SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
Download to read offline
Ch 7 External Forced
Convection
1
King Mongkut’s University of Technology North Bangkok
Faculty of Engineering
Department of Mechanical and Aerospace Engineering
Objectives
2
 เพื่อให้สามารถบอกความแตกต่างระหว่างการไหลแบบ Internal flow และ
External flow ได้
 เพื่อให้เข้าใจถึงแรงต้านเนื่องจากความเสียดทาน (Friction drag) และแรงต้าน
เนื่องจากความดัน (Pressure drag) ได้ รวมทั้งสามารถหาค่าแรงต้านเฉลี่ยและ
สัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนเฉลี่ยสาหรับการไหลแบบ External flow ได้
 เพื่อให้สามารถหาแรงต้านและสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของของไหล
ตลอดความยาวของ Flat plate ทั้งที่เป็นการไหลแบบ Laminar และ
Turbulent ได้
 เพื่อให้สามารถหาแรงต้านและสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของของไหลที่
ไหลผ่านท่อทรงกระบอกและรูปร่างทรงกลม ทั้งที่เป็นการไหลแบบ Laminar
และ Turbulent ได้
Contents
3
 Drag and heat transfer in external flow
 Parallel flow over flat plates
 Flow across cylinders and spheres
 Flow across tube banks
Introduction
4
 ในบทที่แล้ว เรื่องพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อน เราสามารถหาความสัมพันธ์
ของเทอมที่ไม่มีหน่วยต่างๆ ได้ ได้แก่ Nu, Re และ Pr ซึ่งความสัมพันธ์ดังกล่าวจะ
ถูกนามาใช้เป็นเครื่องมือในการหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของการไหล
ภายนอกได้ ทั้งการไหลบน Flat plate การไหลผ่านท่อทรงกระบอก หรือ การ
ไหลผ่านวัตถุทรงกลม
Pr),(ReLL fNu Pr),Re*,( LL xfNu 
Drag and Heat Transfer in Ext. Flow
5
 เมื่อมีของของไหลผ่านวัตถุ จะมีปรากฏการณ์ต่างๆ เกิดขึ้น เช่น
 แรงต้านการเคลื่อนที่ (Drag force) เช่น การต้านการเคลื่อนที่ของรถยนต์s
 แรงต้านการลอยตัว (Lift force) เช่น แรงต้านการลอยตัวของเครื่องบิน
 การทาให้โลหะหรือของแข็งเย็นตัวลง
 คำนิยำม: Free-stream velocity คือ ความเร็วของของไหลที่ระยะใดๆ ที่ไกล
จากวัตถุ
 ความเร็วของของไหลที่ไหลบนพื้นผิวใดๆ จะมีค่าอยู่ระหว่าง 0 (ที่พื้นผิว) ถึง Free-
stream value ที่บริเวณที่อยู่เหนือพื้นผิวมากๆ
 Free-stream velocity จะมีค่าเท่ากับความเร็วของของไหล
Drag and Heat Transfer in Ext. Flow
6
 แรงต้ำนกำรเคลื่อนที่ (Drag force): แรงของของไหลที่เกิดจากความดันและ
Wall shear forces ที่กระทาต่อวัตถุในทิศทางการเคลื่อนที่
 แรงต้ำนกำรลอยตัว (Lift force): แรงของของไหลที่เกิดจากความดันและ Wall
shear forces ที่กระทาต่อวัตถุในทิศทางตั้งฉากกับการเคลื่อนที่
 Drag Force (FD) ขึ้นอยู่กับ density, upstream velocity, geometry
 สัมประสิทธิ์ความต้านทาน (Drag Coefficient, CD)
AV
F
C D
D
2
2
1


Drag and Heat Transfer in Ext. Flow
7
 ปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นเมื่อมีของไหลไหลผ่านวัตถุ ซึ่งมีผลต่อแรงต้านทางการ
เคลื่อนที่ จะมีผลต่อการถ่ายเทความร้อนด้วย
 ค่า Nu ที่ระยะ x ใดๆ (Nux) และค่า Nu เฉลี่ย สามารถหาได้จากสมการทั่วไป คือ
 คุณสมบัติของของไหลที่นามาใช้ในสมการด้านบน จะต้องเป็นคุณสมบัติที่ Film
temperature (Tf) โดยที่
Pr),Re,( *
xx xfNu 1 Pr),(ReLfNu 2
)PrRe nm
LCNu 
2


TT
T s
f
Drag and Heat Transfer in Ext. Flow
8
 ค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทาน (CDx) และสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน (hx) จะ
มีการเปลี่ยนแปลงตลอดความยาวของพื้นผิว ทั้งนี้เนื่องจากผลของ Velocity
boundary layer ที่เกิดขึ้นในทิศทางการไหล
 ค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานเฉลี่ย (CD) และสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน
เฉลี่ย (h) ตลอดความยาวของพื้นผิวสามารถหาได้จาก
 อัตราการถ่ายเทความร้อนเข้าหรือออกจากพื้นผิวสามารถหาได้จาก Newton’s
law of cooling
,
0
1
L
D D xC C dx
L
  0
1
L
xh h dx
L
 
