SlideShare a Scribd company logo
1 of 30
Download to read offline
Communication Networks and
Transmission Lines
นางสาวกัญญวิทย์ กลิ่นบารุง KMUTNB
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
1. บอกประเภทและชนิดของสายส่งความถี่สูงได้
2. อธิบายค่าอิมพีแดนซ์คุณลักษณะของสายส่งได้
3. เขียนวงจรเทียบเคียงของสายสงได
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
4. คานวณค่าพารามิเตอร์ความสัมพันธ์ในวงจรสายส่งได้
5. คานวณหาค่าแรงดัน กระแส และกาลังไฟฟ้าในวงจรสายส่งได้
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
สายส่ง (Transmission Line) เป็นตัวกลางส่งถ่ายสัญญาณไฟฟ้าจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุด
หนึ่ง โดยสัญญาณไฟฟ้านั้นจะถูกพิจารณาเป็นการส่งถ่ายพลังงานในรูปของแรงดันไฟฟ้า
และกระแสไฟฟ้าหรือการแพร่กระจายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปตามสายส่งมีคุณสมบัติพิเศษที่
สามารถสร้างอุปกรณ์พาสชีฟ วงจรกรองความถี่ วงจรหม้อแปลง วงจรหารกาลังและ
สายอากาศ เป็นต้น
 สายส่ง (Transmission Line)
 ชนิดของสายส่งความถี่สูง
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
, ชนิดของสายส่งความถี่สูง
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
 สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation)
ในทางปฏิบัติระบบที่มีโครงสร้างเป็นข่ายงานแบบที (T-network) สามารถหา
ค่าพารามิเตอร์ Z อย่างง่ายๆ ได้โดยใช้ความสัมพันธ์ดังนี้
ผู้ส่ง/ตัวส่ง
(Sender)
สายส่ง
(Transmission)
ผู้รับ/ตัวรับ
(Receiver)
ส่ง/กาเนิดสัญญาณใน
รูปแบบสัญญาณแรงดัน
หรือกระแส
เช่น เครื่องส่งวิทยุ
เครื่องกาเนิดสัญญาณ
ปลายทางของ
การสื่อสาร หรือ
เป็นอุปกรณ์สาหรับรับ
ข้อมูล เช่น
เครื่องรับวิทยุ
ตัวกลางในการส่งพลังงาน
หรือสัญญาณไฟฟ้า ใน
รูปแบบสัญญาณแรงดันหรือ
กระแส
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
 สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation)
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
 สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation)
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
พิจารณาหาค่าอิมพีแดนซ์ของสายส่ง (Impedance) ที่ต้นสาย โดยกาหนดให้สายส่ง
มีความยาวเข้าสู่อินฟินีตี้แสดงดังรูป ค่าของอิมพีแดนซ์ที่วัดได้นี้ คือ “อิมพีแดนซ์คุณลักษณะ
(Characteristic impedance: )”0Z
สายส่งที่มีความยาวเข้าสู่อินฟินิตี้
สายส่งที่ถูกต่อเข้ากับโหลด/วงจรเทียบเคียงของสายส่งที่ความยาวอินฟินิตี้
 สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation)
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
G
4
L
l
4
R
C
4
L
4
R
4
R
C
R
G
L
l
4
L
4
R
( ) ( )
( )
0Z
0Z
SZ
l
pY0Z
4
R
วงจรเทียบเคียงของสายส่งของชิ้นส่วนความยาว l
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
วงจรอิมพีแดนซ์และแอดมิตแตนช์ของสายส่ง
 สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation)
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
สมการอิมพีแดนซ์คุณลักษณะของสายส่ง
 สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation)
กรณี 1 สายส่งที่มีการสูญเสีย (Lossy line) จะได้ดังสมการ
(1.3)
กรณี 2 สายส่งที่ไม่มีการลดทอน (Lossless line) จะมีค่า
(1.4)
กรณี สายส่งในสุญญากาศ (transmission line in Free space) จะได้ดังสมการ
(1.5)
' 0R G 
0
' '
' '
R j L
Z
G j C





0
'
'
L
Z
C

0
0
0
Z



SZ
l
pY
0Z 0Z
l  
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
วงจรเทียบเคียงของสายส่งที่มีขนาดความยาวสั้นๆ (dx)
 สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation)
SZ
x
pYxV
xI xI x
x x
xV x
x
I
xI xxI
xV xxV
x
x x x
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
สมการทั่วไปของสายส่ง
 สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation)
SZ
x
pYxV
xI xI x
x x
xV x
x
I
xI xxI
xV xxV
x
x x x
สมการทั่วไปของสายส่งสามารถเขียนในฟังก์ชั่น
ของแรงดันและของกระแสที่ตาแหน่ง x ของสายส่งจาก
สมการดิฟเฟอร์เรนเชียลดังสมการ (1.8) และ (1.9)
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
 สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation)
จากสมการ (1.11) และ (1.12) พบว่า
“สมการเป็น 2nd Order- Voltage และCurrent Wave Equation”
นาค่า จากสมการ (1.10) แทนในสมการ (1.9) จะได้
2
2
2
0 x x
d
V V
dx
(1.11)

