SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
ในการนำาระบบสารสนเทศ
มาประยุกต์ใช้เพื่อใช้ในการวางแผน
การบริหารจัดการภายในองค์กร ระบบ
สารสนเทศที่นำามาใช้ในแต่ละระดับจะ
แตกต่างกัน จึงมีการจัดเตรียม
สารสนเทศเพื่อให้สอดคล้องกับความ
ต้องการในการใช้งานในแต่ละระดับของ
องค์กรการจัดโครงสร้างของระบบ
สารสนเทศ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 อย่าง
คือ การจัดโครงสร้างของระบบ
สารสนเทศโดยแบ่งตามการใช้
สารสนเทศ และแบ่งตามกิจกรรม เพื่อ
 การจัดโครงสร้างของระบบสารสนเทศมี
ลักษณะคล้ายรูป ปิรามิด โดยมีฐานกว้าง
และแคบขึ้นไปบรรจบกันเป็นมุมแหลมซึ่ง
หมายถึง แต่ละระดับต้องการใช้
สารสนเทศที่แตกต่างกันนอกจากการใช้
สารสนเทศจะแตกต่างกันแล้วกิจกรรมใน
แต่ละระดับก็แตกต่างกันด้วย แต่
โครงสร้างของระบบสารสนเทศมีลักษณะ
คล้ายรูปปิรามิดเหมือนกัน
สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลรายการ
เป็นการบอกถึงสถานะของสารสนเทศโดย
การใช้คอมพิวเตอร์ทำาการประมวลผล
รายการเพื่อให้ได้สารสนเทศตามต้องการ
ลักษณะงานเป็นงานประจำาที่ต้องทำาซำ้าๆ
เกี่ยว ข้องกับข้อมูลรายการ (transaction
data)
ผู้ใช้ในระดับนี้จะทำาหน้าที่เกี่ยวกับการ
ประมวลผลข้อมูล การป้อนข้อมูลนำาเข้า
การสร้างระบบและการใช้ประโยชน์จาก
ระบบงานสารสนเทศ ที่มีผู้ใช้หลายคน ซึ่ง
ผู้ใช้สามารถป้อนข้อมูลเข้าได้โดยตรงและ
ได้ผลของรายงานออกมาทันที เช่น ระบบ
ปฏิบัติงาน ตัดสินใจและควบคุม เป็น
สารสนเทศที่ละเอียด มีความถูกต้อง ใช้
สารสนเทศเพื่อช่วยสนับสนุนการดำาเนิน
งานประจำาวัน สารสนเทศในระดับนี้จะ
เป็นผู้บริหารระดับปฏิบัติงานหรือผู้
บริหาร ผู้บริหารกลุ่มนี้จะใช้สารสน เทศ
เพื่อควบคุมการปฏิบัติงานให้มี
ประสิทธิภาพ เช่น สารสนเทศที่เกี่ยวกับ
การผลิตของโรงงานอุตสาหกรรมและ
การควบคุมคุณภาพสิน ค้า ที่ได้จาก
กระบวนการผลิต ตัวอย่างเช่น หัวหน้า
แผนกขายต้องการทราบว่าพนักงานคน
ระดับที่2 สารสนเทศสำาหรับวางแผนการ
ปฏิบัติงานตัดสินใจและควบคุม
ตารางที่ 5.1 สรุปยอดขายสินค้าในช่วง
3 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2549
จากตารางที่ 5.1 แสดงให้
เห็นยอดขายสินค้าแต่ละชนิดของ
พนักงานแต่ละคน และแสดงให้เห็น
ว่าพนักงานที่ขายสินค้าได้มากที่สุด
คือสมชายและพนักงานที่ขายสินค้า