)(  TThAQ ss

Parallel Flow Over Flat Plates
9
 พิจารณาของไหลที่ไหลผ่านบน Flat plate ที่มีความยาว L
 ค่า Re ที่ระยะ x จากขอบสามารถหาได้จาก
 Critical Reynolds number คือ
 ในทางปฏิบัติ ค่า Critical Re จะอยู่ใน
ช่วงระหว่าง 105 to 3X106
Rex
Vx Vx
  
5
Re 5 10cr
cr
Vx
  
Friction Coefficient
10
 จากบทที่แล้ว เราสามารถหาค่าความหนาของ Boundary layer และค่า
สัมประสิทธิ์ความต้านทานที่ระยะ x ใดๆ บน Flat plate ได้จาก
 Laminar Flow
 Turbulent Flow
x
x
x
Re
.914

x
xfC
Re
.
,
6640

51
380
x
x
x
Re
.
 51
0590
x
xfC
Re
.
, 
5
105xRe
75
10105  xRe
Friction Coefficient
11
 จากบทที่แล้ว เราสามารถหาค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานเฉลี่ยตลอดความยาว
ของ Flat plate ได้จาก
 Laminar Flow
 Turbulent Flow
,
0
1
L
D D xC C dx
L
 
5
105xRe
x
fC
Re
.331

51
0740
x
fC
Re
.
 75
10105  xRe
Heat Transfer Coefficient
12
 จากบทที่ 6 สามารถหา Nu ที่ระยะ x ใดๆ ได้จาก
 Laminar Flow
 Turbulent Flow
3150
3320 PrRe. .
x
x
x
k
xh
Nu  60.Pr 
3180
02960 PrRe. .
x
x
x
k
xh
Nu 
6060  Pr.
75
10105  xRe
Heat Transfer Coefficient
13
 จากสมการการหา Nux จะนาทาให้สามารถหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน
ที่ระยะ x ใดๆ (hx) ได้ ซึ่ง hx จะเป็นฟังก์ชันของ หรือ x-0.5 สาหรับการไหล
แบบ Laminar
 ดังนั้น ที่ขอบของ Flat plate (x=0), hx จะมีค่าเป็น ∞ และเมื่อระยะ x มากขึ้น ค่า hx
จะลดลง ดังแสดงในรูปด้านขวามือ
 ค่า hx จะเพิ่มขึ้นในช่วง Transition
 เมื่อการไหลเปลี่ยนเป็น Turbulent ค่า hx
จะลดลงเมื่อระยะ x เพิ่มขึ้น ด้วย factor x-0.2
50.
Rex
Heat Transfer Coefficient
14
 การหาค่า Nu และค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน จะแบ่ง Condition ที่
พื้นผิวออกเป็น 2 แบบ คือ
 พื้นผิวที่มีอุณหภูมิที่ผิวคงที่ Ts = constant
 พื้นผิวที่มี Uniform heat flux
Heat Transfer Coefficient (Ts = const.)
15
 ค่า Nu เฉลี่ยตลอดความยาวของ Flat plate สามารถหาได้จาก
 Laminar Flow
 Turbulent Flow
 ในกรณีที่ Flat plate ไม่ได้มีความยาวมากพอ ในกรณีนี้จะมีทั้งการไหลแบบ
Laminar และ Turbulent โดยสามารถหาค่า Nu ได้จาก
3150
6640 PrRe. .
x
k
hx
Nu 
3180
0370 PrRe. .
x
k
hx
Nu 
6060  Pr.
75
10105  xRe
5
105xRe
 0.8 1 3
0.037Re 871 PrLNu  
6060  Pr.
75
10105  xRe
Uniform Heat Flux
16
 สาหรับ Flat plate ที่มี Uniform heat flux ที่ผิว สามารถหาค่า Nux ได้จาก
 Laminar Flow
 Turbulent Flow
3150
4530 PrRe. .
xxNu 
3180
03080 PrRe. .
xxNu 
6060  Pr.
75
10105  xRe
5
105xRe
Flow Across Cylinder and Spheres
17
 ระบบการถ่ายเทความร้อนที่เกี่ยวข้องกับการไหลภายนอกท่อทรงกระบอก หรือ
ทรงกลม เช่น
 shell-and-tube heat exchanger,
 Pin fin heat sinks for electronic cooling.
 ในการหาค่า Re ของการไหลผ่านนอกทรงกระบอกและทรงกลม จะใช้ รัศมี
ภายนอกของทรงกระบอกและทรงกลม (D) เป็นค่า Characteristic length
 ค่า Critical Reynolds สาหรับการไหลนอกทรงกระบอกหรือทรงกลม มีค่าเท่ากับ
Recr=2x105
Heat Transfer Coefficient
18
 ค่า Nu เฉลี่ยของการไหลภายนอกทรงกระบอก (Churchill and Bernstein), เมื่อ
Re Pr > 0.2, และคุณสมบัติของของไหลคิดที่ Tflim
 ค่า Nu เฉลี่ยของการไหลภายนอกทรงกลม (Whitaker), เมื่อ 3.5 ≤ Re ≤ 80,000
และ 0.7 ≤ Pr ≤ 380, คุณสมบัติของของไหลคิดที่ T∞ ยกเว้น viscosity ที่ Ts
 