เมื่อพิจารณา สมการของกระแส จะได้ดังสมการ (1.12) จะได้
2
2
2
0 x x
d
I I
dx
(1.12)
กรณีของสายอากาศที่ไม่มีการลดทอน (Loss-free line : )
( )j L j C j L C j           0
j L L
Z
j C C


 
 
 
และ
' 0R G 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
 สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation)
ตัวอย่างที่ 1.1 สายส่งในระบบการสื่อสารต่อระยะทางมีหน่วยเป็นกิโลเมตร โดยใช้ความถี่ในการส่ง
สัญญาณเท่ากับ 1 kHz ซึ่งปลายสายของสายส่งต่อกับโหลดและจ่ายกาลังงานที่ต้นสายเท่ากับ 6 mW
กาหนดให้มีค่า และ
จงหาอิมพีแดนซ์ ค่าคงที่ของการแพร่กระจาย ความยาวคลื่น ความเร็วของคลื่น
ของสายส่งเส้นนี้
90 / , 1 / ,R km L mH km    0.062C F  1.5 /G S km 
0( )Z ( ) ( ) ( )v
- พิจารณาหาค่าอิมพีแดนซ์
0
R j L
Z
G j C


 

 
0( )Z
หาค่า ; และR j L  G j C 
เมื่อ ; 2 6.283 1000 6.283 /f rad s    
90 6283 0.001 90.2 4 /R j L j km       
6 6
(1.5 10 ) ( 6283 0.062 10 )G j C j  
      
6
390 10 89.8 /S km
  
……… (1)
นาค่า ; และ แทนสมการ (1)R j L  G j C 
0 6 6
90.2 4 90.2 4 89.8
390 10 89.8 390 10 2
Z  
 
  
  
0 481 43Z  
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
 สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation)
ตัวอย่างที่ 1.1 (ต่อ)
- ความยาวคลื่นและความเร็วของคลื่น
จาก;
( )( )R j L G j C       
6
(90.2 4 )(390 10 89.8 ) 0.187 46.9
     
0.187cos46.9 0.137cos46.9j j     
0.128 0.137j 
0.128 /Np m  0.137 /rad m และ
- ค่าคงที่ของการแพร่กระจาย
2 6.283
45.86
0.137
km



  
45.86 1000 /V f km s  
จากสมการ ;
จากสมการ ;
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
 คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง
คลื่นแรงดันและกระแสในวงจรสายส่ง
วงจรสายส่งเมื่อต่อเข้ากับแหล่งจ่ายจะเกิด
คลื่นแรงดันตกกระทบ ; ( Vi1 ) และ
คลื่นกระแสตกกระทบ ; ( Ii1 ) ขึ้นที่ต้นสาย
จากนั้น สะท้อนกลับไปยังแหล่งจ่าย
คลื่นแรงดันสะท้อน ; ( Vr2 ) และ
คลื่นกระแสสะท้อน ; ( Ir2 )
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
 คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง
สัมประสิทธิ์การสะท้อนกลับของคลื่น ( )
............(1.9) ............(1.10)
2
2
2
r
i
V
V
  0
2
0
L
L
Z Z
Z Z

 

22
2
2 max
0 04
gr
i
VV
P P
Z Z
  
2 2
2
2
r
i
P
P
 
กาลังงานส่งผ่าน
2
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
 คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง
ตัวอย่างที่ 1.2 สายส่ง (Transmission line) หนึ่งเส้นมีค่าอิมพีแดนซ์คุณลักษณะเท่ากับ 50 โอห์ม
โดยต้นสายของสายส่งต่อกับแหล่งกาเนิดสัญญาณไฟฟ้าที่มีแรงดันเท่ากับ 10 V และมีค่าความ
ต้านทานภายในเท่ากับ 50 โอห์ม ซึ่งปลายทางของสายส่งต่อกับโหลดมีค่าเท่ากับ 100 โอห์ม
จงหาค่าแรงดัน และค่ากระแส ที่ตาแหน่งของโหลด2V 2I
- พิจารณาหาค่าแรงดัน ที่ตาแหน่งของโหลด2( )V
2
2
L
L
V
P
R
 2 L LV P R
2
max 2(1 )LP P 
จากสมการ ; ,
2
2 max
04
g
i
V
P P
Z
 