ได้น้อยที่สุดคือประสิทธิ์ ผู้ บริหาร
ระดับนี้มักต้องการสารสนเทศอย่าง
ละเอียดซึ่งเป็นสารสน เทศภายใน
ระบบเพื่อใช้ในการวางแผน การ
ดำาเนินการ เช่น งานบางแผนก
ตารางที่ 5.1 สรุปยอดขายสินค้าในช่วง
3 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2549
สารสนเทศสำาหรับวางแผนยุทธวิธีและ
การตัดสินใจ ใช้สำาหรับการตัดสินใจ
และวางแผนระยะสั้น ผู้ใช้สารสนเทศใน
ระดับนี้จะเป็นผู้บริหารระดับกลางได้แก่
ผู้จัดการ หัวหน้าฝ่าย ผู้เชี่ยวชาญ
เฉพาะด้าน เป็นต้น สารสนเทศจะถูกนำา
ไปใช้ในการวางแผนตั้งแต่ 6 เดือนถึง 1
ปี สารสนเทศนี้ใช้เพื่อสนับสนุนนโยบาย
ที่กำาหนดไว้ในระดับสูงเพื่อให้บรรลุเป้า
หมาย หรือเป็นสารสนเทศที่ต้องการเป็น
ครั้งคราวขึ้นอยู่กับโอกาส เช่น ผู้จัดการ
ฝ่ายขายต้องการสารสนเทศที่เป็น
รายงานสรุปยอดรวมของการขายสินค้า
ในแต่ละภาค (ดังตารางที่ 5.2)
สารสนเทศสำาหรับวางแผนยุทธวิธีและการตัดส
5.2 สรุปยอดขายสินค้าของแต่ละภาคในช่วง 3
ศ. 2549
การแสดงผลสรุปยอดขายสินค้าของ
แต่ละภาคอาจนำาเสนอเป็นกราฟวงกลม
ซึ่งจะดูง่ายกว่าแสดงเป็นตาราง (ดังภาพ
สรุปยอดขายสินค้าของแต่ละภาค
ตะวันออก
29%
ใต้
16%
ตะวันตก
33%
เหนือ
22% ตะวันออก
ใต้
ตะวันตก
เหนือ
ภาพที่ 5.2 ผลสรุปยอดขายสินค้าของแต่ละภาค
ระดับที่ 4 สารสนเทศสำาหรับการวางแผน
กลยุทธ์ นโยบายและตัดสินใจ
เป็นสารสนเทศที่สรุป มีรายละเอียด
น้อย ใช้สำาหรับการตัดสินใจและการ
วางแผนระยะยาว ผู้ใช้สารสนเทศใน
ระดับนี้จะเป็นผู้บริหารระดับสูง ได้แก่
ประธานบริษัท ผู้จัดการใหญ่ ผู้บริหาร
ระดับนี้ต้องการระบบสารสนเทศที่ใช้
สนับสนุนการวางแผนกลยุทธ์ ต้องเป็น
สารสนเทศที่เกี่ยวข้องกับเรื่องที่คาด
การณ์ไว้ในอนาคต นอกจากนั้นจะใช้
สารสนเทศที่ได้มาจากภายนอกองค์กร
ถึงแม้ว่าระบบสารสนเทศจะไม่สามารถ
ใช้สนับสนุนการวางแผนกลยุทธ์ได้
โดยตรงแต่ก็สามารถช่วยเป็นส่วนหนึ่งใน
การตัดสินใจ ระบบสารสนเทศในระดับนี้
เป็นรายงานสรุปในลักษณะที่นำาไปใช้ใน
การคาดคะเน รายงานการวิเคราะห์ “ถ้า
อะไร” (“ What if” report) ผู้บริหาร
อาจต้องการสารสนเทศจากทั้งภายในและ
ภายนอกองค์กร
ระดับที่ 4 สารสนเทศสำาหรับการวางแผน
กลยุทธ์ นโยบายและตัดสินใจ
หรือการวิเคราะห์แนวโน้ม (trend
analysis) เช่น ประธานบริษัทอาจขอ
รายงานที่แสดงแนวโน้มของการขาย
