SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
บทที่ 2
                       การเคลื่อนที่ดวยความเรงคงที่
               จลนศาสตร (kinematics) เปนแขนงหนึ่งของวิชากลศาสตร ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของ
    วัตถุ โดยไมคํานึงถึงสาเหตุที่ทําใหวัตถุเกิดการเคลื่อนที่ การเคลื่อนที่ของวัตถุแบงได 2 อยางคือ
    1. การเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่ (translation) เปนการเปลี่ยนตําแหนงของวัตถุในแนวเสนตรงหรือเสนโคง
    2. การเคลื่อนที่แบบหมุน (rotation) เปนการเคลื่อนที่ของวัตถุที่มีการหมุนหรือสั่น
               ตัวอยางการเคลื่อนที่ที่งายที่สุด ไดแก การเคลื่อนที่เปนเสนตรง โดยการสมมติใหอนุภาคหนึ่ง
    มีขนาดเล็กเกือบเปนจุด ไมมีการหมุน การสั่น หรือเปลี่ยนแปลงรูปราง เคลื่อนที่เปนเสนตรงอยูบนแกน
    x (หนึ่งมิติ)
2.1 ปริมาณตางๆ ของการเคลื่อนที่
              ในการศึกษาจลนศาสตรของวัตถุ จะเริ่มที่การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ เพื่องายตอความเขาใจ
จําเปนตองศึกษาคํานิยามรวมถึงสมการของปริมาณตางๆที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่
             2.1.1 ระยะทางและการกระจัด
             ระยะทาง (distance) เปนปริมาณสเกลาร บอกถึงระยะทางทั้งหมดที่วัตถุมีการเคลื่อนที่ มี
หนวยเปนเมตร
                การกระจัด (displacement) เปนปริมาณเวกเตอร บอกใหทราบถึงการเปลี่ยนตําแหนงของ
วัตถุ การกระจัดขึ้นอยูกับตําแหนงเริ่มตนและตําแหนงสุดทายของวัตถุ ไมขึ้นกับเสนทางการเคลื่อนที่ หาก
วัตถุเคลื่อนที่ไปแลวกลับมาที่ตําแหนงเริ่มตนแสดงวาระยะกระจัดเปนศูนย
                วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่จากจุดเริ่มตน x = 0 เปนเสนตรงไปตามแกน +x ณ เวลา t1 ตําแหนงของ
วัตถุอยูท่จุด P หางจากจุดเริ่มตนเทากับ x1 และ ณ เวลา t2 ตําแหนงของวัตถุอยูที่จุด Q หางจากจุดเริ่มตน
           ี
เทากับ x2 ชวงเวลาระหวาง t1 ถึง t2 วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแกน x จากจุด P ถึง Q ไดการกระจัดในหนึ่งมิติ
เปน
                                         Δx            = x2 - x1                                     (2.1)




                           รูปที่ 2.1 การแสดงตําแหนงและการกระจัดบนแกน x
ฟสิกสเบื้องตน                                                                                           18

          2.1.2 อัตราเร็วและความเร็ว
         เมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่จะมีการเปลี่ยนตําแหนงวัตถุที่เคลื่อนที่ไดเร็วจะใชเวลาในการเปลี่ยนตําแหนง
นอยกวาวัตถุที่เคลื่อนที่ไดชา ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไดในหนึ่งหนวยเวลา จะหมายถึง อัตราเร็วเฉลี่ย
                             s
                      v av =                                                                     (2.1)
                             t
         ถาหาอัตราเร็วเฉลี่ยของการเคลื่อนที่ในชวงเวลาสั้น ๆ จนใกลศูนยเรียกอัตราเร็วในชวงเวลาสั้น ๆ นี้
วา อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง

                   ตําแหนงอางอิง


                                                     A                                   B




                                     x1

                                                                       x2
                         t0                         t1                                  t2
                        เวลา


                                    รูปที่ 2.1 การเคลื่อนที่ของมาตัวหนึ่ง
จากรูปมาเปลี่ยนตําแหนงจาก x1 ณ เวลา t1 เปน x2 ณ เวลา t2 เมื่อพิจารณาการกระจัดของมา โดยเทียบกับ
จุดอางอิงในระบบพิกัดฉากจะได
          ในเวลา t2 –t1 มีการกระจัด d = x 2 − x1 มีทิศจากจุดอางอิงไปยัง x2 การกระจัดตอหนึ่งหนวยเวลา
เรียกวา ความเร็วเฉลี่ย
                                               d
                                       v av =
                                              Δt
                                              x 2 − x1
เมื่อ                                  v av =                                            (2.2)
                                               t 2 − t1
ถาเวลา t2 – t1 เปนชวงเวลาสั้น ๆ จนเขาใกลศูนย ความเร็วเฉลี่ย คือ ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง นั่นเอง
          2.1.3 ความเรง
          โดยทั่วไปวัตถุอาจเคลื่อนที่ดวยความเร็วที่ไมคงที่ ซึ่งเราสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงความเร็วนี้
ไดดวยความเรง โดยกําหนดให ความเรงเปนการเปลี่ยนแปลงความเร็วตอหนวยเวลา
          สมมติวาที่เวลา t1 วัตถุมีความเร็ว v1 และเมื่อเวลา t2 วัตถุมีความเร็ว v 2 ความเรงเฉลี่ยของวัตถุ
ในชวงเวลา t1 ถึง t2 คือ
                                              Δ v v 2 − v1
                                       aav =      =                                           (2.3)
                                               Δt       t 2 − t1
          ความเรงเปนปริมาณเวกเตอร มีหนวยเปน เมตรตอวินาที2 (m/s2) และความเรงในชวงเวลาเขาใกล
ศูนยเราเรียกวาความเรงชั่วขณะ


                      สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน                                                                                              19

