SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน  แรง จุดประสงค์การเรียนรู้  ,[object Object]
อธิบายวิธีลดแรงเสียดทานได้แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน โมเมนต์ กลับหน้าหลัก
หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน  แรง แรงเสียดทาน : คือ แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสวัตถุ 2 ชิ้น แรงเสียดทานมี 2 ชนิด ได้แก่ แรงเสียดทานสถิต และ แรงเสียดทานจลน์ แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน โมเมนต์ กลับหน้าหลัก
หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน  แรง 1. แรงเสียดทานสถิต เป็นแรงเสียดทานขณะวัตถุกำลังเคลื่อนที่ ซึ่งเกิดจากผิวของวัตถุ 2 ชนิดสัมผัสกัน โดยวัตถุไม่เคลื่อนที่ เช่น แรงเสียดทานของการผลักรถ ขณะออกแรงเผลักรถแล้วรถยังไม่เคลื่อนที่ แรงนี้มีค่าไม่คงที่ โดยแรงเสียดทานนี้มีค่าเท่ากับแรงที่มากระทำกับวัตถุ จะมีค่าสูงสุดเมื่อวัตถุเริ่มเคลื่อนที่ แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน โมเมนต์ กลับหน้าหลัก
หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน  แรง 1. แรงเสียดทานจลน์ เป็นแรงเสียดทานขณะวัตถุกำลังเคลื่อนที่อยู่ แล้วทำให้การเคลื่อนที่เร็วขึ้น ช้าลงหรือหยุดนิ่ง เช่น  การกลิ้งของวัตถุ  การลื่นไถลของวัตถุ และการไหลของวัตถุ เป็นต้นแรงเสียดที่เกิดขึ้นนี้จะเท่ากับแรงที่มากระทำ ซึ่งค่าของแรงเสียดทานจลน์จะน้อยกว่าแรงเสียดทานสถิตเสมอสำหรับผิวสัมผัสเดียวกัน แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน โมเมนต์ กลับหน้าหลัก แรงเสียดทานจลน์
หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน  แรง แรงเสียดทานขึ้นอยู่กับน้ำหนักของวัตถุและ พื้นที่ผิวสัมผัสกับแรง วัตถุน้ำหนักมาก  พื้นที่ผิวขรุขระ แรงเสียดทานจะมีมาก  แต่ถ้าน้ำหนักน้อย พื้นที่ผิวสัมผัสเรียบ  แรงเสียดทานจะมีน้อย แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน โมเมนต์ 20 kg 5 kg > กลับหน้าหลัก
หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน  แรง สัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทาน :เป็นค่าตัวเลขที่แสดงถึงการเกิด แรงเสียดทานขึ้นระหว่าง ผิวสัมผัสของวัตถุ 2 ชนิด ใช้สัญลักษณ์แทนด้วยตัวอักษร     (มิว)  แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน สัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทาน( )= แรงที่ดึงวัตถุให้เคลื่อนที่ (N) แรงที่กดทับลงบนผิวสัมผัส (N) โมเมนต์ กลับหน้าหลัก
หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน  แรง แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน โมเมนต์ กลับหน้าหลัก
หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน  แรง ข้อดีและข้อเสียของแรงเสียดทาน : 1. ข้อดี มีประโยชน์ต่อการเคลื่อนที่ เช่น ถ้าขับรถไปบนถนนที่มีพื้นผิวเรียบและลื่นจะบังคับรถยากกว่าพื้นขรุขระ และอาจทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย ดังนั้นยางรถยนต์ต้องมีดอกยางเพื่อจะทำให้เกิดแรงเสียดทานกับพื้นมากขึ้น แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน โมเมนต์ กลับหน้าหลัก
หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน  แรง ข้อดีและข้อเสียของแรงเสียดทาน : 2. ข้อเสีย ถ้าต้องการให้วัตถุเคลื่อนที่เร็ว แต่แรงเสียดทานมากอาจทำให้วัตถุเคลื่อนที่ช้าต้องใช้แรงมากเพื่อเอาชนะแรงเสียดทาน จึงทำให้สิ้นเปลืองพลังงาน แรงลัพธ์ การลดและการเพิ่มแรงเสียดทาน :ทำได้ดังนี้ แรงเสียดทาน 1. การลดแรงเสียดทาน เนื่องจากมีบางกรณีที่แรงเสียดทานอาจก่อให้เกิดผลเสียต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ จึงต้องมีการลดแรงเสียดทานซึ่งทำได้หลายวิธี ดังนี้ 1.1 ลดพื้นที่ผิวสัมผัส โดยการออกแบบรูปร่างของยานพาหนะให้เพรียวลม      เพื่อลดพื้นที่ผิวสัมผัสกับน้ำหรืออากาศให้น้อยลง 1.2 เพิ่มความลื่นของพื้นที่ผิวสัมผัสโดยใช้ตลับลูกปืน น้ำมันหล่อลื่น จารบี ฯลฯ 1.3 ใช้ล้อ วัตถุที่ทำล้อต้องมีผิวเรียบ โมเมนต์ กลับหน้าหลัก
หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน  แรง 1. การลดแรงเสียดทาน : แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน โมเมนต์ กลับหน้าหลัก