สินค้าทั้งหมดในอีก 4 ปีข้างหน้า เพื่อ
ดูแนวโน้มในการเติบโตของสินค้าต่างๆ
ของสินค้าชนิดใดมีแนวโน้มการขาย
เป็นอย่างไรและผลสรุปยอดรวมของ
การขายสินค้าทั้งหมด (ดังตารางที่ 5.3)
ระดับที่ 4 สารสนเทศสำาหรับการวางแผน
กลยุทธ์ นโยบายและตัดสินใจ
ในการแสดงแนวโน้มอาจแสดงด้วย
รูปกราฟแท่ง จะทำาให้ดูง่ายกว่าแสดงด้วย
ตาราง (ดังภาพที่ 5.3)
254
9
255
0
255
1
255
2
แนวโน้มของการขายสินค้าในช่วงปี
พ.ศ. 2549-2552
0
2,000,000
4,000,000
6,000,000
8,000,000
1 2 3 4 5
สินค้า A
สินค้า B
สินค้า C
สินค้า D
โน้มของการขายสินค้าในช่วงปี พ.ศ. 2549 –
แนวโน้มของการขายสินค้าในช่วงปี พ.ศ. 25
เห็นแนวโน้มของการขายสินค้าได้อย่าง
ชัดเจน ผู้บริหารระดับสูงจะไม่ใช้
สารสนเทศในการลงความเห็นเลยทีเดียว
เพราะในการประกอบธุรกิจจะต้อง
เกี่ยวข้องกับปัจจัยภายในและปัจจัย
ภายนอกองค์กร ผู้บริหารในแต่ละระดับมี
ความต้องการสารสนเทศต่างกัน ผู้บริหาร
ระดับต้นต้องการสารสนเทศที่ละเอียดเพื่อ
ใช้ในการพัฒนางานแต่ผู้บริหารระดับสูง
ต้องการสารสนเทศสรุปเพื่อใช้ในการ
วิเคราะห์แนวโน้ม สารสนเทศจึงจัดเป็นสิ่ง
ที่จำาเป็นสำาหรับผู้บริหาร โดยผู้บริหารจะ
ใช้สารสนเทศเป็นทรัพยากรสำาคัญในการ
นอกจากจะแบ่งโครงสร้างของระบบ
สารสนเทศออกเป็นระดับตามการใช้
สารสนเทศแล้ว ยังสามารถแบ่งโครงสร้าง
ของระบบสารสนเทศตามกิจกรรมของ
หน่วยงานออกเป็น 4 ระดับ คือ (ดังภาพที่
5.4)
ภาพที่ 5.4 โครงสร้างของระบบสารสนเทศแบ่งตามกิจก
ระดับที่ 1. การประมวลผลรายการ
(Transaction Processing)
เป็นการเตรียมสารสนเทศเพื่อจัดทำา
รายงาน จะต้องมีการเก็บรวบรวมข้อมูล
และป้อนข้อมูลเพื่อทำาการประมวลผล
รายการจากข้อมูลรายการในลักษณะ
รายการที่ทำาซำ้า ๆ
ระดับที่ 2. การวางแผนด้านการปฏิบัติ
งาน (Operational Planning)
เป็นการเตรียมสารสนเทศเพื่อใช้
ในการวางแผนรายละเอียดที่เกี่ยวข้อง
กับการปฏิบัติงานประจำาวัน ควบคุมการ
ปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพภายใต้
ระดับที่ 3. การวางแผนยุทธวิธี
(Tactical Planning)
เป็นการเตรียมสารสนเทศเพื่อใช้ใน
การวางแผนระยะสั้นเพื่อการกำาหนดวิธีการ
จัดหาทรัพยากร การยัดโครงสร้างการ
ทำางานให้เป็นระบบ วางแผนอัตรากำาลัง
ในช่วงระยะสั้นเพื่อให้สอดคล้องกับการ
วางแผนกลยุทธ์