2
max
10
0.5
4 50
P W 

0
2
0
100 50
0.33
100 50
L
L
R Z
R Z
 
   
 
จากสมการ ;
นาค่า และ แทนลงในสมการที่ (2) จะได้
หาค่า ; 2
0.5(1 0.33 ) 0.45LP W  
2 0.45 50 67.1L LV P R mV   
……… (1)
……… (2)
นาค่า แทนลงในสมการที่ (1) จะได้
จากสมการ ;
maxP 2
LP
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
 คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง
ตัวอย่างที่ 1.2 (ต่อ)
- พิจารณาหาค่ากระแส ที่ตาแหน่งของโหลด2( )I
จากสมการ ;
ค่าแรงดัน และค่ากระแส ที่ตาแหน่งของโหลดมีค่า และ
2
0
10
0.2
50
gV
I A
Z
  
 2( )I2( )V 67.1 mV 0.2 A
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
 คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง
อัตราความเร็วของวงจรสายส่ง ( V )
การหาค่าความเร็วของคลื่นแรงดันตกกระทบที่
เคลื่อนที่ผ่านตามระยะความยาวต่างๆ ของสายส่ง
0
0 0
1 1 1
r r
C
V
L C     
   
 
V f



 
2
L C

 

  
9 7
0 0 0
0 0
1 1
, 10 / , 1, 4 10 /
36
rC F m H m   
 
 
     
8
0
7 9
1
3 10 /
1
4 10 10
36
C m s


 
  
  
เมื่อ
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
 คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง
ตัวอย่างที่ 1.3 สายส่งเส้นหนึ่งมีฉนวนที่มี ใช้งานที่ความถี่เท่ากับ 30 MHz มีความยาวเท่ากับ
10 m จงหาค่าความยาวคลื่นของคลื่นที่ผ่านสายส่งเส้นนี้
2.4r 
v
f
 
8
60 3 10
193.65 10 /
2.4r
C
V m s


   
6
6
193.65 10
6.46
30 10
m

 

ดังนั้น ;
จากสมการ ;
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
 คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง
คลื่นแรงดันและกระแสที่สะท้อนในสายส่ง
ในกรณีคลื่นแรงดันตกกระทบเคลื่อนที่จาก
ต้นสายมีไปยังปลายสายคลื่นมีความเร็ว(v)
คงที่ เนื่องจากค่าของ และ ของสายส่ง
มีค่าคงที่ตลอดความยาวของสาย
1
V
L C

  0
L
Z
C



0
x r
x x
t
v C
 
- ความเร็ว (v) -อิมพีแดนซ์คุณลักษณะ
-เวลา (t) ในการเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง
L C
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
 คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง
ลักษณะการเคลื่อนที่ของคลื่นในวงจรสายส่ง
กรณีที่ 1 ; Matching ประยุกต์ใช้งานใน
เครื่องรับเครื่องส่ง
จากรูปพบว่า 0g LZ Z Z 
( )in i nV V
( )in i nI I
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
 คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง
ลักษณะการเคลื่อนที่ของคลื่นในวงจรสายส่ง
กรณีที่ 2 ; Generator Matching ประยุกต์
ใช้งานในเครื่องมือวัดย่านความถี่สูง เช่น
Network analyzer
จากรูปพบว่า ; 0g LZ Z Z 
( ) ( )in i n r nV V V 
( ) ( )in i n r nI I V 
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
 คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง
ลักษณะการเคลื่อนที่ของคลื่นในวงจรสายส่ง
กรณีที่ 3 ; Mismatching เป็นการออกแบบ
วงจรที่ไม่เหมาะสม
จากรูปพบว่า ; 0g LZ Z Z 
 ( ) ( )
1
in i n r n
n
V V V


 
 ( ) ( )
1
in i n r n
n
I I I


 
in
in
in
V
Z
I

หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
 คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง
ตัวอย่างที่ 1.4 สายส่ง (Transmission line) ดังรูป กาหนดให้ สายส่งเส้นนี้มีความยาวเท่ากับ 3 m
โดยป้อนแหล่งจ่ายที่มีค่าเท่ากับ 12 V จงคานวณหา ค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนกลับของโหลด
และแหล่งจ่ายและค่าแรงดัน,กระแสด้านเข้าของวงจร ค่าอิมพีแดนซ์ด้านเข้าของวงจร
พิจารณาหาค่าแรงดัน และกระแส ด้านเข้าของวงจร
จากสมการ ;
12V
t=0
+
_
L
g
พิจารณาหาค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนกลับของโหลด ( )
และแหล่งจ่าย ( )
0
0
100 50 1
100 50 3
L
L
L
Z Z
Z Z
 
   
 
