
ได สารใหมที่มีสมบัติแตกตางไปจากสารเดิม เชน ความเปนกรดเบส การทําปฏิกิริยากับสารอื่น
การหมักแปงแลวเกิดแอลกอฮอล การเกิดสนิมของเหล็ก เปนตน
ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร
                หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนการสอนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
                                 เรื่อง การจําแนกสาร
           กิจกรรม การจําแนกตามลักษณะเนื้อสาร
           จุดประสงคการทดลอง
                 1.จําแนกสารโดยใชลักษณะของเนื้อสารเปนเกณฑได
           วิธีการทดลอง
                1. นําวัสดุตาง ๆที่ตองการจําแนกประเภทลักษณะของเนื้อสาร ไดแก สมตํา
                                   
           ผงซักฟอก เกลือแกง น้านม น้ําโคลน น้ําหวาน ถาน น้ากะทิ น้ําตาลทราย น้าสมสายชู มา
                                ํ                           ํ                   ํ
           สังเกตลักษณะของเนื้อสารแตละชนิด พรอมบันทึกผลที่สังเกตได ถาสารบางชนิดไมอาจ
           ตดสนใจอาจใชอุปกรณอื่น ชวย เชน แทงแกว
           ตัดสินใจอาจใชอปกรณอน ๆ ชวย เชน แทงแกว
           ตารางบันทึกผลการทดลอง

     สาร           สถานะ                   ผลการสังเกตลักษณะเนื้อสาร
                               มองเห็นเปนเนื้อเดียว    มองเห็นไมเปนเนื้อเดียว
1. น้้ํากะทิ
2.สมตํา
3.เกลือแกง
4.น้ําตาลทราย
5.น้ําหวาน
6 น้ําสมสายช
6.นาสมสายชู
7.น้ํานม
8.ถาน
9.น้ําโคลน
10.ผงซักฟอก

       สรุปผลการ
ทดลอง……………………………………………………….
……………………………………………………………………………………
…………...……………………………………………………………………….
ใบงานที…….วิชาวิทยาศาสตร
                                       ่
                  หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนการสอนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1
ผลการเรียนรูที่คาดหวัง                เรอง การจาแนกสาร
                                       เรื่อง การจําแนกสาร
     1. อธิบายสมบัติทางกายภาพของสารและจําแนกสารเปนกลุมตามลักษณะของเนื้อ
สารและขนาดของอนุภาค
จุดประสงคการเรียนรู
      1. สามารถสรุุปสมบัติทางกายภาพของสารและสมบัติทางเคมีของสารได
คําสัง จงเติมคําหรือขอความในชองวางตอไปนี้ใหถูกตอง
     ่
1. จากการทดลองสารใดบางที่เปนสารเนื้อ
เดียว………………………………………………
……………………………….………………………………………………………………..
2. จงอธิบายการจัดเรียงตัวของอนุภาคของแข็ง ของเหลว และกาซ วามีลักษณะ
อยางไร……..
…………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………..
3. การจําแนกสารสามารถจําแนกโดยใชเกณฑอะไรบาง……………………………………..
………………………………………………………………………………………………….
4. สารทั้งหมดบนโลกมีอยู…………สถานะ
คือ……...……………………………………….
5. สารเนื้อเดียว คือ สาร……………………………………………………………………….
สารเนื้อผสม คือ.สาร.………………………………………………………………………….
6.สมบัติทางเคมีของสารคือ…………………………………………………………………..
………………………………………………………………………………………………….
เชน……………………………………………………………………………………………
7.จงยกตัวอยางสมบัติทางกายภาพของสาร……………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………...
     ชื่อ………………………..นามสกุล………………………………เลขที่ …………..