ระดับที่ 4. การวางแผนกลยุทธ์
(Strategic Planning)
เป็นการเตรียมสารสนเทศเพื่อใช้ใน
การวางแผนระยะยาว วางกลยุทธ์ทางการ
ตลาด กำาหนดเป้าหมาย นโยบายและ
แนวทางทั่ว ๆ ไปที่แสดงถึงเป้าหมายโดย
รวมขององค์กร
หรือองค์กรต่างๆ ยังแบ่งออกเป็นระบบ
งานย่อย ๆ ดังนั้นในการจัดทำาระบบ
สารสนเทศที่สมบูรณ์จะต้องประกอบ
ด้วยระบบสารสนเทศย่อยๆ ที่สอดคล้อง
กับความต้องการทุกระดับในระบบงาน
ย่อย ๆ นั้น (ดังภาพที่ 5.5)
ฝ่าย
บุคคล
ฝ่าย
ผลิต
ฝ่าย
ขาย
ฝ่าย
บัญชี
สารสนเทศแบ่งตาม
กิจกรรมการวางแผน
กลยุทธ์
( Strategic
Planning )
การวางแผนด้าน
ยุทธวิธี
( Tactical
Planning )
การวางแผนด้านการ
ปฏิบัติงาน
( Operational
Planning )
การประมวลผล
รายการ
( Tramsacttion
Processing )
5.5 โครงสร้างของระบบสารสนเทศในระบบ
ย่อยต่างๆ ขององค์กรสัมพันธ์กับระบบ
สารสนเทศที่แยกตามกิจกรรมด้วย การ
ที่ระบบงานย่อยจะทำางานผสมผสานกัน
ได้นั้น จะต้องมีฐานข้อมูลเป็นตัวกลาง
เชื่อมโยงกับระบบงานย่อยต่างๆ ฐาน
ข้อมูลเป็นศูนย์กลางข้อมูลที่ได้มีการจัด
เก็บรวบรวมไว้เป็นหมวดหมู่เพื่อใช้ใน
การประมวลผล
ระบบสารสนเทศของระบบงานย่อย
ต่าง ๆจะถูกจัดเป็นแฟ้มข้อมูล โดยแฟ้ม
ข้อมูลเหล่านี้จะถูกสร้างไว้เป็นฐานข้อมูล
ภายใต้การควบคุมของระบบการจัดการ
ฐานข้อมูล (database management
system) โครงสร้างของระบบ
สารสนเทศที่เชื่อมโยงด้วยฐานข้อมูลจะมี
ระบบการจัดการฐานข้อมูลเป็นตัวจัดการ
ฝ่าย
บุคคล
ฝ่าย
ผลิต
ฝ่าย
ขาย
ฝ่าย
บัญชี
สารสนเทศแบ่งตาม
กิจกรรมการวางแผน
กลยุทธ์
( Strategic
Planning )
การวางแผนด้าน
ยุทธวิธี
( Tactical
Planning )
การวางแผนด้านการ
ปฏิบัติงาน
( Operational
Planning )
การประมวลผล
รายการ
( Tramsacttion
Processing )
ระบบการจัดการฐานข้อมูล
ฐานข้อมูล
จากการแบ่งโครงสร้างของระบบ
สารสนเทศตามกิจกรรมของหน่วยงาน
สามารถแบ่งสารสนเทศออกเป็น 3
ประเภท คือ
โครงสร้างของระบบสารสนเทศที่เชื่อมโยงด้ว
ทที่ 1. สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลราย
รายการ (Transaction) หมายถึงการ
ดำาเนินการในกิจกรรมหนึ่งๆ ซึ่งเป็นงาน
ประจำา เป็นงานที่ทำาบ่อย ๆ ภายในองค์กร
โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อ
1.1 กำาหนดรายการที่จะต้องนำา
เข้า(Input transaction) เพื่อนำาข้อมูล