2.2 การเคลื่อนที่ดวยความเรงคงที่
          การเคลื่อนที่หลาย ๆ อยางเปนการเคลื่อนที่ดวยความเรงคงที่ ยกตัวอยางที่เห็นไดชัดคือการตกลง
มาอยางอิสระของวัตถุภายใตแรงโนมถวงของโลก
          ถาสมมติใหเริ่มตนที่เวลา t = 0 วัตถุที่เราสังเกตอยูที่ตําแหนง x1 และมีความเร็วตน v0 ตอมาที่เวลา
t วัตถุเปลี่ยนมาอยูท่ตําแหนง x2 มีความเร็ว v โดยในการเคลื่อนที่นี้วัตถุมีความเรงคงที่ a ดังนั้นจากนิยาม
                      ี
ของความเรงเราสามารถหาความสัมพันธของสิ่งเหลานี้ได
             จากสมการความเรงซึ่งในที่นี้จะเขียนเฉพาะขนาดและใชเครื่องหมายบวกและลบแทนทิศทาง
                                                              Δv
                                        a           =
                                                               Δt
                             ∴          Δv          =        a Δt
                                        v – v0 =              a (t – 0 )
                                                   =          at
                             ∴          v           =         v0 + at                                       (2.4)
          จากสมการความเร็วซึ่งในที่นี้จะเขียนเฉพาะขนาดและใชเครื่องหมายบวกและลบแทนทิศทาง
          สําหรับการคํานวณหาระยะทาง x ที่วัตถุเคลื่อนที่ไดในชวงเวลา เมื่อกําหนดความเร็วตน v0 และ
ความเรงคงตัว a จะหาไดดังนี้
          เนื่องจากระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปมีคาเทากับผลคูณระหวางความเร็วเฉลี่ยกับเวลาจึงเขียนไดวา

                                        x           =
                                                           (        )
                                                                v0 + v t
                                                                     2
          แทนคา v จากสมการ (2.4) ลงไป จะได
                                                                       1
                                        x           =         v 0 t + at 2                                  (2.5)
                                                                       2
                                                           v − v0
          และจากสมการ v = v0 + at ทําใหไดวา t =
                                                              a
                              v − v0                                 1
          เมื่อเราแทนคา t =            ลงในสมการ x = v 0 t + at 2 จะได
                                  a                                  2
                                        v2         =         v02 + 2ax                                      (2.6)

        ดังนั้นสรุปไดวาความสัมพันธระหวาง การกระจัด ความเร็ว และความเรง ของอนุภาคที่เคลื่อนที่ใน
แนวเสนตรงดวยความเรงที่คือ

                                       v         =         v0 + at
                                                                 1
                                       x         =        v 0 t + at 2
                                                                 2
                                       v2        =          2
                                                          v0 + 2ax




                    สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน                                                                                        20

ตัวอยาง 2.1 อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ดวยความเร็ว 50 เมตรตอวินาที เมื่ออนุภาคนี้เคลื่อนที่ไดระยะกระจัด
100 เมตร ความเร็วของอนุภาคลดลงเหลือ 35 เมตรตอวินาที จงหาขนาดและทิศทางของความเรง
วิธีทํา จากสมการ          v2         =       v02 + 2ax

          ∴                a         =
                                               (v 2 − v 02 )
                                                    2x
          โดยที่โจทยกําหนดให      v = 35 m/s
                                    v0 = 50 m/s
                                    x = 100 m

          เมื่อแทนคาสิ่งที่โจทยกําหนดลงในสมการ         a =
                                                                (v 2 − v 02 )
                                                                    2x
          จะได    a        =
                                     (35
                                      − 50 )
                                           2    2
                                                  = -6.375 m/s2
                                   2 ×100
คําตอบ ความเรงมีขนาด 6.375 เมตรตอวินาที2 และมีทิศตรงขามกับการเคลื่อนที่


ตัวอยาง 2.2 นักแสดงหนุมรูปหลอนายหนึ่งขับรถดวยความเร็ว 100 กิโลเมตรตอชั่วโมง เพื่อรีบไปกองถาย
ในขณะที่เขาขับรถอยูนั้นเขามองเห็นสิ่งกีดขวางอยูขาหนาในระยะ 150 เมตร ถามวาเขาจะตองเหยียบเบรค
ใหไดความเรงเทาไรจึงจะหยุดรถหนาสิ่งกีดขวางพอดี

                                                               100 km/hr



                                       150 m
วิธีทา ถานักแสดงคนนี้ตองการใหรถหยุดที่หนาสิ่งกีดขวาพอดี เขาจะตองเหยียบเบรคใหความเร็วปลาย
     ํ
       เปนศูนยในระยะ 150 เมตร
       จากสมการ           v2      =       v02 + 2ax

                 ∴        a        =
                                           (v 2 − v 02 )
                                                2x
       แทนคาสิ่งที่โจทยกําหนดลงในสมการจะได
                                           ⎛ ⎛ 100 ⎞ 2 ⎞
                                           ⎜0 −⎜ ⎟ ⎟
                                           ⎜ ⎝ 3. 6 ⎠ ⎟
                          a       =        ⎝             ⎠ = -2.572 m/s2
                                                 2 ×150
คําตอบ เขาจะตองเหยียบเบรกใหไดความเรง -2.572 เมตรตอวินาที2




                   สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน                                                                                    21

          2.2.1 การตกอยางอิสระ
         จากที่กลาวมาแลววาการตกอยางอิสระของวัตถุภายใตแรงโนมถวงของโลกซึ่งเปนการเคลื่อนที่ใน
แนวดิ่งเปนกรณีหนึ่งของการเคลื่อนที่ดวยความเรงคงที่ โดยความเรงของวัตถุก็คือความเรงเนื่องจากแรงโนม
ถวงของโลกซึ่งคาคงที่ประมาณ 9.8 เมตรตอวินาที2 ซึ่งความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลกนี้แทนดวย
สัญลักษณ g การเคลื่อนที่ดวยแรงโนมถวงของโลกเปนการเคลื่อนที่ในแนวแกน y และความเรงคือ a = -g
         ดังนั้นเราจะไดสมการการตกอยางอิสระดังนี้

                                   v         =        v0 - gt
                                                             1
                                   y         =       v 0 t − gt 2
                                                             2
                                   v2       =          2
                                                     v0 - 2gy




