SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 โครงสร้างข้อมูล
- เป็นวิธีจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถนำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ - การใช้งานโครงสร้างข้อมูล ต้องมีขั้นตอนวิธีที่เหมาะสม จึงจะสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ- การออกแบบโครงสร้างข้อมูลที่ดีจะช่วยลดเวลาในการกระทำการและลดการใช้งานในพื้นที่ความจำด้วย
ชนิดของโครงสร้างข้อมูล 	1.โครงสร้างข้อมูลเบื้องต้น (Primitive Data Structure) เป็นชนิดข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้างข้อมูลอื่นมาเป็นส่วนประกอย เมื่อต้องการเก็บค่าสามารถเรียกใช้งานได้ทันที บางครั้งเรียกว่าชนิดข้อมูลพื้นฐาน(Base Type)หรือสร้างมาให้ใช้ด้วยภาษานั้นๆ 	ส่วนโครงสร้างข้อมูลแบบอื่น ๆ จะมีโครงสร้างข้อมูลอื่นเป็นส่วนประกอบ เมื่อต้องการใช้จะต้องกำหนดรูปแบบรายละเอียดโครงสร้างขึ้นมาก่อนเรียกว่าข้อมูลชนิดผู้ใช้กำหนด (Uses-definedType)ดังนี้
                1. โครงสร้างข้อมูลแบบเรียบง่าย (Simple Data Structure) จะมีสมาชิกที่เป็นโครงสร้างข้อมูลอื่นเป็นส่วนประกอบมีรูปแบบง่ายๆไม่ซับซ้อนสามารถทำความเข้าใจและสร้างขึ้นมาใช้งานได้ง่าย                 2.โครงสร้างข้อมูลเชิงเส้น (Linear Data Structure) เป็นโครงสร้างที่ความซับซ้อนมากขึ้น ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นโครงสร้างข้อมูลอื่นจัดเรียงต่อกันเป็นแนวเส้น             	3.โครงสร้างข้อมูลไม่เป็นเชิงเส้น (Nonlinear Data Structure) เป็นโครงสร้างที่มีความซับซ้อนเช่นกัน ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นโครงสร้างข้อมูลอื่นจัดเรียงกันในรูปแบบไบนารี่ที่จัดเรียงสมาชิกมีการแยกออกเป็นสองทาง และแบบ N- อาร์เรย์ ที่จัดเรียงสมาชิกมีการแยกออกได้หลายทางหลายรูปแบบไม่แน่นอน
4.โครงสร้างการจัดการแฟ้มข้อมูล (FileOrganization) เป็นโครงสร้างสำหรับนำข้อมูลเก็บไว้ในหน่วยความจำสำรองโดยข้อมูลจะอยู่ในรูปแบบโครงสร้างข้อมูลอื่นและมีวิธีการจัดการโดยการนำโครงสร้างข้อมูลอื่นๆมาช่วย โครงสร้างข้อมูลต่างๆที่กล่าวมาอาจต้องมีการควบคุมการทำงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลและส่วนที่มาเกี่ยวข้องให้เป็นไปตามที่ต้องการเรียกว่า โครงสร้างข้อมูลนามธรรม ลักษณะโครงสร้างจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนข้อมูลและส่วนปฏิบัติการ โดนภายในจะมีรายลเอียดการทำงานต่าง ๆ ประกอบด้วยโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลและอัลกอริทึมเมื่อใดที่เรียกใช้งานโครงสร้างนามธรรมในส่วนรายละเอียดการทำงานจะไม่ถูกเกี่ยวข้องหรือมีผลกระทบโดยถูกปิดบังไว้จะเห็นว่าโครงสร้างข้อมูลซับซ้อนจะเป็นโครงสร้างข้อมูลนามธรรมที่ต้องมีส่วนการจัดเก็บข้อมูลและส่วนปฏิบัติการ