0
0
10 50 2
10 50 3
g
g
g
Z Z
Z Z
 
    
 
;
 ( ) ( )
0
in i n r n
n
V V V


 
 ( ) ( )
1
in i n r n
n
I I I


 
จากสมการ ; (1)
( )inV ( )inI
จากสมการ ; (2)
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
 คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง
ตัวอย่างที่ 1.4 (ต่อ)
คานวณค่าแรงดัน และกระแส ที่ตกกระทบรอบที่ 2
คานวณหาค่าแรงดัน และกระแส ที่ตกกระทบรอบที่ 3
คานวณค่าแรงดัน และกระแส ที่สะท้อนรอบที่ 2
คานวณหาค่าแรงดัน และกระแส ที่สะท้อนรอบที่ 3( ) 2( )i nV ( ) 2( )i nI
( ) 3( )i nV ( ) 3( )i nI
( ) 2( )r nV ( ) 2( )r nI
( ) 3( )r nV ( ) 3( )r nI
( ) 2 1
2
( ) .( ) 3.33 2.22
3
i n g inV V V V
      
2
( ) 2
0
( ) 2.22
( ) 44.4
50
in
i n
V V
I mA
Z


   

( ) 2 ( ) 2
1
( ) .( ) ( 2.22 ) 0.74
3
r n L i nV V V V      
( ) 2
( ) 2
0
( ) 0.74
( ) 14.8
50
r n
r n
V V
I mA
Z

   

คานวณค่าแรงดัน และกระแส ที่ตกกระทบรอบที่ 1( ) 1( )i nV ( ) 1( )i nI
0
( ) 1
0
50
( ) . 12 10
10 50
i n g
g
Z
V V V
Z Z
   
 
คานวณค่าแรงดัน และกระแส ที่ สะท้อน รอบที่ 1( ) 1( )r nV ( ) 1( )r nI
( ) 1
( ) 1
0
( ) 10
( ) 200
50
i n
i n
V V
I mA
Z
  

( ) 1 ( ) 1
1
( ) .( ) 10 3.33
3
r n L i nV V V V    
( ) 1
( ) 1
0
( ) 3.33
( ) 66.6
50
r n
r n
V V
I mA
Z
  

( ) 3 ( ) 2
2
( ) .( ) ( 0.74 ) 0.5
3
i n g r nV V V V      
( ) 3
( ) 3
0
( ) 0.5
( ) 10
50
i n
i n
V V
I mA
Z
  

( ) 3 ( ) 3
1
( ) .( ) 0.5 0.167
3
r n L i nV V V V    
( ) 3
( ) 3
0
( ) 0.167
( ) 3.33
50
r n
r n
V V
I mA
Z
  

หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
 คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง
ตัวอย่างที่ 1.4 (ต่อ)
ลักษณะการเคลื่อนที่ของคลื่นแรงดันในวงจรสายส่ง
ลักษณะการเคลื่อนที่ของคลื่นกระแสในวงจรสายส่ง
หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
 คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง
ตัวอย่างที่ 1.4 (ต่อ)
พิจารณาหาค่าอิมพีแดนซ์ ด้านเข้าของวงจร
11.037
100
110.47
in
in
in
V V
Z
I mA
   
นาค่า ในสมการที่ (1)
 ( ) ( )
0
in i n r n
n
V V V


 
(10 3.33) ( 2.22 0.74) (0.5 0.167) 11.037inV V       
นาค่า ในสมการที่ (2)
(200 66.6) ( 44.4 ( 14.8)) (10 3.33)
110.47
inI
mA
       

( )inZ

More Related Content

What's hot

พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent BondSaipanya school
 
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1njoyok
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งkrurutsamee
 
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantNattawut Kathaisong
 
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายการวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายkrurutsamee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกkkrunuch
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานkrupornpana55
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงโรงเรียนเทพลีลา
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์Chakkrawut Mueangkhon
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานWijitta DevilTeacher
 

What's hot (20)

โรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้าโรงไฟฟ้า
โรงไฟฟ้า
 
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bondพันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
พันธะโคเวเลนต์ Covalent Bond
 
Echem 2 redox balance
Echem 2 redox balanceEchem 2 redox balance
Echem 2 redox balance
 
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
การต่อวงจรไฟฟ้า.Pptx -1
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
พื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้งพื้นที่ใต้โค้ง
พื้นที่ใต้โค้ง
 
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plantโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
โรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน Thermal power plant
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจายการวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
การวัดตำแหน่งที่และการกระจาย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
เซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิกเซลล์กัลวานิก
เซลล์กัลวานิก
 
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงานแบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
แบบฝึกหัดทบทวนตามตัวชี้วัดหน่วยที่ 2 งานและพลังงาน
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 