4 55 81 2 1/3
1 42/3
0.62Re Pr Re
0.3 1
282,0001 0.4 Pr
cyl
hD
Nu
k
  
     
      
 
1 4
1 2 2 3 0.4
2 0.4Re 0.06Re Prsph
s
hD
Nu
k



 
       
 
Heat Transfer Coefficient
19
 ในกรณีที่เป็นการไหลภายนอกท่อที่ไม่ใช่ท่อทรงกระบอก จะมีสมการทั่วไปในการ
หาค่า Nu เฉลี่ย คือ
 โดยที่ n = 1/3
 Table 7-1 แสดงรายละเอียดการใช้สมการด้านบน สาหรับท่อที่มีพื้นที่หน้าตัด
รูปร่างต่างๆ
 โดยที่คุณสมบัติของของไหลหาจากอุณหภูมิ Tflim
nm
xC
k
hx
Nu PrRe
Heat Transfer Coefficient
20
Heat Transfer Coefficient
21
Flow Across Tube Banks
22
 ในอุปกรณ์ที่มีการแลกเปลี่ยนความร้อนในชีวิตประจาวัน เช่น Condenser,
evaporator, H.E. จะมีของไหล 2 ชนิดไหลในกลุ่มท่อ โดยของไหลชนิดหนึ่งจะ
ไหลภายในท่อ และของไหลอีกชนิดหนึ่งจะไหลภายนอกท่อในทิศทางตั้งฉากกับท่อ
ดังแสดงในรูป
 อัตราการถ่ายเทความร้อนของของไหลที่ไหลภายในท่อจะถูกพิจารณาเป็นของไหล
ที่ไหลผ่านท่อเพียงท่อเดียวก่อน จากนั้นจึงนาจานวนท่อทั้งหมดมาคูณ
 สาหรับอัตราการถ่ายเทความร้อนของ
ของไหลที่ไหลภายนอกกลุ่มท่อ
ลักษณะการจัดเรียงตัวของท่อจะมีผลต่อ
สัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน และ
อัตราการถ่ายเทความร้อน ดังนั้น ในการพิจารณาจะต้องพิจารณาทั้งกลุ่มท่อ
ทั้งหมด ไม่สามารถแยกพิจารณาทีละท่อได้
Flow Across Tube Banks
23
 ลักษณะการจัดเรียงตัวของกลุ่มท่อ
 แบบ In-line และแบบ Staggered
 Characteristic length: รัศมีภายนอก
 Three characteristics
 Transverse pitch ST
 Longitudinal pitch SL
 Diagonal pitch SD between
tube center โดยที่
 พื้นที่หน้าตัดของการไหลลดลงจาก
A1 = STL ไปเป็น AT = (ST-D)L
 ทาให้ความเร็วของของไหลเพิ่มขึ้น
In-line arrangement
Staggered arrangement
 22
2TLD SSS 
Flow Across Tube Banks
24
 เนื่องจาก Vmax เป็นตัวกาหนดลักษณะการไหลภายนอกกลุ่มท่อ ดังนั้นในการหาค่า
Re จะใช้ Vmax, จะได้
 Vmax หรือค่าความเร็วสูงสุด สามารถคานวณจาก Conservation of mass
 สาหรับท่อที่จัดเรียงตัวแบบ In-line
 สาหรับท่อที่จัดเรียงตัวแบบ Staggered
in case of SD < (ST+D)/2
in case of SD < (ST+D)/2

 DVDV
D
maxmaxRe 
V
DS
S
V
T
T

max
V
DS
S
V
T
T

max
V
DS
S
V
D
T
)(2
max


Flow Across Tube Banks
25
 สมการความสัมพันธ์ที่ใช้ในการคานวณหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของ
ของไหลที่ไหลภายนอกกลุ่มท่อ สามารถหาได้จาก
 โดยที่ 0.7 < Pr < 500 and 0 < ReD < 2x106
 คุณสมบัติของของไหล หาที่อุณหภูมิเฉลี่ย คือ Tm = (Ti + Te)/2
 