ลักษณะของข้อมูล ข้อมูลที่มีความถูกต้องและเชื่อถือได้ (accuracy) ข้อมูลจะมีความถูกต้องและเชื่อถืได้มากน้อยเพียงใดนั้น ขึ้นกับวิธีการที่ใช้ในการควบคุมข้อมูลนำเข้า และการควบคุมการประมวลผลการควบคุมข้อมูลนำเข้าเป็นการกระทำเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าข้อมูลนำเข้ามีความถูกต้องเชื่อถือได้ เพราะถ้าข้อมูลนำเข้าไม่มีความถูกต้องแล้วถึงแม้จะใช้วิธีการวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลที่ดีเพียงใด ผลลัพธ์ที่ได้ก็จะไม่มีความถูกต้อง หรือนำไปใช้ไม่ได้ ข้อมูลนำเข้าจะต้องเป็นข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบว่าถูกต้องแล้ว ข้อมูลบางอย่างอาจต้องแปลงให้อยู่ในรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้อย่างถูกต้อง ซึ่งอาจต้องพิมพ์ข้อมูลมาตรวจเช็คด้วยมือก่อน การประมวลผลถึงแม้ว่าจะมีการตรวจสอบข้อมูลนำเข้าแล้วก็ตาม ก็อาจทำให้ได้ข้อมูลที่ผิดพลาดได้ เช่น เกิดจากการเขียนโปรแกรมหรือใช้สูตรคำนวณผิดพลาดได้ ดังนั้นจึงควรกำหนดวิธีการควบคุมการประมวลผลซึ่งได้แก่ การตรวจเช็คยอดรวมที่ได้จากการประมวลผลแต่ละครั้ง หรือการตรวจสอบผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์กับข้อมูลสมมติที่มีการคำนวณด้วยว่ามีความถูกต้องตรงกันหรือไม่
ข้อมูลตรงตามความต้องการของผู้ใช้ (relevancy) ได้แก่ การเก็บเฉพาะข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการเท่านั้น ไม่ควร เก็บข้อมูลอื่น ๆ ที่ไม่จำเป็นหรือไม่เกี่ยวข้องกับการใช้งาน เพราะจะทำให้เสียเวลาและเสียเนื้อที่ในหน่วยเก็บข้อมูล แต่ทั้งนี้ข้อมูลที่เก็บจะต้องมีความครบถ้วนสมบูรณ์ด้วย	 ข้อมูลมีความทันสมัย (timeliness) ข้อมูลที่ดีนั้นนอกจากจะเป็นข้อมูลที่มีความถูกต้องเชื่อถือได้แล้วจะ ต้องเป็นข้อมูลที่ทันสมัย ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ใช้สามารถนำเอาผลลัพธ์ที่ได้ไปใช้ได้ทันเวลา นั่นคือจะต้องเก็บข้อมูลได้รวดเร็วเพื่อทันความต้องการของผู้ใช้
การเรียงลำดับข้อมูล
การค้นหาข้อมูล 	ปัจจุบันนี้เสิร์ชเอ็นจิ้น (search engine) กลายมาเป็นสิ่งจำเป็น สำหรับการท่องโลกอินเตอร์เนต เพราะหากไม่มีบริการช่วยค้นหาข้อมูลเหล่านี้เราต้องใช้เวลานับหลายชั่วโมง หรือเป็นวันที่จะค้นหาข้อมูล ที่เราต้องการ จะใช้งานครบซึ่งเสิร์ชเอ็นจิ้น ก็มีมากมาย หลายเจ้า ให้เราได้เลือกใช้งานกันซึ่งแต่ละเจ้าก็มีวิธีการที่ใช้ค้นหาาข้อมูลที่แตกต่างกัน เราสามารถแบ่ง เว็บไซต์ ที่ให้บริการค้นหาข้อมูลออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภท ได้แก่การบริการค้นหาโดยใช้ อินเด็กซ์ (index)การบริการค้นหา ข้อมูลตามหมวดหมู่ (directory)
การค้นหาโดยใช้อินเด็กซ์เราคง เคยได้ยินชื่อ เสิร์ช เอ็นจิ้น อย่าง อัลตาวิสต้า (AltaVista/www.altavista.digital.com) และฮ็อทบ็อท (HotBot/www.hotbot.com) ทั้งสอง เป็นตัวอย่างของเสิร์ช เอ็นจิ้นนี้ หลักการคือ เขาจะมีโปรแกรมตัวหนึ่ง เป็นตัวสแกน ไปตามเว็บไซต์ต่าง ๆ เรียกว่า โปรแกรม สไปเดอร์ การค้นหา ข้อมูลโดยใช้ อินเด็กซ์ การค้นหาตามหมวดหมู่ เสิร์ช เอ็นจิ้น ชื่อดังอีก 2 ตัว ได้แก่ ยาฮู (Yahoo!/www.yahoo.com)และแมกเจลแลน (Magellan/www.magellan.com) เลือกใช้เทคนิคนี้ โดยใช้มนุษย์ เป็นคนจัดหมวดหมู่ ของเว็บไซต์ และคอย ปรับปรุงให้ขอมูล ทันสมัยอยู่เสมอ เนื่องจากบัญชี รายชื่อเว็บไซต์ ได้ผ่านการจัด หมวดหมู่โดยมนุษย์ ดังนั้น ในรายชื่อก็จะมี รายละเอียด คร่าว ๆ เกี่ยวกับเว็บไซต์ ที่เพิ่มเติม ลงไป ข้อของการค้นหาแบบนี้คือ จะสามารถตีกรอบผลลัพธ์ ออกมาตรง กับความ ต้องการ มากขึ้น เช่น เราลองใส่คำว่า "Spider" ในยาฮู! ค้นหาดู เราจะได้รายการของ หมวดหมู่ออกมา