ตัวอยาง 2.3 นักศึกษาคนหนึ่งยืนอยูบนอาคารคณะวิทยาศาสตรซึ่งสูง 50 เมตร ถานักศึกษาคนเดียวกันนี้
ขวางกอนหินขึ้นดวยความเร็ว 20 เมตรตอวินาทีดังรูปจงหา
         ก) เวลาที่ใชเมื่อกอนหินขึ้นไปยังตําแหนงสูงสุด
         ข) กอนหินจะเคลื่อนที่ขึ้นสูงจากยอดตึกเทาไร
         ค) เวลาที่กอนหินใชในการเคลื่อนที่จากตําแหนงสูงสุดมายังตําแหนงที่นักศึกษายืนอยู
         ง) เมื่อเวลาผานไป 5 วินาทีกอนหินมีความเร็วเทาไรและอยูที่ตําแหนงใด
วิธีทํา
ก) ตําแหนงที่กอนหินขึ้นไปสูงสุดจะมีความเร็วเปนศูนย
         จากสมการ             v = v0 – gt
                                   v − v0
         จะได                 t=
                                     −g
         นักศึกษาขวางกอนหินขึ้นดวยความเร็วตน 20 m/s
                                   0 − 20
         ∴                     t=          = 2.04 s
                                    − 9. 8
         เวลาที่ใชเมื่อกอนหินขึ้นไปยังตําแหนงสูงสุด คือ 2.04 วินาที
                                                                     50 m

                           1
ข) ใชสมการ y = v 0 t − gt 2 หาระยะที่กอนหินขึ้นไปไดสูงสุด จะได
                           2
                                           1
         y          =         (20×2.04) - (9.8)(2.04)2
                                           2
                    =         20.4 m
         กอนหินจะเคลื่อนที่ขึ้นสูงจากยอดตึก 20.4 เมตร




                   สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน                                                                                      22


ค) เมื่อกอนหินเคลื่อนที่ยอนกลับมายังตําแหนงที่นักศึกษายืนอยู y จะเทากับ 0
                                            1
           เพราะฉะนั้นจากสมการ y = v 0 t − gt 2
                                            2
                            1 2
           จะได v 0 t − gt           =        0
                            2
                           1
                    20t - (-9.8)t2 =          0
                           2
                    20t + 4.9t2       =       0
                    t(20 + 4.9t)      =       0
แกสมการเพื่อหาคําตอบจะไดคําตอบของสมการ 2 คําตอบ คือ t = 0 s และ t = 4.08 s ซึ่งที่เวลาเทากับ 0
คือเวลาตอนเริ่มตน เพราะฉะนั้นคําตอบของขอนี้คือ 4.08 วินาที

ง) จากสมการ        v          =     v0 – gt ความเร็วเมื่อเวลาผานไป 5 วินาที คือ
                   v         =      20 – (9.8)(5) =             - 29.0 m/s
                                            1
  จากสมการ         y       =         v 0 t − gt 2 ตําแหนงของกอนหินเมื่อเวลาผานไป 5 วินาทีคอ
                                                                                             ื
                                            2
                                              1
                  y        =        (20)(5) - (9.8)(5)2         =         -22.5 m
                                              2
เมื่อเวลาผานไป 5 วินาทีกอนหินจะมีความเร็ว 29 เมตรตอวินาทีมีทิศพุงลงสูพื้นดิน และกอนหินอยูสูงจากพื้น
เปนระยะ 22.5 เมตร




                       สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน                                                                                           23

                                         แบบฝกหัดบทที่ 2
1. ถาการเคลื่อนที่ของกอนหินในแนวดิ่ง เกิดจากการโยนขึ้นดวยความเร็วตน 5 เมตรตอวินาที ซึ่งจะมี
ความเรงคงตัวในทิศลงมีคา 10 เมตร/วินาที2 กอนหินจะใชเวลาเทาใดจะถึงจุดสูงสุด และใชเวลาอีกเทาใดจึง
จะกลับถึงจุดโยน ความเร็วเฉลี่ยชวงขาขึ้นเปนเทาใด และระยะทางถึงจุดสูงสุดเปนเทาใด

2. รถยนตคันหนึ่งเคลื่อนที่ได 30 กิโลเมตร ในครึ่งชั่วโมงแรกและเคลื่อนที่ไดระยะทาง 50 กิโลเมตร ในครึ่ง
ชั่วโมงตอมา อัตราเร็วเฉลี่ยใน 1 ชั่วโมงมีคาเทาใด

3. เด็กชายคนหนึ่งเดินทางไปทางทิศตะวันออก 150 เมตร และเดินกลับทางเดิม 30 เมตร ไปทางทิศตะวันตก
จงหาระยะทาง และ การกระจัดของเด็กคนนี้

4. วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงดวยความเร็วตน 100 เมตรตอวินาที โดยมีความเรง 5 เมตรตอวินาที2
ขณะที่วตถุเคลื่อนที่ไดระยะทาง 480 เมตร วัตถุเคลื่อนที่มาแลวกี่วินาที
        ั

5. โยนกอนหินขึ้นไปตามแนวดิ่งดวยความเร็วตน 10 เมตรตอวินาที จงหา
         ก. เมื่อใดกอนหินมีความเร็วเปนศูนย
         ข. กอนหินขึ้นไปไดสูงสุดเทาใด
         ค. เปนเวลานานเทาใดกอนหินจึงจะตกลงมาถึงตําแหนงเริ่มตน

6. ขณะที่บอลลูนลอยขึ้นตรงๆ ดวยความเร็ว 5 เมตรตอวินาที ขณะที่บอลลูนสูงจากพื้นดิน 30 เมตร ผูอยูใน
บอลลูนก็ปลอยถุงทรายลงมา
         ก. จงหาตําแหนงของถุงทรายหลังจากปลอยไปแลว 1 และ 2 วินาที
         ข. ถุงทรายจะตกถึงพื้นดินในเวลาเทาใด
         ค. ขณะที่ถึงพื้นดิน ถุงทรายมีความเร็วเทาใด
         ง. จุดสูงสุดของถุงทรายอยูสูงจากพื้นดินเทาใด

7. อิเล็กตรอนตัวหนึ่งเคลื่อนที่ดวยความเร็ว 1 × 10 วินาที เขาสูบริเวณสนามไฟฟาและถูกเรงโดย
                                                   4

สนามไฟฟาเปนระยะทาง 1 เซนติเมตร เมื่ออกจากสนามไฟฟาอิเล็กตรอนนั้นมีความเร็ว 4 × 10 เมตรตอ
                                                                                            4