0.25
Re Pr Pr Prm n
D D s
hD
Nu C
k
 
Flow Across Tube Banks
26
 Table 7-2 แสดงการหาค่า Nu สาหรับการไหลภายนอกกลุ่มท่อที่มีจานวนท่อ
มากกว่า 16 ท่อ
Flow Across Tube Banks
27
 ในกรณีที่มีจานวนท่อน้อยกว่า 16 ท่อ สามารถหาค่า Nu ได้จาก
 โดยที่ ค่า F เป็น Correction factor หาได้จาก Table 7-3
, LD N DNu F Nu 
Flow Across Tube Banks
28
 อัตราการถ่ายเทความร้อนของของไหลที่ไหลภายนอกกลุ่มท่อ สามารถหาค่าได้
จาก Newton’s Law และสมการ conservation of energy
 ∆Tln คือ logarithmic mean temperature difference
)(ln ieps TTcmThAQ  
    ie
ie
ises
ises
TT
TT
TTTT
TTTT
T






lnln
)()(
ln
  








p
s
isse
cm
hA
TTTT

exp
Procedures for Calculation
29
 พิจารณาว่าเป็นการไหลผ่านพื้นผิวแบบไหน เช่น Flat plate, Sphere หรือ
Cylinder
 พิจารณาหาค่าอุณหภูมิที่เหมาะสม เพื่อนามาหาคุณสมบัติของของไหล ซึ่งส่วน
ใหญ่จะใช้ Film temperature
 หาค่า Re เพื่อพิจารณาว่าการไหลเป็นแบบ Laminar หรือ Turbulent
 พิจารณาเลือกใช้ความสัมพันธ์ในการหารค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนที่
เหมาะสม
 เมื่อหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนได้แล้ว ก็สามารถดาเนินการคานวณ
ขั้นตอนต่อๆ ไปได้ เช่น หาค่าอัตราการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น
Example 1
30
Example 1
31
Example 2
32
Example 2
33
Example 2
34
Example 2
35
Example 3
36
Example 3
37

More Related Content

What's hot

00 1 course introduction
00 1 course introduction00 1 course introduction
00 1 course introductionSaranyu Pilai
 
Chapter 1 INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTS
Chapter 1INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTSChapter 1INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTS
Chapter 1 INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTSAbdul Moiz Dota
 
012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thai012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thaiSaranyu Pilai
 
Chapter 4 TRANSIENT HEAT CONDUCTION
Chapter 4TRANSIENT HEAT CONDUCTIONChapter 4TRANSIENT HEAT CONDUCTION
Chapter 4 TRANSIENT HEAT CONDUCTIONAbdul Moiz Dota
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์Thepsatri Rajabhat University
 
267258402 heat-4e-chap03-lecture
267258402 heat-4e-chap03-lecture267258402 heat-4e-chap03-lecture
267258402 heat-4e-chap03-lectureFahad Gmail Gmail
 
Chapter 7 EXTERNAL FORCED CONVECTION
Chapter 7EXTERNAL FORCED CONVECTIONChapter 7EXTERNAL FORCED CONVECTION
Chapter 7 EXTERNAL FORCED CONVECTIONAbdul Moiz Dota
 
Transfert thermique par conduction dans un tuyau cylindrique
Transfert thermique par conduction dans un tuyau cylindriqueTransfert thermique par conduction dans un tuyau cylindrique
Transfert thermique par conduction dans un tuyau cylindriqueTCHOFFO2001
 
heat conduction equations
heat conduction equationsheat conduction equations
heat conduction equationsZahir Baloch
 
Conduction equation cartesian, Cylindrical, spherical (7).pptx
Conduction equation  cartesian, Cylindrical, spherical (7).pptxConduction equation  cartesian, Cylindrical, spherical (7).pptx
Conduction equation cartesian, Cylindrical, spherical (7).pptxYaredAssefa10
 
Chap09 ht 3e natural convection
Chap09 ht 3e natural convectionChap09 ht 3e natural convection
Chap09 ht 3e natural convectionBening Kambuna
 
One-dimensional conduction-with_no_heat_generation
One-dimensional conduction-with_no_heat_generationOne-dimensional conduction-with_no_heat_generation
One-dimensional conduction-with_no_heat_generationtmuliya
 
09.แสงอาทิตย์
09.แสงอาทิตย์09.แสงอาทิตย์
09.แสงอาทิตย์Kobwit Piriyawat
 

What's hot (20)

00 1 course introduction
00 1 course introduction00 1 course introduction
00 1 course introduction
 
Chapter 1 INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTS
Chapter 1INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTSChapter 1INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTS
Chapter 1 INTRODUCTION AND BASIC CONCEPTS
 
012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thai012 fundamental of thermal radiation thai
012 fundamental of thermal radiation thai
 
Heat 4e chap09_lecture
Heat 4e chap09_lectureHeat 4e chap09_lecture
Heat 4e chap09_lecture
 
Chapter 4 TRANSIENT HEAT CONDUCTION
Chapter 4TRANSIENT HEAT CONDUCTIONChapter 4TRANSIENT HEAT CONDUCTION
Chapter 4 TRANSIENT HEAT CONDUCTION
 
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
บทที่ 8 ความร้อนและอุณหพลศาสตร์
 
267258402 heat-4e-chap03-lecture
267258402 heat-4e-chap03-lecture267258402 heat-4e-chap03-lecture
267258402 heat-4e-chap03-lecture
 
Chapter 7 EXTERNAL FORCED CONVECTION
Chapter 7EXTERNAL FORCED CONVECTIONChapter 7EXTERNAL FORCED CONVECTION
Chapter 7 EXTERNAL FORCED CONVECTION
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
Transfert thermique par conduction dans un tuyau cylindrique
Transfert thermique par conduction dans un tuyau cylindriqueTransfert thermique par conduction dans un tuyau cylindrique
Transfert thermique par conduction dans un tuyau cylindrique
 