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9Sumarin Sanguanwong
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารnetzad
 
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบเคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบWichai Likitponrak
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
เรื่องสารรอบตัว ครูเจริญ มีเหมือน
เรื่องสารรอบตัว  ครูเจริญ  มีเหมือนเรื่องสารรอบตัว  ครูเจริญ  มีเหมือน
เรื่องสารรอบตัว ครูเจริญ มีเหมือนkkrunuch
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์
การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์
การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์Ponpirun Homsuwan
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3supphawan
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสารSaowanee Sondech
 
โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร Patcharida Nun'wchph
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติPhakawat Owat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสNoopatty Sweet
 

What's hot (19)

ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบเคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
เคมีพื้นบท1ธาคุและสารประกอบ
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
เรื่องสารรอบตัว ครูเจริญ มีเหมือน
เรื่องสารรอบตัว  ครูเจริญ  มีเหมือนเรื่องสารรอบตัว  ครูเจริญ  มีเหมือน
เรื่องสารรอบตัว ครูเจริญ มีเหมือน
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
Response to stimuli in plants
Response to stimuli in plantsResponse to stimuli in plants
Response to stimuli in plants
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
2 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง(upload)
2 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง(upload)2 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง(upload)
2 การแยกสารด้วยวิธีการกรอง(upload)
 
San
SanSan
San
 
การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์
การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์
การแยกสารเนื้อเดียว ครูมณีรัตน์
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสาร
 
โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร โครงงานวิทยาศาสตร
โครงงานวิทยาศาสตร
 
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
ปฏิบัติการอินดิเคเตอร์จากธรรมชาติ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 

Viewers also liked

πληκτρολογιο ποντικι
πληκτρολογιο ποντικιπληκτρολογιο ποντικι
πληκτρολογιο ποντικιpkarkaveli
 
презентация для копирайтеров
презентация для копирайтеровпрезентация для копирайтеров
презентация для копирайтеровMax Malkovych
 
02.kebijakan akuntansi-beban-&-belanja
02.kebijakan akuntansi-beban-&-belanja02.kebijakan akuntansi-beban-&-belanja
02.kebijakan akuntansi-beban-&-belanjaAli Mashduqi
 
Funding Childcare in Ireland
Funding Childcare in Ireland Funding Childcare in Ireland
Funding Childcare in Ireland EduSkills OECD
 
แบบฝึกสมองลองปัญญา
แบบฝึกสมองลองปัญญาแบบฝึกสมองลองปัญญา
แบบฝึกสมองลองปัญญาKoonsombat Narinruk
 
Polyetheramine market research report 2015
Polyetheramine market research report 2015Polyetheramine market research report 2015
Polyetheramine market research report 2015mahadev mahimkar
 
ตอบคำถามก่อนเรียน
ตอบคำถามก่อนเรียนตอบคำถามก่อนเรียน
ตอบคำถามก่อนเรียนKoonsombat Narinruk
 
Professional Development and Quality
Professional Development and Quality Professional Development and Quality
Professional Development and Quality EduSkills OECD
 
bAnQuiT0 nAtUrAl JeSsA
bAnQuiT0 nAtUrAl JeSsAbAnQuiT0 nAtUrAl JeSsA
bAnQuiT0 nAtUrAl JeSsAyezzika
 
Digital Signage Open Communication Interface
Digital Signage Open Communication InterfaceDigital Signage Open Communication Interface
Digital Signage Open Communication Interfacewebsignage
 
Resume
ResumeResume
ResumeNewMap
 
Child Development and Quality in ECEC
Child Development and Quality in ECECChild Development and Quality in ECEC
Child Development and Quality in ECECEduSkills OECD
 

Viewers also liked (20)

πληκτρολογιο ποντικι
πληκτρολογιο ποντικιπληκτρολογιο ποντικι
πληκτρολογιο ποντικι
 
презентация для копирайтеров
презентация для копирайтеровпрезентация для копирайтеров
презентация для копирайтеров
 
02.kebijakan akuntansi-beban-&-belanja
02.kebijakan akuntansi-beban-&-belanja02.kebijakan akuntansi-beban-&-belanja
02.kebijakan akuntansi-beban-&-belanja
 
Logros 3
Logros 3Logros 3
Logros 3
 
Flashdrives usb 3
Flashdrives usb 3Flashdrives usb 3
Flashdrives usb 3
 
Pentingnya imunisasi
Pentingnya imunisasiPentingnya imunisasi
Pentingnya imunisasi
 