ป้อนเข้าเครื่อง เช่น การจัดซื้อหรือขาย
สินค้า การส่งรายการผลิตสินค้า
คะแนนของนักศึกษา การสั่งจองตั๋ว
เครื่องบิน เป็นต้น
1.2 การแสดงผลรายงาน (Output
transaction) เป็นผลที่ได้จากากรประมวล
ผลซึ่งส่วนใหญ่ผลลัพธ์จะแสดงออกในรูป
ของรายงาน เช่นใบส่งของ ใบสั่งสินค้า
ใบเสร็จรับเงิน ใบเกรดนักศึกษา ตั๋วเครื่อง
1.3 การติดต่อสื่อสารระหว่างรายการ
หนึ่งกับรายการอื่น ๆ ที่ต้องการผลของ
รายงานเป็นสารสนเทศที่จะนำาไปใช้ต่อไป
รูปแบบของรายงานของระบบสารสนเทศ
อาจเป็นแบบต่าง ๆ ดังนี้
1. รายงานที่แสดงออกทางหน้าจอ
คอมพิวเตอร์
2. รายงานที่ได้กำาหนดรูปแบบไว้แล้ว
ล่วงหน้า
3. การถาม – ตอบ ที่ได้กำาหนดไว้ล่วง
หน้า
4. การถาม – ตอบ โดยไม่ได้กำาหนดไว้
ล่วงหน้าเป็นการถามตอบตามความ
ทที่ 1. สารสนเทศที่ได้จากการประมวลผลราย
ทที่ 2 สารสนเทศเพื่อการดำาเนินการ
เป็นสารสนเทศซึ่งส่วนใหญ่จะ
แสดงออกในรูปแบบของรายงานแบบต่าง ๆ
เป็นรายสัปดาห์ รายเดือนหรือรายปี เช่น2.1 รายงานที่แสดงรายละเอียดของ
งาน (Detail report) ซึ่งเป็นประโยชน์กับ
ผู้บริหารระดับต้นในการควบคุมการปฏิบัติ
งาน 2.2 รายงานสรุป (Summary report)
ซึ่งเป็นประโยชน์กับผู้บริหารระดับสูงใน
การวางแผนระยะยาว2.3 รายงานยกเว้น (Exception
report) เช่น รายงานที่เกี่ยวกับงานที่ไม่
เป็นไปตามปกติ เช่น การประท้วงการขึ้น
ค่าแรง ปัญหาเฉพาะหน้า ภาวการณ์
ขาดทุนเป็นต้น
ที่ 3 สารสนเทศเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ
เป็นสารสนเทศที่มักจะไม่
แสดงออกในรูปของรายงานแต่จะ
เป็นสารสนเทศที่ใช้ในการสนับสนุน
การตัดสินใจ ซึ่งผู้บริหารแต่ละระดับ
จะมีลักษณะและวิธีการตัดสินใจโดย
เฉพาะขึ้นอยู่กับสารสนเทศที่จะนำาไป
ใช้ในการสนับสนุนการตัดสินใจ
หลเวียนของสารสนเทศ (Information
ในระดับต่าง ๆ ขององค์กรจะทำา
หน้าที่แตกต่างกัน และในระดับเดียวกัน
ก็จะประกอบด้วยงานย่อยต่าง ๆ ซึ่ง
ประกอบด้วยสารสนเทศย่อย ๆ ที่
สอดคล้องกับลักษณะงานข้อมูลต่าง ๆ ใน
องค์กรจะถูกรวบรวมสร้างเป็นฐานข้อมูล
เพื่อให้ทั้งองค์กรสามารถใช้ข้อมูลร่วม
กันได้และมีการไหลเวียนของสารสนเทศ
ในทุกระดับขององค์กรโดยสารสนเทศจะ
ถูกรวบรวม ถ่ายโอนไปยังระบบงานต่าง
ๆ เพื่อให้การดำาเนินงานบรรลุเป้าหมาย
และเกิดประโยชน์สูงสุดแก่องค์กร
ภาพที่ 5.7 การไหลเวียนของ
สารสนเทศ