วินาที จงคํานวณหาความเรง

8. โยนกอนหินขึ้นไปในแนวดิ่งจากพื้นดิน ดวยความเร็วตน 20 เมตรตอวินาที หลังจากโยนไปแลวเปนเวลา
เทาไร กอนหินจึงจะตกลงมาดวยความเร็ว 10 เมตรตอวินาที

9. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่ในแนวเสนตรงจากหยุดนิ่งดวยความเรงคงที่ 3 เมตรตอวินาที2 เมื่อผานจุด
สังเกตมีความเร็ว 12 เมตรตอวินาที ขณะที่วัตถุมีความเร็ว 24 เมตรตอวินาที วัตถุอยูหางจากจุดสังเกตกี่
เมตร

10. ถาความเร็วตนของน้ําที่ฉีดขึ้นในแนวดิ่งมีคาเทากับ 8 เมตรตอวินาที จงหาความสูงของน้ําที่พุงขึ้นใน
อากาศ

                    สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
ฟสิกสเบื้องตน                                                                           24

11. ใหนักศึกษาทําการทดลองการตกแบบอิสระใน
http://www.rmutphysics.com/charud/virtualexperiment/explorescience/gravitation/index.htm




โดยสมมติวาไมมความเร็วลม (wind speed = 0 m/s) ไมมีแรงตานอากาศ
                 ี
(air density = 0 kg/m3 )         และ ปรับระยะบนแกน x แกน y (วิธีปรับ แกน x และ y ใหใช
เมาสไปคลิกที่ชองสี่เหลี่ยม และ กดแปนคียบอรดปอนคาลงไป ตอไป ปรับมาตราสวน
ของ Diatance จาก 4 เปน 1 , Velocity จาก 2 เปน 1 และ acceler = 1 )




                   สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
หนังสืออิเล็กทรอนิกส

ฟสิกส 1(ภาคกลศาสตร (                                         ฟสิกส 1 (ความรอน)

ฟสิกส 2                                                            กลศาสตรเวกเตอร
โลหะวิทยาฟสิกส                                               เอกสารคําสอนฟสิกส 1
ฟสิกส 2 (บรรยาย(                                       แกปญหาฟสิกสดวยภาษา c
ฟสิกสพิศวง                                           สอนฟสิกสผานทางอินเตอรเน็ต
ทดสอบออนไลน                                                   วีดีโอการเรียนการสอน
หนาแรกในอดีต                                                 แผนใสการเรียนการสอน
เอกสารการสอน PDF                                   กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร
แบบฝกหัดออนไลน                                                     สุดยอดสิ่งประดิษฐ
                             การทดลองเสมือน

บทความพิเศษ                                            ตารางธาตุ ) ไทย1) 2 (Eng)
พจนานุกรมฟสิกส                                             ลับสมองกับปญหาฟสิกส

ธรรมชาติมหัศจรรย                                                    สูตรพื้นฐานฟสิกส

การทดลองมหัศจรรย                                                ดาราศาสตรราชมงคล
                             แบบฝกหัดกลาง

แบบฝกหัดโลหะวิทยา                                                        แบบทดสอบ

ความรูรอบตัวทั่วไป                                                        อะไรเอย ?

ทดสอบ)เกมเศรษฐี (                                                           คดีปริศนา

ขอสอบเอนทรานซ                                                เฉลยกลศาสตรเวกเตอร
คําศัพทประจําสัปดาห
                               ความรูรอบตัว

การประดิษฐแของโลก                                           ผูไดรับโนเบลสาขาฟสิกส
นักวิทยาศาสตรเทศ                                                   นักวิทยาศาสตรไทย
ดาราศาสตรพิศวง                                       การทํางานของอุปกรณทางฟสิกส
การทํางานของอุปกรณตางๆ
การเรียนการสอนฟสิกส 1 ผานทางอินเตอรเน็ต

1. การวัด                                                                                2. เวกเตอร
3. การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ                                               4. การเคลื่อนที่บนระนาบ
5. กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน                                   6. การประยุกตกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
7. งานและพลังงาน                                                             8. การดลและโมเมนตัม
9. การหมุน                                                               10. สมดุลของวัตถุแข็งเกร็ง
11. การเคลื่อนที่แบบคาบ                                                            12. ความยืดหยุน
13. กลศาสตรของไหล                                 14. ปริมาณความรอน และ กลไกการถายโอนความรอน
15. กฎขอที่หนึ่งและสองของเทอรโมไดนามิก                            16. คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร
17. คลื่น                                                                   18.การสั่น และคลื่นเสียง
                             การเรียนการสอนฟสิกส 2 ผานทางอินเตอรเน็ต

1. ไฟฟาสถิต                                                                           2. สนามไฟฟา
3. ความกวางของสายฟา                                             4. ตัวเก็บประจุและการตอตัวตานทาน
5. ศักยไฟฟา                                                                         6. กระแสไฟฟา
7. สนามแมเหล็ก                                                                        8.การเหนี่ยวนํา
9. ไฟฟากระแสสลับ                                                                   10. ทรานซิสเตอร
11. สนามแมเหล็กไฟฟาและเสาอากาศ                                              12. แสงและการมองเห็น
13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ                                                            14. กลศาสตรควอนตัม
15. โครงสรางของอะตอม                                                                  16. นิวเคลียร
                            การเรียนการสอนฟสิกสทั่วไป ผานทางอินเตอรเน็ต

1. จลศาสตร )kinematic)                                               2. จลพลศาสตร (kinetics)
3. งานและโมเมนตัม                                                     4. ซิมเปลฮารโมนิก คลื่น และเสียง
5. ของไหลกับความรอน                                                        6.ไฟฟาสถิตกับกระแสไฟฟา
7. แมเหล็กไฟฟา                                                         8. คลื่นแมเหล็กไฟฟากับแสง
9. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ อะตอม และนิวเคลียร




                                           ฟสิกสราชมงคล

More Related Content

What's hot

9789740328896
97897403288969789740328896
9789740328896CUPress
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...มะดาโอะ มะเซ็ง
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติPrint25
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงkroosarisa
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติkungten555
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงKaettichai Penwijit
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01tuiye
 
เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์Porna Saow
 
ใบงาน แผน 05
ใบงาน แผน 05ใบงาน แผน 05
ใบงาน แผน 05witthawat silad
 

What's hot (13)