Similar to Transmission lines

Lab kawee knok
Lab kawee knokLab kawee knok
Lab kawee knokZHEZA
 
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสหน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสPornsak Tongma
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้าเรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมPongsakorn Poosankam
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpipopsin163
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมpanupong
 

Similar to Transmission lines (20)

6. Wiring&Cable.ppt
6. Wiring&Cable.ppt6. Wiring&Cable.ppt
6. Wiring&Cable.ppt
 
Lab kawee knok
Lab kawee knokLab kawee knok
Lab kawee knok
 
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสหน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
514 102 electric 53
514 102 electric 53514 102 electric 53
514 102 electric 53
 
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้าความสัมพันธ์ระหว่าง  ความต่างศักย์ไฟฟ้า  กระแสไฟฟ้า  และ ความต้านทานไฟฟ้า
ความสัมพันธ์ระหว่าง ความต่างศักย์ไฟฟ้า กระแสไฟฟ้า และ ความต้านทานไฟฟ้า
 
ไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรงไฟฟ้ากระแสตรง
ไฟฟ้ากระแสตรง
 
Ac current46
Ac current46Ac current46
Ac current46
 
54101 unit10
54101 unit1054101 unit10
54101 unit10
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
ไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจรไฟฟ้าและวงจร
ไฟฟ้าและวงจร
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
หลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโมหลักการของไดนาโม
หลักการของไดนาโม
 
Electricity atom energy
Electricity atom energyElectricity atom energy
Electricity atom energy
 