More Related Content

What's hot

เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39
เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39
เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39Thamonwan Phasopbuchatham
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการPrakaywan Tumsangwan
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISsiriporn pongvinyoo
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลWanphen Wirojcharoenwong
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2Wareerut Suwannalop
 
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs Min Kannita
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจFluke Ggo
 
ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ
ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ
ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศchatjen17
 
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลบทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลWanphen Wirojcharoenwong
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารPrakaywan Tumsangwan
 

What's hot (16)

เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39
เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39
เทคโนโลยีสารสนเทศ Work3-39
 
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการบทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
บทที่ 2 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
 
การจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูลการจัดการข้อมูล
การจัดการข้อมูล
 
Gis
GisGis
Gis
 
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง5 1 18 ดวงแข     ผิวทอง
5 1 18 ดวงแข ผิวทอง
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
ระบบจัดทำรายงานเพื่อการจัดการ Mrs
 
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
สารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
ทบทวนความรู้เดิม
ทบทวนความรู้เดิมทบทวนความรู้เดิม
ทบทวนความรู้เดิม
 
ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ
ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ
ความหมายและลักษณะของระบบสารสนเทศ
 
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศองค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
องค์ประกอบของระบบสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 11
ใบความรู้ที่ 11ใบความรู้ที่ 11
ใบความรู้ที่ 11
 
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูลบทที่ 2 การจัดการข้อมูล
บทที่ 2 การจัดการข้อมูล
 
Mis 1
Mis 1Mis 1
Mis 1
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
 

Similar to Chapter3

ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายSassygirl Sassyboy
 
ความหมายของระบบสารสนเทศ.Docx
ความหมายของระบบสารสนเทศ.Docxความหมายของระบบสารสนเทศ.Docx
ความหมายของระบบสารสนเทศ.DocxAhc Heinn
 
ความหมายของระบบสารสนเทศ
ความหมายของระบบสารสนเทศความหมายของระบบสารสนเทศ
ความหมายของระบบสารสนเทศchayatorn sarathana
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลchanoot29
 
งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์Chayanee Khruewan
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์ orathai
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศsiriyapa
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1nutty_npk
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]orathai
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลYongyut Nintakan
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศTippathai Infinity
 

Similar to Chapter3 (20)

ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่ายระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
ระบบสารสนเทศและระบบเครือข่าย
 
ความหมายของระบบสารสนเทศ.Docx
ความหมายของระบบสารสนเทศ.Docxความหมายของระบบสารสนเทศ.Docx
ความหมายของระบบสารสนเทศ.Docx
 
ความหมายของระบบสารสนเทศ
ความหมายของระบบสารสนเทศความหมายของระบบสารสนเทศ
ความหมายของระบบสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
Sallai pro
Sallai proSallai pro
Sallai pro
 
งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
งานคอมบทที่ 2 การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
 
อรณี มารดาวงค์
อรณี  มารดาวงค์ อรณี  มารดาวงค์
อรณี มารดาวงค์
 
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
อรนุช พรฤทธา ม.201 เลขที่25
 
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20ณัฐชา ม.201 เลขที่20
ณัฐชา ม.201 เลขที่20
 
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น วรกานต์ ต๋าตุ๋น
วรกานต์ ต๋าตุ๋น
 
ระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศระบบสารสนเทศ
ระบบสารสนเทศ
 
Project Sky
Project SkyProject Sky
Project Sky
 
ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1ใบงานที่ 1
ใบงานที่ 1
 
ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]ระบบสารสน..[1]
ระบบสารสน..[1]
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
การจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูลการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการฐานข้อมูล
 
ระบบสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจระบบสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
ระบบสารสนเทศเพื่อประกอบการตัดสินใจ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 
38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ38210679 ระบบสารสนเทศ
38210679 ระบบสารสนเทศ
 

Chapter3