Kokoria
KokoriaKokoria
Kokoria
 
Teste1
Teste1Teste1
Teste1
 
Funding Childcare in Ireland
Funding Childcare in Ireland Funding Childcare in Ireland
Funding Childcare in Ireland
 
แบบฝึกสมองลองปัญญา
แบบฝึกสมองลองปัญญาแบบฝึกสมองลองปัญญา
แบบฝึกสมองลองปัญญา
 
Polyetheramine market research report 2015
Polyetheramine market research report 2015Polyetheramine market research report 2015
Polyetheramine market research report 2015
 
ProM2010
ProM2010ProM2010
ProM2010
 
ตอบคำถามก่อนเรียน
ตอบคำถามก่อนเรียนตอบคำถามก่อนเรียน
ตอบคำถามก่อนเรียน
 
Professional Development and Quality
Professional Development and Quality Professional Development and Quality
Professional Development and Quality
 
Twitter!
Twitter!Twitter!
Twitter!
 
bAnQuiT0 nAtUrAl JeSsA
bAnQuiT0 nAtUrAl JeSsAbAnQuiT0 nAtUrAl JeSsA
bAnQuiT0 nAtUrAl JeSsA
 
Digital Signage Open Communication Interface
Digital Signage Open Communication InterfaceDigital Signage Open Communication Interface
Digital Signage Open Communication Interface
 
Resume
ResumeResume
Resume
 
Child Development and Quality in ECEC
Child Development and Quality in ECECChild Development and Quality in ECEC
Child Development and Quality in ECEC
 
Arow
ArowArow
Arow
 

Similar to Substance classification

โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6supphawan
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารkrupornpana55
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11melody_fai
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11Jar 'zzJuratip
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสารพัน พัน
 

Similar to Substance classification (20)

Substance2
Substance2Substance2
Substance2
 
Subst 1
Subst 1Subst 1
Subst 1
 
สาร
สารสาร
สาร
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
 
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหารโครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
โครงงานเครื่องกรองน้ำทิ้งในโรงอาหาร
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
Ecosystem ii
Ecosystem iiEcosystem ii
Ecosystem ii
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11ใบงานที่ 11
ใบงานที่ 11
 
วิทยาศาสตร์ ต้น
วิทยาศาสตร์  ต้นวิทยาศาสตร์  ต้น
วิทยาศาสตร์ ต้น
 
วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์วิทยาศาสตร์
วิทยาศาสตร์
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
Analyze chem1
Analyze chem1Analyze chem1
Analyze chem1
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
การจำแนกสาร
การจำแนกสารการจำแนกสาร
การจำแนกสาร
 
K10
K10K10
K10
 

More from Miss.Yupawan Triratwitcha

สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558Miss.Yupawan Triratwitcha
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558Miss.Yupawan Triratwitcha
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองสรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองMiss.Yupawan Triratwitcha
 

More from Miss.Yupawan Triratwitcha (20)

หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
4 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar574 ตอน4 sar57
4 ตอน4 sar57
 
3 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar573 ตอน3 sar57
3 ตอน3 sar57
 
2 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar572 ตอน2 sar57
2 ตอน2 sar57
 
1 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar571 ตอน1 sar57
1 ตอน1 sar57
 
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
สารสนเทศโรงเรียนกระแชงวิทยา ปีการศึกษา2558
 
สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558สารสนเทศปีการศึกษา2558
สารสนเทศปีการศึกษา2558
 
4 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar554 ตอน4 sar55
4 ตอน4 sar55
 
3 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar553 ตอน3 sar55
3 ตอน3 sar55
 
2 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar552 ตอน2 sar55
2 ตอน2 sar55
 
1 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar551 ตอน1 sar55
1 ตอน1 sar55
 
Book pp56legal
Book pp56legalBook pp56legal
Book pp56legal
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
Interractive simulation
Interractive simulationInterractive simulation
Interractive simulation
 