A ccircuit
A ccircuitA ccircuit
A ccircuit
 

Transmission lines

  • 1. Communication Networks and Transmission Lines นางสาวกัญญวิทย์ กลิ่นบารุง KMUTNB หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
  • 2. 1. บอกประเภทและชนิดของสายส่งความถี่สูงได้ 2. อธิบายค่าอิมพีแดนซ์คุณลักษณะของสายส่งได้ 3. เขียนวงจรเทียบเคียงของสายสงได วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม 4. คานวณค่าพารามิเตอร์ความสัมพันธ์ในวงจรสายส่งได้ 5. คานวณหาค่าแรงดัน กระแส และกาลังไฟฟ้าในวงจรสายส่งได้
  • 3. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง สายส่ง (Transmission Line) เป็นตัวกลางส่งถ่ายสัญญาณไฟฟ้าจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุด หนึ่ง โดยสัญญาณไฟฟ้านั้นจะถูกพิจารณาเป็นการส่งถ่ายพลังงานในรูปของแรงดันไฟฟ้า และกระแสไฟฟ้าหรือการแพร่กระจายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าไปตามสายส่งมีคุณสมบัติพิเศษที่ สามารถสร้างอุปกรณ์พาสชีฟ วงจรกรองความถี่ วงจรหม้อแปลง วงจรหารกาลังและ สายอากาศ เป็นต้น  สายส่ง (Transmission Line)
  • 4.  ชนิดของสายส่งความถี่สูง หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
  • 5. , ชนิดของสายส่งความถี่สูง หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
  • 6.  สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation) ในทางปฏิบัติระบบที่มีโครงสร้างเป็นข่ายงานแบบที (T-network) สามารถหา ค่าพารามิเตอร์ Z อย่างง่ายๆ ได้โดยใช้ความสัมพันธ์ดังนี้ ผู้ส่ง/ตัวส่ง (Sender) สายส่ง (Transmission) ผู้รับ/ตัวรับ (Receiver) ส่ง/กาเนิดสัญญาณใน รูปแบบสัญญาณแรงดัน หรือกระแส เช่น เครื่องส่งวิทยุ เครื่องกาเนิดสัญญาณ ปลายทางของ การสื่อสาร หรือ เป็นอุปกรณ์สาหรับรับ ข้อมูล เช่น เครื่องรับวิทยุ ตัวกลางในการส่งพลังงาน หรือสัญญาณไฟฟ้า ใน รูปแบบสัญญาณแรงดันหรือ กระแส หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
  • 7.  สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation) หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง
  • 8.  สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation) หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง พิจารณาหาค่าอิมพีแดนซ์ของสายส่ง (Impedance) ที่ต้นสาย โดยกาหนดให้สายส่ง มีความยาวเข้าสู่อินฟินีตี้แสดงดังรูป ค่าของอิมพีแดนซ์ที่วัดได้นี้ คือ “อิมพีแดนซ์คุณลักษณะ (Characteristic impedance: )”0Z สายส่งที่มีความยาวเข้าสู่อินฟินิตี้ สายส่งที่ถูกต่อเข้ากับโหลด/วงจรเทียบเคียงของสายส่งที่ความยาวอินฟินิตี้
  • 9.  สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation) หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง G 4 L l 4 R C 4 L 4 R 4 R C R G L l 4 L 4 R ( ) ( ) ( ) 0Z 0Z SZ l pY0Z 4 R วงจรเทียบเคียงของสายส่งของชิ้นส่วนความยาว l
  • 11. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง สมการอิมพีแดนซ์คุณลักษณะของสายส่ง  สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation) กรณี 1 สายส่งที่มีการสูญเสีย (Lossy line) จะได้ดังสมการ (1.3) กรณี 2 สายส่งที่ไม่มีการลดทอน (Lossless line) จะมีค่า (1.4) กรณี สายส่งในสุญญากาศ (transmission line in Free space) จะได้ดังสมการ (1.5) ' 0R G  0 ' ' ' ' R j L Z G j C      0 ' ' L Z C  0 0 0 Z    SZ l pY 0Z 0Z l  
  • 12. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง วงจรเทียบเคียงของสายส่งที่มีขนาดความยาวสั้นๆ (dx)  สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation) SZ x pYxV xI xI x x x xV x x I xI xxI xV xxV x x x x
  • 13. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง สมการทั่วไปของสายส่ง  สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation) SZ x pYxV xI xI x x x xV x x I xI xxI xV xxV x x x x สมการทั่วไปของสายส่งสามารถเขียนในฟังก์ชั่น ของแรงดันและของกระแสที่ตาแหน่ง x ของสายส่งจาก สมการดิฟเฟอร์เรนเชียลดังสมการ (1.8) และ (1.9)
  • 14. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง  สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation) จากสมการ (1.11) และ (1.12) พบว่า “สมการเป็น 2nd Order- Voltage และCurrent Wave Equation” นาค่า จากสมการ (1.10) แทนในสมการ (1.9) จะได้ 2 2 2 0 x x d V V dx (1.11)  เมื่อพิจารณา สมการของกระแส จะได้ดังสมการ (1.12) จะได้ 2 2 2 0 x x d I I dx (1.12) กรณีของสายอากาศที่ไม่มีการลดทอน (Loss-free line : ) ( )j L j C j L C j           0 j L L Z j C C         และ ' 0R G 