More Related Content

Viewers also liked (20)

TYPmx
TYPmxTYPmx
TYPmx
 
Resultados gestion-2010
Resultados gestion-2010Resultados gestion-2010
Resultados gestion-2010
 
Limas segitga
Limas segitgaLimas segitga
Limas segitga
 
Question 4,5 Evaluation
Question 4,5 EvaluationQuestion 4,5 Evaluation
Question 4,5 Evaluation
 
Portada separacion
Portada separacionPortada separacion
Portada separacion
 
Śniadanie Daje Moc
Śniadanie Daje MocŚniadanie Daje Moc
Śniadanie Daje Moc
 
Bereta diesel blog
Bereta diesel blogBereta diesel blog
Bereta diesel blog
 
Youtube
YoutubeYoutube
Youtube
 
Personalidades ilustres de la informática paola sepet
Personalidades ilustres de la informática paola sepetPersonalidades ilustres de la informática paola sepet
Personalidades ilustres de la informática paola sepet
 
5 personalidades de la informática
5 personalidades de la informática5 personalidades de la informática
5 personalidades de la informática
 
Red
RedRed
Red
 
Trabajo practico nº12 parte 3
Trabajo practico nº12 parte 3Trabajo practico nº12 parte 3
Trabajo practico nº12 parte 3
 
Articulo de la investigacion
Articulo de la investigacionArticulo de la investigacion
Articulo de la investigacion
 
Rev.3.2
Rev.3.2Rev.3.2
Rev.3.2
 
Taller matematicas
Taller matematicasTaller matematicas
Taller matematicas
 
3trabajos a revisar
3trabajos a revisar3trabajos a revisar
3trabajos a revisar
 
Detecta a tiempo
Detecta a tiempo Detecta a tiempo
Detecta a tiempo
 
Bank on traffic prezentacja
Bank on traffic prezentacjaBank on traffic prezentacja
Bank on traffic prezentacja
 
8
88
8
 
Seda y Abrazaras el viento
Seda y Abrazaras el vientoSeda y Abrazaras el viento
Seda y Abrazaras el viento
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 2

บทที่1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่1 ความรู้พื้นฐานบทที่1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่1 ความรู้พื้นฐาน
tapabnum
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
chanoot29
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
สุจิตรา แสงเรือง
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
สุจิตรา แสงเรือง
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
hattayagif
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
Prakaywan Tumsangwan
 
งานคอม หน่วยที่1
งานคอม หน่วยที่1งานคอม หน่วยที่1
งานคอม หน่วยที่1
Ruttikan Munkhan
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
Thanat Suriyawong
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
Mareeyalosocity
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Why'o Manlika
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Why'o Manlika
 