9789740328896
97897403288969789740328896
9789740328896
 
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
E0b884e0b8a5e0b8b7e0b988e0b899 1 e0b898e0b8a3e0b8a3e0b8a1e0b88ae0b8b2e0b895e0...
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
Brands physics
Brands physicsBrands physics
Brands physics
 
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงบทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
บทที่ 1 การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
ใบความรู้ 7
ใบความรู้ 7ใบความรู้ 7
ใบความรู้ 7
 
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติการเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่หนึ่งมิติ
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรงการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่ในแนวตรง
 
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ01
 
เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์
 
ใบงาน แผน 05
ใบงาน แผน 05ใบงาน แผน 05
ใบงาน แผน 05
 
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
แรงมวลและกฎการเคลื่อนที่
 

Similar to การเคลื่อนที่1

เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์Porna Saow
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่นrumpin
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่kroosarisa
 
การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1kroosarisa
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็วnuchpool
 
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงkroosarisa
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่Chakkrawut Mueangkhon
 
9789740328896
97897403288969789740328896
9789740328896CUPress
 

Similar to การเคลื่อนที่1 (9)

เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์เฉลย ฟิสิกส์
เฉลย ฟิสิกส์
 
คลื่น
คลื่นคลื่น
คลื่น
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1การเคลื่อนที่1
การเคลื่อนที่1
 
Test phy1
Test phy1Test phy1
Test phy1
 
ความเร็ว
ความเร็วความเร็ว
ความเร็ว
 
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรงการเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
การเคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง
 
การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่
 
9789740328896
97897403288969789740328896
9789740328896
 

การเคลื่อนที่1

  • 1. บทที่ 2 การเคลื่อนที่ดวยความเรงคงที่ จลนศาสตร (kinematics) เปนแขนงหนึ่งของวิชากลศาสตร ซึ่งศึกษาเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของ วัตถุ โดยไมคํานึงถึงสาเหตุที่ทําใหวัตถุเกิดการเคลื่อนที่ การเคลื่อนที่ของวัตถุแบงได 2 อยางคือ 1. การเคลื่อนที่แบบเลื่อนที่ (translation) เปนการเปลี่ยนตําแหนงของวัตถุในแนวเสนตรงหรือเสนโคง 2. การเคลื่อนที่แบบหมุน (rotation) เปนการเคลื่อนที่ของวัตถุที่มีการหมุนหรือสั่น ตัวอยางการเคลื่อนที่ที่งายที่สุด ไดแก การเคลื่อนที่เปนเสนตรง โดยการสมมติใหอนุภาคหนึ่ง มีขนาดเล็กเกือบเปนจุด ไมมีการหมุน การสั่น หรือเปลี่ยนแปลงรูปราง เคลื่อนที่เปนเสนตรงอยูบนแกน x (หนึ่งมิติ) 2.1 ปริมาณตางๆ ของการเคลื่อนที่ ในการศึกษาจลนศาสตรของวัตถุ จะเริ่มที่การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ เพื่องายตอความเขาใจ จําเปนตองศึกษาคํานิยามรวมถึงสมการของปริมาณตางๆที่เกี่ยวของกับการเคลื่อนที่ 2.1.1 ระยะทางและการกระจัด ระยะทาง (distance) เปนปริมาณสเกลาร บอกถึงระยะทางทั้งหมดที่วัตถุมีการเคลื่อนที่ มี หนวยเปนเมตร การกระจัด (displacement) เปนปริมาณเวกเตอร บอกใหทราบถึงการเปลี่ยนตําแหนงของ วัตถุ การกระจัดขึ้นอยูกับตําแหนงเริ่มตนและตําแหนงสุดทายของวัตถุ ไมขึ้นกับเสนทางการเคลื่อนที่ หาก วัตถุเคลื่อนที่ไปแลวกลับมาที่ตําแหนงเริ่มตนแสดงวาระยะกระจัดเปนศูนย วัตถุหนึ่งเคลื่อนที่จากจุดเริ่มตน x = 0 เปนเสนตรงไปตามแกน +x ณ เวลา t1 ตําแหนงของ วัตถุอยูท่จุด P หางจากจุดเริ่มตนเทากับ x1 และ ณ เวลา t2 ตําแหนงของวัตถุอยูที่จุด Q หางจากจุดเริ่มตน ี เทากับ x2 ชวงเวลาระหวาง t1 ถึง t2 วัตถุเคลื่อนที่ตามแนวแกน x จากจุด P ถึง Q ไดการกระจัดในหนึ่งมิติ เปน Δx = x2 - x1 (2.1) รูปที่ 2.1 การแสดงตําแหนงและการกระจัดบนแกน x
  • 2. ฟสิกสเบื้องตน 18 2.1.2 อัตราเร็วและความเร็ว เมื่อวัตถุมีการเคลื่อนที่จะมีการเปลี่ยนตําแหนงวัตถุที่เคลื่อนที่ไดเร็วจะใชเวลาในการเปลี่ยนตําแหนง นอยกวาวัตถุที่เคลื่อนที่ไดชา ระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไดในหนึ่งหนวยเวลา จะหมายถึง อัตราเร็วเฉลี่ย s v av = (2.1) t ถาหาอัตราเร็วเฉลี่ยของการเคลื่อนที่ในชวงเวลาสั้น ๆ จนใกลศูนยเรียกอัตราเร็วในชวงเวลาสั้น ๆ นี้ วา อัตราเร็วขณะใดขณะหนึ่ง ตําแหนงอางอิง A B x1 x2 t0 t1 t2 เวลา รูปที่ 2.1 การเคลื่อนที่ของมาตัวหนึ่ง จากรูปมาเปลี่ยนตําแหนงจาก x1 ณ เวลา t1 เปน x2 ณ เวลา t2 เมื่อพิจารณาการกระจัดของมา โดยเทียบกับ จุดอางอิงในระบบพิกัดฉากจะได ในเวลา t2 –t1 มีการกระจัด d = x 2 − x1 มีทิศจากจุดอางอิงไปยัง x2 การกระจัดตอหนึ่งหนวยเวลา เรียกวา ความเร็วเฉลี่ย d v av = Δt x 2 − x1 เมื่อ v av = (2.2) t 2 − t1 ถาเวลา t2 – t1 เปนชวงเวลาสั้น ๆ จนเขาใกลศูนย ความเร็วเฉลี่ย คือ ความเร็วขณะใดขณะหนึ่ง นั่นเอง 2.1.3 ความเรง โดยทั่วไปวัตถุอาจเคลื่อนที่ดวยความเร็วที่ไมคงที่ ซึ่งเราสามารถอธิบายการเปลี่ยนแปลงความเร็วนี้ ไดดวยความเรง โดยกําหนดให ความเรงเปนการเปลี่ยนแปลงความเร็วตอหนวยเวลา สมมติวาที่เวลา t1 วัตถุมีความเร็ว v1 และเมื่อเวลา t2 วัตถุมีความเร็ว v 2 ความเรงเฉลี่ยของวัตถุ ในชวงเวลา t1 ถึง t2 คือ Δ v v 2 − v1 aav = = (2.3) Δt t 2 − t1 ความเรงเปนปริมาณเวกเตอร มีหนวยเปน เมตรตอวินาที2 (m/s2) และความเรงในชวงเวลาเขาใกล ศูนยเราเรียกวาความเรงชั่วขณะ สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
  • 3. ฟสิกสเบื้องตน 19 2.2 การเคลื่อนที่ดวยความเรงคงที่ การเคลื่อนที่หลาย ๆ อยางเปนการเคลื่อนที่ดวยความเรงคงที่ ยกตัวอยางที่เห็นไดชัดคือการตกลง มาอยางอิสระของวัตถุภายใตแรงโนมถวงของโลก ถาสมมติใหเริ่มตนที่เวลา t = 0 วัตถุที่เราสังเกตอยูที่ตําแหนง x1 และมีความเร็วตน v0 ตอมาที่เวลา t วัตถุเปลี่ยนมาอยูท่ตําแหนง x2 มีความเร็ว v โดยในการเคลื่อนที่นี้วัตถุมีความเรงคงที่ a ดังนั้นจากนิยาม ี ของความเรงเราสามารถหาความสัมพันธของสิ่งเหลานี้ได จากสมการความเรงซึ่งในที่นี้จะเขียนเฉพาะขนาดและใชเครื่องหมายบวกและลบแทนทิศทาง Δv a = Δt ∴ Δv = a Δt v – v0 = a (t – 0 ) = at ∴ v = v0 + at (2.4) จากสมการความเร็วซึ่งในที่นี้จะเขียนเฉพาะขนาดและใชเครื่องหมายบวกและลบแทนทิศทาง สําหรับการคํานวณหาระยะทาง x ที่วัตถุเคลื่อนที่ไดในชวงเวลา เมื่อกําหนดความเร็วตน v0 และ ความเรงคงตัว a จะหาไดดังนี้ เนื่องจากระยะทางที่วัตถุเคลื่อนที่ไปมีคาเทากับผลคูณระหวางความเร็วเฉลี่ยกับเวลาจึงเขียนไดวา x = ( ) v0 + v t 2 แทนคา v จากสมการ (2.4) ลงไป จะได 1 x = v 0 t + at 2 (2.5) 2 v − v0 และจากสมการ v = v0 + at ทําใหไดวา t = a v − v0 1 เมื่อเราแทนคา t = ลงในสมการ x = v 0 t + at 2 จะได a 2 v2 = v02 + 2ax (2.6) ดังนั้นสรุปไดวาความสัมพันธระหวาง การกระจัด ความเร็ว และความเรง ของอนุภาคที่เคลื่อนที่ใน แนวเสนตรงดวยความเรงที่คือ v = v0 + at 1 x = v 0 t + at 2 2 v2 = 2 v0 + 2ax สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