Teacher
TeacherTeacher
Teacher
 
Twitter
TwitterTwitter
Twitter
 
W 2
W 2W 2
W 2
 
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสองสรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
สรุปประเด็นสำคัญการปฏิรูปการศึกษารอบสอง
 
Phy1 m4 kruyu
Phy1 m4 kruyuPhy1 m4 kruyu
Phy1 m4 kruyu
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 

Substance classification

  • 1. ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนการสอนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง การจําแนกสาร การจําแนกสารและสมบัติสาร การดํารงชีวตของมนุษยจาเปนตองเกี่ยวของสัมพันธกับสสารและพลังงานทั้งสิน ดังนั้นเรา ิ ํ ้ จึงตองเรียนรูเกี่ยวกับสสาร เพื่อสามารถนําความรูที่ไดไปใชประโยชนในชีวตประจําวันไดอยาง ิ เหมาะสม สสารและพลังงานแตกตางกันอยางไร สสาร หมายถึง สิ่งทีมีมวล มีน้ําหนัก ตองการที่อยู และสัมผัสได มีทั้งสิงมีชีวตแลไมมี ่ ่ ิ ชีวต เชน หิน น้ํา แร โตะ สัตว พืช อาหาร มนุษย เปนตน ิ พลังงาน หมายถึง สิงที่ไมมีมวล ไมมีน้ําหนัก และสัมผัสไมได เชน พลังงานเสียง พลังงาน ่ ลม พลังงานความรอน เปนตน สาร หมายถึง สสารนั่นเอง ไดแก กรดเกลือ กรดแอซีติก กํามะถัน เกลือแกง เปนตน การจําแนกประเภทของสาร การจัดจําพวกของสารมีวิธีการทําไดหลายวิธี ขึ้นอยูกับเกณฑที่นํามาจําแนก เชน ใช สถานะเปนเกณฑ ใชลักษณะของเนื้อสารเปนเกณฑ สมบัติความเปนกรด-เบส เปนตน การจําแนกสารโดยใชลักษณะเนื้อสารเปนเกณฑ ซึ่งแบงได 2 ประเภทคือ 1. สารเนื้อเดียว หมายถึง สารที่มองเห็นเปนเนื้อเดียว และมีสมบัติเดียวกัน ซึ่งไมวาจะ  สัังเกตดวยวิิธีการใดก็็ตาม เชน นํ้ําบริิสุทธิ์ิ เงิิน ทองแดง นาก อากาศ ทองคํา นําเกลืือ นํ้ําเชื่อม  ใ ํ ้ํ ื เปนตน 2.สารเนื้อผสม คือสารที่มีองคประกอบตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป มาผสมกันมองเห็นไมเปนเนื้อ เดียวกัน สารประเภทนี้อาจมีองคประกอบเหมือนกันหรือตางสถานะกันก็ได เชน น้ําโคลน น้ํานม น้าสลัด เปนตน ํ การจําแนกสารเนื้อเดียวไดสารบริสุทธ และสารละลายเปนวิธีการจําแนกสารโดย อาศัยสมบัติทางกายภาพของสาร คือลักษณะเนือสารหรือการรวมตัวกันของสารที่เปนองคประกอบ ้ โดย ไมเกิดปฏิกิริยาเคมี ***********
  • 2. ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนการสอนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง การจําแนกสาร สาร สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม สารบริสุทธิ์ สารละลาย สารแขวนลอย คอลลอยด การจําแนกสารโดยใชสถานะเปนเกณฑ แบงไดเปน 3 สถานะ คือ 1.