Themodynamics
ThemodynamicsThemodynamics
Themodynamics
 
01 p&id - 1
01 p&id - 101 p&id - 1
01 p&id - 1
 
heat conduction equations
heat conduction equationsheat conduction equations
heat conduction equations
 
Heat 4e chap03_lecture
Heat 4e chap03_lectureHeat 4e chap03_lecture
Heat 4e chap03_lecture
 
Heat transfer chapter one and two
Heat transfer chapter one and twoHeat transfer chapter one and two
Heat transfer chapter one and two
 
Chapter 7: Heat Exchanger
Chapter 7: Heat ExchangerChapter 7: Heat Exchanger
Chapter 7: Heat Exchanger
 
Conduction equation cartesian, Cylindrical, spherical (7).pptx
Conduction equation  cartesian, Cylindrical, spherical (7).pptxConduction equation  cartesian, Cylindrical, spherical (7).pptx
Conduction equation cartesian, Cylindrical, spherical (7).pptx
 
Chap09 ht 3e natural convection
Chap09 ht 3e natural convectionChap09 ht 3e natural convection
Chap09 ht 3e natural convection
 
One-dimensional conduction-with_no_heat_generation
One-dimensional conduction-with_no_heat_generationOne-dimensional conduction-with_no_heat_generation
One-dimensional conduction-with_no_heat_generation
 
09.แสงอาทิตย์
09.แสงอาทิตย์09.แสงอาทิตย์
09.แสงอาทิตย์
 

Similar to 007 external forced convection thai

การวิเคราะห์ความต้านทานและรูปแบบคลื่นของเรือแบบตัวเรือคู่ด้วย Cfd
การวิเคราะห์ความต้านทานและรูปแบบคลื่นของเรือแบบตัวเรือคู่ด้วย Cfdการวิเคราะห์ความต้านทานและรูปแบบคลื่นของเรือแบบตัวเรือคู่ด้วย Cfd
การวิเคราะห์ความต้านทานและรูปแบบคลื่นของเรือแบบตัวเรือคู่ด้วย CfdKittipoom Poomkokruk
 
Week 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิดWeek 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิดArsenal Thailand
 
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555nuchida suwapaet
 
ของไหล 2
ของไหล 2ของไหล 2
ของไหล 2luanrit
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุkruannchem
 
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2Chattichai
 
พิกัดสายไฟฟ้า
พิกัดสายไฟฟ้าพิกัดสายไฟฟ้า
พิกัดสายไฟฟ้าsangkhawong
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6Mu PPu
 

Similar to 007 external forced convection thai (13)

การวิเคราะห์ความต้านทานและรูปแบบคลื่นของเรือแบบตัวเรือคู่ด้วย Cfd
การวิเคราะห์ความต้านทานและรูปแบบคลื่นของเรือแบบตัวเรือคู่ด้วย Cfdการวิเคราะห์ความต้านทานและรูปแบบคลื่นของเรือแบบตัวเรือคู่ด้วย Cfd
การวิเคราะห์ความต้านทานและรูปแบบคลื่นของเรือแบบตัวเรือคู่ด้วย Cfd
 
Week 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิดWeek 3 การไหลในท่อปิด
Week 3 การไหลในท่อปิด
 
6. Wiring&Cable.ppt
6. Wiring&Cable.ppt6. Wiring&Cable.ppt
6. Wiring&Cable.ppt
 
Transmission lines
Transmission linesTransmission lines
Transmission lines
 
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
บทที่ 6 ภาคปลาย.2555
 
Wave
WaveWave
Wave
 
ของไหล 2
ของไหล 2ของไหล 2
ของไหล 2
 
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
03 คลื่นและสมบัติของคลื่นสเปกตรัมของธาตุ
 
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
บทที่ 3 การวัดระยะทาง 2
 
พิกัดสายไฟฟ้า
พิกัดสายไฟฟ้าพิกัดสายไฟฟ้า
พิกัดสายไฟฟ้า
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
Sc1362
Sc1362Sc1362
Sc1362
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
 