  • 4. ฟสิกสเบื้องตน 20 ตัวอยาง 2.1 อนุภาคหนึ่งเคลื่อนที่ดวยความเร็ว 50 เมตรตอวินาที เมื่ออนุภาคนี้เคลื่อนที่ไดระยะกระจัด 100 เมตร ความเร็วของอนุภาคลดลงเหลือ 35 เมตรตอวินาที จงหาขนาดและทิศทางของความเรง วิธีทํา จากสมการ v2 = v02 + 2ax ∴ a = (v 2 − v 02 ) 2x โดยที่โจทยกําหนดให v = 35 m/s v0 = 50 m/s x = 100 m เมื่อแทนคาสิ่งที่โจทยกําหนดลงในสมการ a = (v 2 − v 02 ) 2x จะได a = (35 − 50 ) 2 2 = -6.375 m/s2 2 ×100 คําตอบ ความเรงมีขนาด 6.375 เมตรตอวินาที2 และมีทิศตรงขามกับการเคลื่อนที่ ตัวอยาง 2.2 นักแสดงหนุมรูปหลอนายหนึ่งขับรถดวยความเร็ว 100 กิโลเมตรตอชั่วโมง เพื่อรีบไปกองถาย ในขณะที่เขาขับรถอยูนั้นเขามองเห็นสิ่งกีดขวางอยูขาหนาในระยะ 150 เมตร ถามวาเขาจะตองเหยียบเบรค ใหไดความเรงเทาไรจึงจะหยุดรถหนาสิ่งกีดขวางพอดี 100 km/hr 150 m วิธีทา ถานักแสดงคนนี้ตองการใหรถหยุดที่หนาสิ่งกีดขวาพอดี เขาจะตองเหยียบเบรคใหความเร็วปลาย ํ เปนศูนยในระยะ 150 เมตร จากสมการ v2 = v02 + 2ax ∴ a = (v 2 − v 02 ) 2x แทนคาสิ่งที่โจทยกําหนดลงในสมการจะได ⎛ ⎛ 100 ⎞ 2 ⎞ ⎜0 −⎜ ⎟ ⎟ ⎜ ⎝ 3. 6 ⎠ ⎟ a = ⎝ ⎠ = -2.572 m/s2 2 ×150 คําตอบ เขาจะตองเหยียบเบรกใหไดความเรง -2.572 เมตรตอวินาที2 สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
  • 5. ฟสิกสเบื้องตน 21 2.2.1 การตกอยางอิสระ จากที่กลาวมาแลววาการตกอยางอิสระของวัตถุภายใตแรงโนมถวงของโลกซึ่งเปนการเคลื่อนที่ใน แนวดิ่งเปนกรณีหนึ่งของการเคลื่อนที่ดวยความเรงคงที่ โดยความเรงของวัตถุก็คือความเรงเนื่องจากแรงโนม ถวงของโลกซึ่งคาคงที่ประมาณ 9.8 เมตรตอวินาที2 ซึ่งความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลกนี้แทนดวย สัญลักษณ g การเคลื่อนที่ดวยแรงโนมถวงของโลกเปนการเคลื่อนที่ในแนวแกน y และความเรงคือ a = -g ดังนั้นเราจะไดสมการการตกอยางอิสระดังนี้ v = v0 - gt 1 y = v 0 t − gt 2 2 v2 = 2 v0 - 2gy ตัวอยาง 2.3 นักศึกษาคนหนึ่งยืนอยูบนอาคารคณะวิทยาศาสตรซึ่งสูง 50 เมตร ถานักศึกษาคนเดียวกันนี้ ขวางกอนหินขึ้นดวยความเร็ว 20 เมตรตอวินาทีดังรูปจงหา ก) เวลาที่ใชเมื่อกอนหินขึ้นไปยังตําแหนงสูงสุด ข) กอนหินจะเคลื่อนที่ขึ้นสูงจากยอดตึกเทาไร ค) เวลาที่กอนหินใชในการเคลื่อนที่จากตําแหนงสูงสุดมายังตําแหนงที่นักศึกษายืนอยู ง) เมื่อเวลาผานไป 5 วินาทีกอนหินมีความเร็วเทาไรและอยูที่ตําแหนงใด วิธีทํา ก) ตําแหนงที่กอนหินขึ้นไปสูงสุดจะมีความเร็วเปนศูนย จากสมการ v = v0 – gt v − v0 จะได t= −g นักศึกษาขวางกอนหินขึ้นดวยความเร็วตน 20 m/s 0 − 20 ∴ t= = 2.04 s − 9. 8 เวลาที่ใชเมื่อกอนหินขึ้นไปยังตําแหนงสูงสุด คือ 2.04 วินาที 50 m 1 ข) ใชสมการ y = v 0 t − gt 2 หาระยะที่กอนหินขึ้นไปไดสูงสุด จะได 2 1 y = (20×2.04) - (9.8)(2.04)2 2 = 20.4 m กอนหินจะเคลื่อนที่ขึ้นสูงจากยอดตึก 20.4 เมตร สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
  • 6. ฟสิกสเบื้องตน 22 ค) เมื่อกอนหินเคลื่อนที่ยอนกลับมายังตําแหนงที่นักศึกษายืนอยู y จะเทากับ 0 1 เพราะฉะนั้นจากสมการ y = v 0 t − gt 2 2 1 2 จะได v 0 t − gt = 0 2 1 20t - (-9.8)t2 = 0 2 20t + 4.9t2 = 0 t(20 + 4.9t) = 0 แกสมการเพื่อหาคําตอบจะไดคําตอบของสมการ 2 คําตอบ คือ t = 0 s และ t = 4.08 s ซึ่งที่เวลาเทากับ 0 คือเวลาตอนเริ่มตน เพราะฉะนั้นคําตอบของขอนี้คือ 4.08 วินาที ง) จากสมการ v = v0 – gt ความเร็วเมื่อเวลาผานไป 5 วินาที คือ v = 20 – (9.8)(5) = - 29.0 m/s 1 จากสมการ y = v 0 t − gt 2 ตําแหนงของกอนหินเมื่อเวลาผานไป 5 วินาทีคอ ื 2 1 y = (20)(5) - (9.8)(5)2 = -22.5 m 2 เมื่อเวลาผานไป 5 วินาทีกอนหินจะมีความเร็ว 29 เมตรตอวินาทีมีทิศพุงลงสูพื้นดิน และกอนหินอยูสูงจากพื้น เปนระยะ 22.5 เมตร สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