More Related Content

More from treera

แรงลัพธ์2
แรงลัพธ์2แรงลัพธ์2
แรงลัพธ์2treera
 
แรง1
แรง1แรง1
แรง1treera
 
แรงลัพธ์2
แรงลัพธ์2แรงลัพธ์2
แรงลัพธ์2treera
 
แรงและการMain
แรงและการMainแรงและการMain
แรงและการMaintreera
 
แรงเสียดท3
แรงเสียดท3แรงเสียดท3
แรงเสียดท3treera
 
แรง1
แรง1แรง1
แรง1treera
 
แรง1
แรง1แรง1
แรง1treera
 
แรงและการMain
แรงและการMainแรงและการMain
แรงและการMaintreera
 

More from treera (8)

แรงลัพธ์2
แรงลัพธ์2แรงลัพธ์2
แรงลัพธ์2
 
แรง1
แรง1แรง1
แรง1
 
แรงลัพธ์2
แรงลัพธ์2แรงลัพธ์2
แรงลัพธ์2
 
แรงและการMain
แรงและการMainแรงและการMain
แรงและการMain
 
แรงเสียดท3
แรงเสียดท3แรงเสียดท3
แรงเสียดท3
 
แรง1
แรง1แรง1
แรง1
 
แรง1
แรง1แรง1
แรง1
 
แรงและการMain
แรงและการMainแรงและการMain
แรงและการMain
 

แรงเสียดท3

  • 1.
  • 3. หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน แรง แรงเสียดทาน : คือ แรงที่ต้านการเคลื่อนที่ของวัตถุ เกิดขึ้นระหว่างผิวสัมผัสวัตถุ 2 ชิ้น แรงเสียดทานมี 2 ชนิด ได้แก่ แรงเสียดทานสถิต และ แรงเสียดทานจลน์ แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน โมเมนต์ กลับหน้าหลัก
  • 4. หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน แรง 1. แรงเสียดทานสถิต เป็นแรงเสียดทานขณะวัตถุกำลังเคลื่อนที่ ซึ่งเกิดจากผิวของวัตถุ 2 ชนิดสัมผัสกัน โดยวัตถุไม่เคลื่อนที่ เช่น แรงเสียดทานของการผลักรถ ขณะออกแรงเผลักรถแล้วรถยังไม่เคลื่อนที่ แรงนี้มีค่าไม่คงที่ โดยแรงเสียดทานนี้มีค่าเท่ากับแรงที่มากระทำกับวัตถุ จะมีค่าสูงสุดเมื่อวัตถุเริ่มเคลื่อนที่ แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน โมเมนต์ กลับหน้าหลัก
  • 5. หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน แรง 1. แรงเสียดทานจลน์ เป็นแรงเสียดทานขณะวัตถุกำลังเคลื่อนที่อยู่ แล้วทำให้การเคลื่อนที่เร็วขึ้น ช้าลงหรือหยุดนิ่ง เช่น การกลิ้งของวัตถุ การลื่นไถลของวัตถุ และการไหลของวัตถุ เป็นต้นแรงเสียดที่เกิดขึ้นนี้จะเท่ากับแรงที่มากระทำ ซึ่งค่าของแรงเสียดทานจลน์จะน้อยกว่าแรงเสียดทานสถิตเสมอสำหรับผิวสัมผัสเดียวกัน แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน โมเมนต์ กลับหน้าหลัก แรงเสียดทานจลน์
  • 6. หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน แรง แรงเสียดทานขึ้นอยู่กับน้ำหนักของวัตถุและ พื้นที่ผิวสัมผัสกับแรง วัตถุน้ำหนักมาก พื้นที่ผิวขรุขระ แรงเสียดทานจะมีมาก แต่ถ้าน้ำหนักน้อย พื้นที่ผิวสัมผัสเรียบ แรงเสียดทานจะมีน้อย แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน โมเมนต์ 20 kg 5 kg > กลับหน้าหลัก