007 external forced convection thai

  • 1. Ch 7 External Forced Convection 1 King Mongkut’s University of Technology North Bangkok Faculty of Engineering Department of Mechanical and Aerospace Engineering
  • 2. Objectives 2  เพื่อให้สามารถบอกความแตกต่างระหว่างการไหลแบบ Internal flow และ External flow ได้  เพื่อให้เข้าใจถึงแรงต้านเนื่องจากความเสียดทาน (Friction drag) และแรงต้าน เนื่องจากความดัน (Pressure drag) ได้ รวมทั้งสามารถหาค่าแรงต้านเฉลี่ยและ สัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนเฉลี่ยสาหรับการไหลแบบ External flow ได้  เพื่อให้สามารถหาแรงต้านและสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของของไหล ตลอดความยาวของ Flat plate ทั้งที่เป็นการไหลแบบ Laminar และ Turbulent ได้  เพื่อให้สามารถหาแรงต้านและสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของของไหลที่ ไหลผ่านท่อทรงกระบอกและรูปร่างทรงกลม ทั้งที่เป็นการไหลแบบ Laminar และ Turbulent ได้
  • 3. Contents 3  Drag and heat transfer in external flow  Parallel flow over flat plates  Flow across cylinders and spheres  Flow across tube banks
  • 4. Introduction 4  ในบทที่แล้ว เรื่องพื้นฐานของการถ่ายเทความร้อน เราสามารถหาความสัมพันธ์ ของเทอมที่ไม่มีหน่วยต่างๆ ได้ ได้แก่ Nu, Re และ Pr ซึ่งความสัมพันธ์ดังกล่าวจะ ถูกนามาใช้เป็นเครื่องมือในการหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของการไหล ภายนอกได้ ทั้งการไหลบน Flat plate การไหลผ่านท่อทรงกระบอก หรือ การ ไหลผ่านวัตถุทรงกลม Pr),(ReLL fNu Pr),Re*,( LL xfNu 
  • 5. Drag and Heat Transfer in Ext. Flow 5  เมื่อมีของของไหลผ่านวัตถุ จะมีปรากฏการณ์ต่างๆ เกิดขึ้น เช่น  แรงต้านการเคลื่อนที่ (Drag force) เช่น การต้านการเคลื่อนที่ของรถยนต์s  แรงต้านการลอยตัว (Lift force) เช่น แรงต้านการลอยตัวของเครื่องบิน  การทาให้โลหะหรือของแข็งเย็นตัวลง  คำนิยำม: Free-stream velocity คือ ความเร็วของของไหลที่ระยะใดๆ ที่ไกล จากวัตถุ  ความเร็วของของไหลที่ไหลบนพื้นผิวใดๆ จะมีค่าอยู่ระหว่าง 0 (ที่พื้นผิว) ถึง Free- stream value ที่บริเวณที่อยู่เหนือพื้นผิวมากๆ  Free-stream velocity จะมีค่าเท่ากับความเร็วของของไหล
  • 6. Drag and Heat Transfer in Ext. Flow 6  แรงต้ำนกำรเคลื่อนที่ (Drag force): แรงของของไหลที่เกิดจากความดันและ Wall shear forces ที่กระทาต่อวัตถุในทิศทางการเคลื่อนที่  แรงต้ำนกำรลอยตัว (Lift force): แรงของของไหลที่เกิดจากความดันและ Wall shear forces ที่กระทาต่อวัตถุในทิศทางตั้งฉากกับการเคลื่อนที่  Drag Force (FD) ขึ้นอยู่กับ density, upstream velocity, geometry  สัมประสิทธิ์ความต้านทาน (Drag Coefficient, CD) AV F C D D 2 2 1  
  • 7. Drag and Heat Transfer in Ext. Flow 7  ปรากฏการณ์ต่างๆ ที่เกิดขึ้นเมื่อมีของไหลไหลผ่านวัตถุ ซึ่งมีผลต่อแรงต้านทางการ เคลื่อนที่ จะมีผลต่อการถ่ายเทความร้อนด้วย  ค่า Nu ที่ระยะ x ใดๆ (Nux) และค่า Nu เฉลี่ย สามารถหาได้จากสมการทั่วไป คือ  คุณสมบัติของของไหลที่นามาใช้ในสมการด้านบน จะต้องเป็นคุณสมบัติที่ Film temperature (Tf) โดยที่ Pr),Re,( * xx xfNu 1 Pr),(ReLfNu 2 )PrRe nm LCNu  2   TT T s f
  • 8. Drag and Heat Transfer in Ext. Flow 8  ค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทาน (CDx) และสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน (hx) จะ มีการเปลี่ยนแปลงตลอดความยาวของพื้นผิว ทั้งนี้เนื่องจากผลของ Velocity boundary layer ที่เกิดขึ้นในทิศทางการไหล  ค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานเฉลี่ย (CD) และสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน เฉลี่ย (h) ตลอดความยาวของพื้นผิวสามารถหาได้จาก  อัตราการถ่ายเทความร้อนเข้าหรือออกจากพื้นผิวสามารถหาได้จาก Newton’s law of cooling , 0 1 L D D xC C dx L   0 1 L xh h dx L   )(  TThAQ ss 