  • 15. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง  สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation) ตัวอย่างที่ 1.1 สายส่งในระบบการสื่อสารต่อระยะทางมีหน่วยเป็นกิโลเมตร โดยใช้ความถี่ในการส่ง สัญญาณเท่ากับ 1 kHz ซึ่งปลายสายของสายส่งต่อกับโหลดและจ่ายกาลังงานที่ต้นสายเท่ากับ 6 mW กาหนดให้มีค่า และ จงหาอิมพีแดนซ์ ค่าคงที่ของการแพร่กระจาย ความยาวคลื่น ความเร็วของคลื่น ของสายส่งเส้นนี้ 90 / , 1 / ,R km L mH km    0.062C F  1.5 /G S km  0( )Z ( ) ( ) ( )v - พิจารณาหาค่าอิมพีแดนซ์ 0 R j L Z G j C        0( )Z หาค่า ; และR j L  G j C  เมื่อ ; 2 6.283 1000 6.283 /f rad s     90 6283 0.001 90.2 4 /R j L j km        6 6 (1.5 10 ) ( 6283 0.062 10 )G j C j          6 390 10 89.8 /S km    ……… (1) นาค่า ; และ แทนสมการ (1)R j L  G j C  0 6 6 90.2 4 90.2 4 89.8 390 10 89.8 390 10 2 Z           0 481 43Z  
  • 16. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง  สมการของสายส่ง (Transmission Line Equation) ตัวอย่างที่ 1.1 (ต่อ) - ความยาวคลื่นและความเร็วของคลื่น จาก; ( )( )R j L G j C        6 (90.2 4 )(390 10 89.8 ) 0.187 46.9       0.187cos46.9 0.137cos46.9j j      0.128 0.137j  0.128 /Np m  0.137 /rad m และ - ค่าคงที่ของการแพร่กระจาย 2 6.283 45.86 0.137 km       45.86 1000 /V f km s   จากสมการ ; จากสมการ ;
  • 17. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง  คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง คลื่นแรงดันและกระแสในวงจรสายส่ง วงจรสายส่งเมื่อต่อเข้ากับแหล่งจ่ายจะเกิด คลื่นแรงดันตกกระทบ ; ( Vi1 ) และ คลื่นกระแสตกกระทบ ; ( Ii1 ) ขึ้นที่ต้นสาย จากนั้น สะท้อนกลับไปยังแหล่งจ่าย คลื่นแรงดันสะท้อน ; ( Vr2 ) และ คลื่นกระแสสะท้อน ; ( Ir2 )
  • 18. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง  คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง สัมประสิทธิ์การสะท้อนกลับของคลื่น ( ) ............(1.9) ............(1.10) 2 2 2 r i V V   0 2 0 L L Z Z Z Z     22 2 2 max 0 04 gr i VV P P Z Z    2 2 2 2 r i P P   กาลังงานส่งผ่าน 2
  • 19. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง  คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง ตัวอย่างที่ 1.2 สายส่ง (Transmission line) หนึ่งเส้นมีค่าอิมพีแดนซ์คุณลักษณะเท่ากับ 50 โอห์ม โดยต้นสายของสายส่งต่อกับแหล่งกาเนิดสัญญาณไฟฟ้าที่มีแรงดันเท่ากับ 10 V และมีค่าความ ต้านทานภายในเท่ากับ 50 โอห์ม ซึ่งปลายทางของสายส่งต่อกับโหลดมีค่าเท่ากับ 100 โอห์ม จงหาค่าแรงดัน และค่ากระแส ที่ตาแหน่งของโหลด2V 2I - พิจารณาหาค่าแรงดัน ที่ตาแหน่งของโหลด2( )V 2 2 L L V P R  2 L LV P R 2 max 2(1 )LP P  จากสมการ ; , 2 2 max 04 g i V P P Z   2 max 10 0.5 4 50 P W   0 2 0 100 50 0.33 100 50 L L R Z R Z         จากสมการ ; นาค่า และ แทนลงในสมการที่ (2) จะได้ หาค่า ; 2 0.5(1 0.33 ) 0.45LP W   2 0.45 50 67.1L LV P R mV    ……… (1) ……… (2) นาค่า แทนลงในสมการที่ (1) จะได้ จากสมการ ; maxP 2 LP
  • 20. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง  คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง ตัวอย่างที่ 1.2 (ต่อ) - พิจารณาหาค่ากระแส ที่ตาแหน่งของโหลด2( )I จากสมการ ; ค่าแรงดัน และค่ากระแส ที่ตาแหน่งของโหลดมีค่า และ 2 0 10 0.2 50 gV I A Z     2( )I2( )V 67.1 mV 0.2 A
  • 21. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง  คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง อัตราความเร็วของวงจรสายส่ง ( V ) การหาค่าความเร็วของคลื่นแรงดันตกกระทบที่ เคลื่อนที่ผ่านตามระยะความยาวต่างๆ ของสายส่ง 0 0 0 1 1 1 r r C V L C            V f      2 L C        9 7 0 0 0 0 0 1 1 , 10 / , 1, 4 10 / 36 rC F m H m              8 0 7 9 1 3 10 / 1 4 10 10 36 C m s           เมื่อ
  • 22. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง  คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง ตัวอย่างที่ 1.3 สายส่งเส้นหนึ่งมีฉนวนที่มี ใช้งานที่ความถี่เท่ากับ 30 MHz มีความยาวเท่ากับ 10 m จงหาค่าความยาวคลื่นของคลื่นที่ผ่านสายส่งเส้นนี้ 2.4r  v f   8 60 3 10 193.65 10 / 2.4r C V m s       6 6 193.65 10 6.46 30 10 m     ดังนั้น ; จากสมการ ;