Similar to หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 (20)

บทที่1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่1 ความรู้พื้นฐานบทที่1 ความรู้พื้นฐาน
บทที่1 ความรู้พื้นฐาน
 
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูลการจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
การจัดการข้อมูลด้วยระบบการจัดการฐานข้อมูล
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับระบบฐานข้อมูล
 
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
นางสาว หัทยา เชื้อสมเกียรติ ม.5
 
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณนางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
นางสาว อรอนงค์ สุขาวรรณ
 
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหารบทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร
 
Data management pub
Data management pubData management pub
Data management pub
 
Lesson 1
Lesson 1Lesson 1
Lesson 1
 
งานคอม หน่วยที่1
งานคอม หน่วยที่1งานคอม หน่วยที่1
งานคอม หน่วยที่1
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
K311
K311K311
K311
 
K311
K311K311
K311
 
ระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูลระบบฐานข้อมูล
ระบบฐานข้อมูล
 
งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..งานนำเสนอ..
งานนำเสนอ..
 
แผ่นผับ
แผ่นผับแผ่นผับ
แผ่นผับ
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
presentation 3
presentation 3presentation 3
presentation 3
 
อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์
อุปกรณ์สำรองข้อมูลคอมพิวเตอร์
 

More from Wareerut Suwannalop

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
Wareerut Suwannalop
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 pหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 p
Wareerut Suwannalop
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
Wareerut Suwannalop
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสารหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสาร
Wareerut Suwannalop
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสารหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสาร
Wareerut Suwannalop
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
Wareerut Suwannalop
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสารหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสาร
Wareerut Suwannalop
 

More from Wareerut Suwannalop (7)

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 pหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 p
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 pหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 p
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 p
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสารหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสาร
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสารหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสาร
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสารหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสาร
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เทคโนโลยีการสื่อสาร
 