  • 7. ฟสิกสเบื้องตน 23 แบบฝกหัดบทที่ 2 1. ถาการเคลื่อนที่ของกอนหินในแนวดิ่ง เกิดจากการโยนขึ้นดวยความเร็วตน 5 เมตรตอวินาที ซึ่งจะมี ความเรงคงตัวในทิศลงมีคา 10 เมตร/วินาที2 กอนหินจะใชเวลาเทาใดจะถึงจุดสูงสุด และใชเวลาอีกเทาใดจึง จะกลับถึงจุดโยน ความเร็วเฉลี่ยชวงขาขึ้นเปนเทาใด และระยะทางถึงจุดสูงสุดเปนเทาใด 2. รถยนตคันหนึ่งเคลื่อนที่ได 30 กิโลเมตร ในครึ่งชั่วโมงแรกและเคลื่อนที่ไดระยะทาง 50 กิโลเมตร ในครึ่ง ชั่วโมงตอมา อัตราเร็วเฉลี่ยใน 1 ชั่วโมงมีคาเทาใด 3. เด็กชายคนหนึ่งเดินทางไปทางทิศตะวันออก 150 เมตร และเดินกลับทางเดิม 30 เมตร ไปทางทิศตะวันตก จงหาระยะทาง และ การกระจัดของเด็กคนนี้ 4. วัตถุชิ้นหนึ่งเคลื่อนที่ในแนวเสนตรงดวยความเร็วตน 100 เมตรตอวินาที โดยมีความเรง 5 เมตรตอวินาที2 ขณะที่วตถุเคลื่อนที่ไดระยะทาง 480 เมตร วัตถุเคลื่อนที่มาแลวกี่วินาที ั 5. โยนกอนหินขึ้นไปตามแนวดิ่งดวยความเร็วตน 10 เมตรตอวินาที จงหา ก. เมื่อใดกอนหินมีความเร็วเปนศูนย ข. กอนหินขึ้นไปไดสูงสุดเทาใด ค. เปนเวลานานเทาใดกอนหินจึงจะตกลงมาถึงตําแหนงเริ่มตน 6. ขณะที่บอลลูนลอยขึ้นตรงๆ ดวยความเร็ว 5 เมตรตอวินาที ขณะที่บอลลูนสูงจากพื้นดิน 30 เมตร ผูอยูใน บอลลูนก็ปลอยถุงทรายลงมา ก. จงหาตําแหนงของถุงทรายหลังจากปลอยไปแลว 1 และ 2 วินาที ข. ถุงทรายจะตกถึงพื้นดินในเวลาเทาใด ค. ขณะที่ถึงพื้นดิน ถุงทรายมีความเร็วเทาใด ง. จุดสูงสุดของถุงทรายอยูสูงจากพื้นดินเทาใด 7. อิเล็กตรอนตัวหนึ่งเคลื่อนที่ดวยความเร็ว 1 × 10 วินาที เขาสูบริเวณสนามไฟฟาและถูกเรงโดย 4 สนามไฟฟาเปนระยะทาง 1 เซนติเมตร เมื่ออกจากสนามไฟฟาอิเล็กตรอนนั้นมีความเร็ว 4 × 10 เมตรตอ 4 วินาที จงคํานวณหาความเรง 8. โยนกอนหินขึ้นไปในแนวดิ่งจากพื้นดิน ดวยความเร็วตน 20 เมตรตอวินาที หลังจากโยนไปแลวเปนเวลา เทาไร กอนหินจึงจะตกลงมาดวยความเร็ว 10 เมตรตอวินาที 9. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม เคลื่อนที่ในแนวเสนตรงจากหยุดนิ่งดวยความเรงคงที่ 3 เมตรตอวินาที2 เมื่อผานจุด สังเกตมีความเร็ว 12 เมตรตอวินาที ขณะที่วัตถุมีความเร็ว 24 เมตรตอวินาที วัตถุอยูหางจากจุดสังเกตกี่ เมตร 10. ถาความเร็วตนของน้ําที่ฉีดขึ้นในแนวดิ่งมีคาเทากับ 8 เมตรตอวินาที จงหาความสูงของน้ําที่พุงขึ้นใน อากาศ สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
  • 8. ฟสิกสเบื้องตน 24 11. ใหนักศึกษาทําการทดลองการตกแบบอิสระใน http://www.rmutphysics.com/charud/virtualexperiment/explorescience/gravitation/index.htm โดยสมมติวาไมมความเร็วลม (wind speed = 0 m/s) ไมมีแรงตานอากาศ ี (air density = 0 kg/m3 ) และ ปรับระยะบนแกน x แกน y (วิธีปรับ แกน x และ y ใหใช เมาสไปคลิกที่ชองสี่เหลี่ยม และ กดแปนคียบอรดปอนคาลงไป ตอไป ปรับมาตราสวน ของ Diatance จาก 4 เปน 1 , Velocity จาก 2 เปน 1 และ acceler = 1 ) สําหรับนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร/เทคโนโลยีสื่อสารมวลชน
  • 9. หนังสืออิเล็กทรอนิกส ฟสิกส 1(ภาคกลศาสตร ( ฟสิกส 1 (ความรอน) ฟสิกส 2 กลศาสตรเวกเตอร โลหะวิทยาฟสิกส เอกสารคําสอนฟสิกส 1 ฟสิกส 2 (บรรยาย( แกปญหาฟสิกสดวยภาษา c ฟสิกสพิศวง สอนฟสิกสผานทางอินเตอรเน็ต ทดสอบออนไลน วีดีโอการเรียนการสอน หนาแรกในอดีต แผนใสการเรียนการสอน เอกสารการสอน PDF กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร แบบฝกหัดออนไลน สุดยอดสิ่งประดิษฐ การทดลองเสมือน บทความพิเศษ ตารางธาตุ ) ไทย1) 2 (Eng) พจนานุกรมฟสิกส ลับสมองกับปญหาฟสิกส ธรรมชาติมหัศจรรย สูตรพื้นฐานฟสิกส การทดลองมหัศจรรย ดาราศาสตรราชมงคล แบบฝกหัดกลาง แบบฝกหัดโลหะวิทยา แบบทดสอบ ความรูรอบตัวทั่วไป อะไรเอย ? ทดสอบ)เกมเศรษฐี ( คดีปริศนา ขอสอบเอนทรานซ เฉลยกลศาสตรเวกเตอร คําศัพทประจําสัปดาห ความรูรอบตัว การประดิษฐแของโลก ผูไดรับโนเบลสาขาฟสิกส นักวิทยาศาสตรเทศ นักวิทยาศาสตรไทย ดาราศาสตรพิศวง การทํางานของอุปกรณทางฟสิกส การทํางานของอุปกรณตางๆ
  • 10. การเรียนการสอนฟสิกส 1 ผานทางอินเตอรเน็ต 1. การวัด 2. เวกเตอร 3. การเคลื่อนที่แบบหนึ่งมิติ 4. การเคลื่อนที่บนระนาบ 5. กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน 6. การประยุกตกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน 7. งานและพลังงาน 8. การดลและโมเมนตัม 9. การหมุน 10. สมดุลของวัตถุแข็งเกร็ง 11. การเคลื่อนที่แบบคาบ 12. ความยืดหยุน 13. กลศาสตรของไหล 14. ปริมาณความรอน และ กลไกการถายโอนความรอน 15. กฎขอที่หนึ่งและสองของเทอรโมไดนามิก 16. คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร 17. คลื่น 18.การสั่น และคลื่นเสียง การเรียนการสอนฟสิกส 2 ผานทางอินเตอรเน็ต 1. ไฟฟาสถิต 2. สนามไฟฟา 3. ความกวางของสายฟา 4. ตัวเก็บประจุและการตอตัวตานทาน 5. ศักยไฟฟา 6. กระแสไฟฟา 7. สนามแมเหล็ก 8.การเหนี่ยวนํา 9. ไฟฟากระแสสลับ 10. ทรานซิสเตอร 11. สนามแมเหล็กไฟฟาและเสาอากาศ 12. แสงและการมองเห็น 13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ 14. กลศาสตรควอนตัม 15. โครงสรางของอะตอม 16. นิวเคลียร การเรียนการสอนฟสิกสทั่วไป ผานทางอินเตอรเน็ต 1. จลศาสตร )kinematic) 2. จลพลศาสตร (kinetics) 3. งานและโมเมนตัม 4. ซิมเปลฮารโมนิก คลื่น และเสียง 5. ของไหลกับความรอน 6.ไฟฟาสถิตกับกระแสไฟฟา 7. แมเหล็กไฟฟา 8. คลื่นแมเหล็กไฟฟากับแสง 9. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ อะตอม และนิวเคลียร ฟสิกสราชมงคล