  • 23. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง  คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง คลื่นแรงดันและกระแสที่สะท้อนในสายส่ง ในกรณีคลื่นแรงดันตกกระทบเคลื่อนที่จาก ต้นสายมีไปยังปลายสายคลื่นมีความเร็ว(v) คงที่ เนื่องจากค่าของ และ ของสายส่ง มีค่าคงที่ตลอดความยาวของสาย 1 V L C    0 L Z C    0 x r x x t v C   - ความเร็ว (v) -อิมพีแดนซ์คุณลักษณะ -เวลา (t) ในการเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง L C
  • 24. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง  คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง ลักษณะการเคลื่อนที่ของคลื่นในวงจรสายส่ง กรณีที่ 1 ; Matching ประยุกต์ใช้งานใน เครื่องรับเครื่องส่ง จากรูปพบว่า 0g LZ Z Z  ( )in i nV V ( )in i nI I
  • 25. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง  คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง ลักษณะการเคลื่อนที่ของคลื่นในวงจรสายส่ง กรณีที่ 2 ; Generator Matching ประยุกต์ ใช้งานในเครื่องมือวัดย่านความถี่สูง เช่น Network analyzer จากรูปพบว่า ; 0g LZ Z Z  ( ) ( )in i n r nV V V  ( ) ( )in i n r nI I V 
  • 26. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง  คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง ลักษณะการเคลื่อนที่ของคลื่นในวงจรสายส่ง กรณีที่ 3 ; Mismatching เป็นการออกแบบ วงจรที่ไม่เหมาะสม จากรูปพบว่า ; 0g LZ Z Z   ( ) ( ) 1 in i n r n n V V V      ( ) ( ) 1 in i n r n n I I I     in in in V Z I 
  • 27. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง  คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง ตัวอย่างที่ 1.4 สายส่ง (Transmission line) ดังรูป กาหนดให้ สายส่งเส้นนี้มีความยาวเท่ากับ 3 m โดยป้อนแหล่งจ่ายที่มีค่าเท่ากับ 12 V จงคานวณหา ค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนกลับของโหลด และแหล่งจ่ายและค่าแรงดัน,กระแสด้านเข้าของวงจร ค่าอิมพีแดนซ์ด้านเข้าของวงจร พิจารณาหาค่าแรงดัน และกระแส ด้านเข้าของวงจร จากสมการ ; 12V t=0 + _ L g พิจารณาหาค่าสัมประสิทธิ์การสะท้อนกลับของโหลด ( ) และแหล่งจ่าย ( ) 0 0 100 50 1 100 50 3 L L L Z Z Z Z         0 0 10 50 2 10 50 3 g g g Z Z Z Z          ;  ( ) ( ) 0 in i n r n n V V V      ( ) ( ) 1 in i n r n n I I I     จากสมการ ; (1) ( )inV ( )inI จากสมการ ; (2)
  • 28. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง  คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง ตัวอย่างที่ 1.4 (ต่อ) คานวณค่าแรงดัน และกระแส ที่ตกกระทบรอบที่ 2 คานวณหาค่าแรงดัน และกระแส ที่ตกกระทบรอบที่ 3 คานวณค่าแรงดัน และกระแส ที่สะท้อนรอบที่ 2 คานวณหาค่าแรงดัน และกระแส ที่สะท้อนรอบที่ 3( ) 2( )i nV ( ) 2( )i nI ( ) 3( )i nV ( ) 3( )i nI ( ) 2( )r nV ( ) 2( )r nI ( ) 3( )r nV ( ) 3( )r nI ( ) 2 1 2 ( ) .( ) 3.33 2.22 3 i n g inV V V V        2 ( ) 2 0 ( ) 2.22 ( ) 44.4 50 in i n V V I mA Z        ( ) 2 ( ) 2 1 ( ) .( ) ( 2.22 ) 0.74 3 r n L i nV V V V       ( ) 2 ( ) 2 0 ( ) 0.74 ( ) 14.8 50 r n r n V V I mA Z       คานวณค่าแรงดัน และกระแส ที่ตกกระทบรอบที่ 1( ) 1( )i nV ( ) 1( )i nI 0 ( ) 1 0 50 ( ) . 12 10 10 50 i n g g Z V V V Z Z       คานวณค่าแรงดัน และกระแส ที่ สะท้อน รอบที่ 1( ) 1( )r nV ( ) 1( )r nI ( ) 1 ( ) 1 0 ( ) 10 ( ) 200 50 i n i n V V I mA Z     ( ) 1 ( ) 1 1 ( ) .( ) 10 3.33 3 r n L i nV V V V     ( ) 1 ( ) 1 0 ( ) 3.33 ( ) 66.6 50 r n r n V V I mA Z     ( ) 3 ( ) 2 2 ( ) .( ) ( 0.74 ) 0.5 3 i n g r nV V V V       ( ) 3 ( ) 3 0 ( ) 0.5 ( ) 10 50 i n i n V V I mA Z     ( ) 3 ( ) 3 1 ( ) .( ) 0.5 0.167 3 r n L i nV V V V     ( ) 3 ( ) 3 0 ( ) 0.167 ( ) 3.33 50 r n r n V V I mA Z    
  • 29. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง  คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง ตัวอย่างที่ 1.4 (ต่อ) ลักษณะการเคลื่อนที่ของคลื่นแรงดันในวงจรสายส่ง ลักษณะการเคลื่อนที่ของคลื่นกระแสในวงจรสายส่ง
  • 30. หน่วยที่ 1 พื้นฐานของวงจรสายส่งความถี่สูง  คลื่นแรงดัน กระแสและกาลังไฟฟ้าของสายส่ง ตัวอย่างที่ 1.4 (ต่อ) พิจารณาหาค่าอิมพีแดนซ์ ด้านเข้าของวงจร 11.037 100 110.47 in in in V V Z I mA     นาค่า ในสมการที่ (1)  ( ) ( ) 0 in i n r n n V V V     (10 3.33) ( 2.22 0.74) (0.5 0.167) 11.037inV V        นาค่า ในสมการที่ (2) (200 66.6) ( 44.4 ( 14.8)) (10 3.33) 110.47 inI mA          ( )inZ