ของแข็ง คือสารที่มีสถานะเปนของแข็งในอุณหภูมิปกติ ของแข็งเปนสารที่มีรูปราง แนนอนเนื่องจากอนุภาคภายในยึดเหนี่ยวกันอยางแนนอน เชน ทองแดง หิน กระดาษ เกาอี้ เปนตน 2. ของเหลว คือ สารที่มีสถานะเปนของเหลวที่อุณหภูมิปกติ ของเหลวจะมีปริมาตร แนนอนแตรูปรางจะเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ เนื่องจากอนุภาคภายในจับตัวกันแบบหลวม ๆ เชน น้ํา น้ามันดิบ แอลกอฮอล เปนตน ํ 3. กาซ คือ สารที่มีสถานะเปนกาซหรือไอทีอณหภูมิปกติ กาซจะมีรูปรางและปริมาตรไม ุ่ แนนอน รูปรางจะเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ(อนุภาคจะฟุงกระจายไปทั่วภาชนะที่บรรจุ)  เนื่องจากกาซมีแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคนอยมาก เชน ไอน้า กาซออกซิเจน กาซไนโตรเจน ุ ํ เปนตน ของแข็ง ของเหลว กาซ
  • 3. ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนการสอนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง การจําแนกสาร สมบัติของสาร สมบัติของสาร หมายถึง ลักษณะเฉพาะตัวของสารที่สามารถบงบอกวาเปนสารชนิดใด เพราะสมบัติของสารแตละชนิดไมเหมือนกันทุกประการ สมบัติของสารแบงออกเปน 2 ประเภท ใหญ ๆ คือ สมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมี ญ สมบัติทางกายภาพของสาร หมายถึง สมบัติที่สังเกตเห็นจากลักษณะภายนอก และสามารถ สัมผัสไดดวยประมาทสัมผัส เชน สถานะ การละลาย การนําไฟฟา จุดเดือด จุดหลอมเหลว เปนตน  1. จุดเดือด คือจุดที่สารนั้นกําลังเปลี่ยนแปลงสถานะจากของเหลวกลายเปนไอ จุดเดือดของ สารแตละประเภทจะไมเทากัน ดังนั้นจึงสามารถใชสมบัตจดเดือดของสารเปนเกณฑในการบอก ิุ ชนิดของสารได เชน นําบริสุทธิ์มีจุดเดือดที่ 100 องศาเซลเซียส เปนตน ้ 2. สถานะของสาร คือสมบัติทางกายภาพของสาร สารทั้งหมดบนโลก มีอยู 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และกาซ สถานะของสารสามารถเกิดการเปลี่ยนแปลงไดซึ่งตองขึ้นอยูกับสภาวะ ของอุณหภูมิ เชน วัฏจักรของน้า เปนตน ํ 3. การละลายนา เปนสมบตเฉพาะตวของสาร สารแตละชนดจะมความสามารถในการละลาย 3 การละลายน้ํา เปนสมบัติเฉพาะตัวของสาร สารแตละชนิดจะมีความสามารถในการละลาย น้ําไดตางกัน บางชนิดอาจละลายไดดี แตสารบางชนิดละลายน้ําไดนอย หรือไมละลายน้าเลย เชน   ํ น้ําตาลทรายละลายในน้า เกลือละลายในน้า เปนตน ํ ํ 4. ความหนาแนน คือ อัตราสวนระหวางมวลตอปริมาตรของสาร ซึ่งเปนสมบัติเฉพาะของ สาร ดังนั้นสารแตละชนิดจึงมีความหนาแนนตางกัน ความหนาแนนหาไดจากสูตร มวลของสาร ความหนาแนน = ปริมาตรของสาร M D= V D คือ ความหนาแนน มีหนวยเปน กรัมตอลูกบาศกเซนติเมตร หรือกิโลกรัมตอลูกบาศกเมตร M คือ มวลของสาร มีหนวยเปน กรัมหรือ กิโลกรัม V คือ ปริมาตรของสาร มีหนวยเปน ลูกบาศกเซนติเมตร หรือลูกบาศกเมตร
  • 4. ใบความรูวิชาวิทยาศาสตร หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนการสอนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง การจําแนกสาร 5.ความถวงจําเพาะหรือความหนาแนนสัมพัทธ คือ อัตราสวนระหวางความหนาแนนของ สาร นั้นตอความหนาแนนของน้า ณ อุณหภูมิหนึ่ง (ตามปกติเปนอุณหภูมิ 20 0C) ํ ความหนาแนนของสาร  ความถวงจําเพาะ = ความหนาแนนของน้า ํ น้ําบริสุทธิ์มีความหนาแนน = 1.0 กรัมตอลูกบาศก เซนติเมตร ความหนาแนนของสาร ความหนาแนนสัมพัทธ = 1.0 g/cm2 สมบัติทางเคมีของสาร หมายถึง สมบัติที่เกี่ยวของกับองคประกอบโครงสรางภายในของ สาร(อะตอมหรือโมเลกุล) หรือเกี่ยวของกับปฏิกิริยาเคมี โดยการเกิดปฏิกิริยาของสารบางชนิดจะ ได สารใหมที่มีสมบัติแตกตางไปจากสารเดิม เชน ความเปนกรดเบส การทําปฏิกิริยากับสารอื่น การหมักแปงแลวเกิดแอลกอฮอล การเกิดสนิมของเหล็ก เปนตน