  • 9. Parallel Flow Over Flat Plates 9  พิจารณาของไหลที่ไหลผ่านบน Flat plate ที่มีความยาว L  ค่า Re ที่ระยะ x จากขอบสามารถหาได้จาก  Critical Reynolds number คือ  ในทางปฏิบัติ ค่า Critical Re จะอยู่ใน ช่วงระหว่าง 105 to 3X106 Rex Vx Vx    5 Re 5 10cr cr Vx   
  • 10. Friction Coefficient 10  จากบทที่แล้ว เราสามารถหาค่าความหนาของ Boundary layer และค่า สัมประสิทธิ์ความต้านทานที่ระยะ x ใดๆ บน Flat plate ได้จาก  Laminar Flow  Turbulent Flow x x x Re .914  x xfC Re . , 6640  51 380 x x x Re .  51 0590 x xfC Re . ,  5 105xRe 75 10105  xRe
  • 11. Friction Coefficient 11  จากบทที่แล้ว เราสามารถหาค่าสัมประสิทธิ์ความต้านทานเฉลี่ยตลอดความยาว ของ Flat plate ได้จาก  Laminar Flow  Turbulent Flow , 0 1 L D D xC C dx L   5 105xRe x fC Re .331  51 0740 x fC Re .  75 10105  xRe
  • 12. Heat Transfer Coefficient 12  จากบทที่ 6 สามารถหา Nu ที่ระยะ x ใดๆ ได้จาก  Laminar Flow  Turbulent Flow 3150 3320 PrRe. . x x x k xh Nu  60.Pr  3180 02960 PrRe. . x x x k xh Nu  6060  Pr. 75 10105  xRe
  • 13. Heat Transfer Coefficient 13  จากสมการการหา Nux จะนาทาให้สามารถหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน ที่ระยะ x ใดๆ (hx) ได้ ซึ่ง hx จะเป็นฟังก์ชันของ หรือ x-0.5 สาหรับการไหล แบบ Laminar  ดังนั้น ที่ขอบของ Flat plate (x=0), hx จะมีค่าเป็น ∞ และเมื่อระยะ x มากขึ้น ค่า hx จะลดลง ดังแสดงในรูปด้านขวามือ  ค่า hx จะเพิ่มขึ้นในช่วง Transition  เมื่อการไหลเปลี่ยนเป็น Turbulent ค่า hx จะลดลงเมื่อระยะ x เพิ่มขึ้น ด้วย factor x-0.2 50. Rex
  • 14. Heat Transfer Coefficient 14  การหาค่า Nu และค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน จะแบ่ง Condition ที่ พื้นผิวออกเป็น 2 แบบ คือ  พื้นผิวที่มีอุณหภูมิที่ผิวคงที่ Ts = constant  พื้นผิวที่มี Uniform heat flux
  • 15. Heat Transfer Coefficient (Ts = const.) 15  ค่า Nu เฉลี่ยตลอดความยาวของ Flat plate สามารถหาได้จาก  Laminar Flow  Turbulent Flow  ในกรณีที่ Flat plate ไม่ได้มีความยาวมากพอ ในกรณีนี้จะมีทั้งการไหลแบบ Laminar และ Turbulent โดยสามารถหาค่า Nu ได้จาก 3150 6640 PrRe. . x k hx Nu  3180 0370 PrRe. . x k hx Nu  6060  Pr. 75 10105  xRe 5 105xRe  0.8 1 3 0.037Re 871 PrLNu   6060  Pr. 75 10105  xRe
  • 16. Uniform Heat Flux 16  สาหรับ Flat plate ที่มี Uniform heat flux ที่ผิว สามารถหาค่า Nux ได้จาก  Laminar Flow  Turbulent Flow 3150 4530 PrRe. . xxNu  3180 03080 PrRe. . xxNu  6060  Pr. 75 10105  xRe 5 105xRe
  • 17. Flow Across Cylinder and Spheres 17  ระบบการถ่ายเทความร้อนที่เกี่ยวข้องกับการไหลภายนอกท่อทรงกระบอก หรือ ทรงกลม เช่น  shell-and-tube heat exchanger,  Pin fin heat sinks for electronic cooling.  ในการหาค่า Re ของการไหลผ่านนอกทรงกระบอกและทรงกลม จะใช้ รัศมี ภายนอกของทรงกระบอกและทรงกลม (D) เป็นค่า Characteristic length  ค่า Critical Reynolds สาหรับการไหลนอกทรงกระบอกหรือทรงกลม มีค่าเท่ากับ Recr=2x105
  • 18. Heat Transfer Coefficient 18  ค่า Nu เฉลี่ยของการไหลภายนอกทรงกระบอก (Churchill and Bernstein), เมื่อ Re Pr > 0.2, และคุณสมบัติของของไหลคิดที่ Tflim  ค่า Nu เฉลี่ยของการไหลภายนอกทรงกลม (Whitaker), เมื่อ 3.5 ≤ Re ≤ 80,000 และ 0.7 ≤ Pr ≤ 380, คุณสมบัติของของไหลคิดที่ T∞ ยกเว้น viscosity ที่ Ts   4 55 81 2 1/3 1 42/3 0.62Re Pr Re 0.3 1 282,0001 0.4 Pr cyl hD Nu k                   1 4 1 2 2 3 0.4 2 0.4Re 0.06Re Prsph s hD Nu k               