  • 7. หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน แรง สัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทาน :เป็นค่าตัวเลขที่แสดงถึงการเกิด แรงเสียดทานขึ้นระหว่าง ผิวสัมผัสของวัตถุ 2 ชนิด ใช้สัญลักษณ์แทนด้วยตัวอักษร (มิว) แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน สัมประสิทธิ์ของแรงเสียดทาน( )= แรงที่ดึงวัตถุให้เคลื่อนที่ (N) แรงที่กดทับลงบนผิวสัมผัส (N) โมเมนต์ กลับหน้าหลัก
  • 8. หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน แรง แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน โมเมนต์ กลับหน้าหลัก
  • 9. หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน แรง ข้อดีและข้อเสียของแรงเสียดทาน : 1. ข้อดี มีประโยชน์ต่อการเคลื่อนที่ เช่น ถ้าขับรถไปบนถนนที่มีพื้นผิวเรียบและลื่นจะบังคับรถยากกว่าพื้นขรุขระ และอาจทำให้เกิดอุบัติเหตุได้ง่าย ดังนั้นยางรถยนต์ต้องมีดอกยางเพื่อจะทำให้เกิดแรงเสียดทานกับพื้นมากขึ้น แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน โมเมนต์ กลับหน้าหลัก
  • 10. หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน แรง ข้อดีและข้อเสียของแรงเสียดทาน : 2. ข้อเสีย ถ้าต้องการให้วัตถุเคลื่อนที่เร็ว แต่แรงเสียดทานมากอาจทำให้วัตถุเคลื่อนที่ช้าต้องใช้แรงมากเพื่อเอาชนะแรงเสียดทาน จึงทำให้สิ้นเปลืองพลังงาน แรงลัพธ์ การลดและการเพิ่มแรงเสียดทาน :ทำได้ดังนี้ แรงเสียดทาน 1. การลดแรงเสียดทาน เนื่องจากมีบางกรณีที่แรงเสียดทานอาจก่อให้เกิดผลเสียต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ จึงต้องมีการลดแรงเสียดทานซึ่งทำได้หลายวิธี ดังนี้ 1.1 ลดพื้นที่ผิวสัมผัส โดยการออกแบบรูปร่างของยานพาหนะให้เพรียวลม เพื่อลดพื้นที่ผิวสัมผัสกับน้ำหรืออากาศให้น้อยลง 1.2 เพิ่มความลื่นของพื้นที่ผิวสัมผัสโดยใช้ตลับลูกปืน น้ำมันหล่อลื่น จารบี ฯลฯ 1.3 ใช้ล้อ วัตถุที่ทำล้อต้องมีผิวเรียบ โมเมนต์ กลับหน้าหลัก
  • 11. หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน แรง 1. การลดแรงเสียดทาน : แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน โมเมนต์ กลับหน้าหลัก
  • 12. หน่วยที่ 8 แรงและการเคลื่อนที่ แรงเสียดทาน แรง การลดและการเพิ่มแรงเสียดทาน :ทำได้ดังนี้ 2. การเพิ่มแรงเสียดทาน เนื่องจากมีบางกรณีที่แรงเสียดทานอาจก่อให้เกิดผลเสียต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ จึงต้องมีการลดแรงเสียดทานซึ่งทำได้หลายวิธี ดังนี้ 2.1 เพิ่มพื้นที่ผิวสัมผัส เช่น การออกแบบยางรถยนต์ให้มีหน้ายางกว้าง เพื่อประโยชน์ในการเกาะถนนและการทรงตัว 2.2 ลดความลื่นของพื้นที่ผิวสัมผัส เช่น การเพิ่มดอกยางให้รถยนต์ เป็นต้น แรงลัพธ์ แรงเสียดทาน โมเมนต์ กลับหน้าหลัก