  • 5. ใบกิจกรรมวิชาวิทยาศาสตร หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนการสอนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 เรื่อง การจําแนกสาร กิจกรรม การจําแนกตามลักษณะเนื้อสาร จุดประสงคการทดลอง 1.จําแนกสารโดยใชลักษณะของเนื้อสารเปนเกณฑได วิธีการทดลอง 1. นําวัสดุตาง ๆที่ตองการจําแนกประเภทลักษณะของเนื้อสาร ไดแก สมตํา   ผงซักฟอก เกลือแกง น้านม น้ําโคลน น้ําหวาน ถาน น้ากะทิ น้ําตาลทราย น้าสมสายชู มา ํ ํ ํ สังเกตลักษณะของเนื้อสารแตละชนิด พรอมบันทึกผลที่สังเกตได ถาสารบางชนิดไมอาจ ตดสนใจอาจใชอุปกรณอื่น ชวย เชน แทงแกว ตัดสินใจอาจใชอปกรณอน ๆ ชวย เชน แทงแกว ตารางบันทึกผลการทดลอง สาร สถานะ ผลการสังเกตลักษณะเนื้อสาร มองเห็นเปนเนื้อเดียว มองเห็นไมเปนเนื้อเดียว 1. น้้ํากะทิ 2.สมตํา 3.เกลือแกง 4.น้ําตาลทราย 5.น้ําหวาน 6 น้ําสมสายช 6.นาสมสายชู 7.น้ํานม 8.ถาน 9.น้ําโคลน 10.ผงซักฟอก สรุปผลการ ทดลอง………………………………………………………. …………………………………………………………………………………… …………...……………………………………………………………………….
  • 6. ใบงานที…….วิชาวิทยาศาสตร ่ หนวยการเรียนรูที่ 2 แผนการสอนที่ 1 ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ผลการเรียนรูที่คาดหวัง เรอง การจาแนกสาร เรื่อง การจําแนกสาร 1. อธิบายสมบัติทางกายภาพของสารและจําแนกสารเปนกลุมตามลักษณะของเนื้อ สารและขนาดของอนุภาค จุดประสงคการเรียนรู 1. สามารถสรุุปสมบัติทางกายภาพของสารและสมบัติทางเคมีของสารได คําสัง จงเติมคําหรือขอความในชองวางตอไปนี้ใหถูกตอง ่ 1. จากการทดลองสารใดบางที่เปนสารเนื้อ เดียว……………………………………………… ……………………………….……………………………………………………………….. 2. จงอธิบายการจัดเรียงตัวของอนุภาคของแข็ง ของเหลว และกาซ วามีลักษณะ อยางไร…….. ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………….. 3. การจําแนกสารสามารถจําแนกโดยใชเกณฑอะไรบาง…………………………………….. …………………………………………………………………………………………………. 4. สารทั้งหมดบนโลกมีอยู…………สถานะ คือ……...………………………………………. 5. สารเนื้อเดียว คือ สาร………………………………………………………………………. สารเนื้อผสม คือ.สาร.…………………………………………………………………………. 6.สมบัติทางเคมีของสารคือ………………………………………………………………….. …………………………………………………………………………………………………. เชน…………………………………………………………………………………………… 7.จงยกตัวอยางสมบัติทางกายภาพของสาร…………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………... ชื่อ………………………..นามสกุล………………………………เลขที่ …………..