  • 19. Heat Transfer Coefficient 19  ในกรณีที่เป็นการไหลภายนอกท่อที่ไม่ใช่ท่อทรงกระบอก จะมีสมการทั่วไปในการ หาค่า Nu เฉลี่ย คือ  โดยที่ n = 1/3  Table 7-1 แสดงรายละเอียดการใช้สมการด้านบน สาหรับท่อที่มีพื้นที่หน้าตัด รูปร่างต่างๆ  โดยที่คุณสมบัติของของไหลหาจากอุณหภูมิ Tflim nm xC k hx Nu PrRe
  • 22. Flow Across Tube Banks 22  ในอุปกรณ์ที่มีการแลกเปลี่ยนความร้อนในชีวิตประจาวัน เช่น Condenser, evaporator, H.E. จะมีของไหล 2 ชนิดไหลในกลุ่มท่อ โดยของไหลชนิดหนึ่งจะ ไหลภายในท่อ และของไหลอีกชนิดหนึ่งจะไหลภายนอกท่อในทิศทางตั้งฉากกับท่อ ดังแสดงในรูป  อัตราการถ่ายเทความร้อนของของไหลที่ไหลภายในท่อจะถูกพิจารณาเป็นของไหล ที่ไหลผ่านท่อเพียงท่อเดียวก่อน จากนั้นจึงนาจานวนท่อทั้งหมดมาคูณ  สาหรับอัตราการถ่ายเทความร้อนของ ของไหลที่ไหลภายนอกกลุ่มท่อ ลักษณะการจัดเรียงตัวของท่อจะมีผลต่อ สัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อน และ อัตราการถ่ายเทความร้อน ดังนั้น ในการพิจารณาจะต้องพิจารณาทั้งกลุ่มท่อ ทั้งหมด ไม่สามารถแยกพิจารณาทีละท่อได้
  • 23. Flow Across Tube Banks 23  ลักษณะการจัดเรียงตัวของกลุ่มท่อ  แบบ In-line และแบบ Staggered  Characteristic length: รัศมีภายนอก  Three characteristics  Transverse pitch ST  Longitudinal pitch SL  Diagonal pitch SD between tube center โดยที่  พื้นที่หน้าตัดของการไหลลดลงจาก A1 = STL ไปเป็น AT = (ST-D)L  ทาให้ความเร็วของของไหลเพิ่มขึ้น In-line arrangement Staggered arrangement  22 2TLD SSS 
  • 24. Flow Across Tube Banks 24  เนื่องจาก Vmax เป็นตัวกาหนดลักษณะการไหลภายนอกกลุ่มท่อ ดังนั้นในการหาค่า Re จะใช้ Vmax, จะได้  Vmax หรือค่าความเร็วสูงสุด สามารถคานวณจาก Conservation of mass  สาหรับท่อที่จัดเรียงตัวแบบ In-line  สาหรับท่อที่จัดเรียงตัวแบบ Staggered in case of SD < (ST+D)/2 in case of SD < (ST+D)/2   DVDV D maxmaxRe  V DS S V T T  max V DS S V T T  max V DS S V D T )(2 max  
  • 25. Flow Across Tube Banks 25  สมการความสัมพันธ์ที่ใช้ในการคานวณหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนของ ของไหลที่ไหลภายนอกกลุ่มท่อ สามารถหาได้จาก  โดยที่ 0.7 < Pr < 500 and 0 < ReD < 2x106  คุณสมบัติของของไหล หาที่อุณหภูมิเฉลี่ย คือ Tm = (Ti + Te)/2   0.25 Re Pr Pr Prm n D D s hD Nu C k  
  • 26. Flow Across Tube Banks 26  Table 7-2 แสดงการหาค่า Nu สาหรับการไหลภายนอกกลุ่มท่อที่มีจานวนท่อ มากกว่า 16 ท่อ
  • 27. Flow Across Tube Banks 27  ในกรณีที่มีจานวนท่อน้อยกว่า 16 ท่อ สามารถหาค่า Nu ได้จาก  โดยที่ ค่า F เป็น Correction factor หาได้จาก Table 7-3 , LD N DNu F Nu 
  • 28. Flow Across Tube Banks 28  อัตราการถ่ายเทความร้อนของของไหลที่ไหลภายนอกกลุ่มท่อ สามารถหาค่าได้ จาก Newton’s Law และสมการ conservation of energy  ∆Tln คือ logarithmic mean temperature difference )(ln ieps TTcmThAQ       ie ie ises ises TT TT TTTT TTTT T       lnln )()( ln            p s isse cm hA TTTT  exp
  • 29. Procedures for Calculation 29  พิจารณาว่าเป็นการไหลผ่านพื้นผิวแบบไหน เช่น Flat plate, Sphere หรือ Cylinder  พิจารณาหาค่าอุณหภูมิที่เหมาะสม เพื่อนามาหาคุณสมบัติของของไหล ซึ่งส่วน ใหญ่จะใช้ Film temperature  หาค่า Re เพื่อพิจารณาว่าการไหลเป็นแบบ Laminar หรือ Turbulent  พิจารณาเลือกใช้ความสัมพันธ์ในการหารค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนที่ เหมาะสม  เมื่อหาค่าสัมประสิทธิ์การถ่ายเทความร้อนได้แล้ว ก็สามารถดาเนินการคานวณ ขั้นตอนต่อๆ ไปได้ เช่น หาค่าอัตราการถ่ายเทความร้อน เป็นต้น