หน่วยการเรียนรู้ที่ 2

  • 2. - เป็นวิธีจัดเก็บข้อมูลในคอมพิวเตอร์ เพื่อให้สามารถนำมาใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ - การใช้งานโครงสร้างข้อมูล ต้องมีขั้นตอนวิธีที่เหมาะสม จึงจะสามารถใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ- การออกแบบโครงสร้างข้อมูลที่ดีจะช่วยลดเวลาในการกระทำการและลดการใช้งานในพื้นที่ความจำด้วย
  • 3. ชนิดของโครงสร้างข้อมูล 1.โครงสร้างข้อมูลเบื้องต้น (Primitive Data Structure) เป็นชนิดข้อมูลที่ไม่มีโครงสร้างข้อมูลอื่นมาเป็นส่วนประกอย เมื่อต้องการเก็บค่าสามารถเรียกใช้งานได้ทันที บางครั้งเรียกว่าชนิดข้อมูลพื้นฐาน(Base Type)หรือสร้างมาให้ใช้ด้วยภาษานั้นๆ ส่วนโครงสร้างข้อมูลแบบอื่น ๆ จะมีโครงสร้างข้อมูลอื่นเป็นส่วนประกอบ เมื่อต้องการใช้จะต้องกำหนดรูปแบบรายละเอียดโครงสร้างขึ้นมาก่อนเรียกว่าข้อมูลชนิดผู้ใช้กำหนด (Uses-definedType)ดังนี้
  • 4.                 1. โครงสร้างข้อมูลแบบเรียบง่าย (Simple Data Structure) จะมีสมาชิกที่เป็นโครงสร้างข้อมูลอื่นเป็นส่วนประกอบมีรูปแบบง่ายๆไม่ซับซ้อนสามารถทำความเข้าใจและสร้างขึ้นมาใช้งานได้ง่าย                 2.โครงสร้างข้อมูลเชิงเส้น (Linear Data Structure) เป็นโครงสร้างที่ความซับซ้อนมากขึ้น ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นโครงสร้างข้อมูลอื่นจัดเรียงต่อกันเป็นแนวเส้น              3.โครงสร้างข้อมูลไม่เป็นเชิงเส้น (Nonlinear Data Structure) เป็นโครงสร้างที่มีความซับซ้อนเช่นกัน ประกอบด้วยสมาชิกที่เป็นโครงสร้างข้อมูลอื่นจัดเรียงกันในรูปแบบไบนารี่ที่จัดเรียงสมาชิกมีการแยกออกเป็นสองทาง และแบบ N- อาร์เรย์ ที่จัดเรียงสมาชิกมีการแยกออกได้หลายทางหลายรูปแบบไม่แน่นอน
  • 5. 4.โครงสร้างการจัดการแฟ้มข้อมูล (FileOrganization) เป็นโครงสร้างสำหรับนำข้อมูลเก็บไว้ในหน่วยความจำสำรองโดยข้อมูลจะอยู่ในรูปแบบโครงสร้างข้อมูลอื่นและมีวิธีการจัดการโดยการนำโครงสร้างข้อมูลอื่นๆมาช่วย โครงสร้างข้อมูลต่างๆที่กล่าวมาอาจต้องมีการควบคุมการทำงานที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลและส่วนที่มาเกี่ยวข้องให้เป็นไปตามที่ต้องการเรียกว่า โครงสร้างข้อมูลนามธรรม ลักษณะโครงสร้างจะแบ่งออกเป็น 2 ส่วน คือ ส่วนข้อมูลและส่วนปฏิบัติการ โดนภายในจะมีรายลเอียดการทำงานต่าง ๆ ประกอบด้วยโครงสร้างการจัดเก็บข้อมูลและอัลกอริทึมเมื่อใดที่เรียกใช้งานโครงสร้างนามธรรมในส่วนรายละเอียดการทำงานจะไม่ถูกเกี่ยวข้องหรือมีผลกระทบโดยถูกปิดบังไว้จะเห็นว่าโครงสร้างข้อมูลซับซ้อนจะเป็นโครงสร้างข้อมูลนามธรรมที่ต้องมีส่วนการจัดเก็บข้อมูลและส่วนปฏิบัติการ
  • 6. ลักษณะของข้อมูล ข้อมูลที่มีความถูกต้องและเชื่อถือได้ (accuracy) ข้อมูลจะมีความถูกต้องและเชื่อถืได้มากน้อยเพียงใดนั้น ขึ้นกับวิธีการที่ใช้ในการควบคุมข้อมูลนำเข้า และการควบคุมการประมวลผลการควบคุมข้อมูลนำเข้าเป็นการกระทำเพื่อให้เกิดความมั่นใจว่าข้อมูลนำเข้ามีความถูกต้องเชื่อถือได้ เพราะถ้าข้อมูลนำเข้าไม่มีความถูกต้องแล้วถึงแม้จะใช้วิธีการวิเคราะห์และประมวลผลข้อมูลที่ดีเพียงใด ผลลัพธ์ที่ได้ก็จะไม่มีความถูกต้อง หรือนำไปใช้ไม่ได้ ข้อมูลนำเข้าจะต้องเป็นข้อมูลที่ผ่านการตรวจสอบว่าถูกต้องแล้ว ข้อมูลบางอย่างอาจต้องแปลงให้อยู่ในรูปแบบที่เครื่องคอมพิวเตอร์สามารถเข้าใจได้อย่างถูกต้อง ซึ่งอาจต้องพิมพ์ข้อมูลมาตรวจเช็คด้วยมือก่อน การประมวลผลถึงแม้ว่าจะมีการตรวจสอบข้อมูลนำเข้าแล้วก็ตาม ก็อาจทำให้ได้ข้อมูลที่ผิดพลาดได้ เช่น เกิดจากการเขียนโปรแกรมหรือใช้สูตรคำนวณผิดพลาดได้ ดังนั้นจึงควรกำหนดวิธีการควบคุมการประมวลผลซึ่งได้แก่ การตรวจเช็คยอดรวมที่ได้จากการประมวลผลแต่ละครั้ง หรือการตรวจสอบผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลด้วยเครื่องคอมพิวเตอร์กับข้อมูลสมมติที่มีการคำนวณด้วยว่ามีความถูกต้องตรงกันหรือไม่
  • 7. ข้อมูลตรงตามความต้องการของผู้ใช้ (relevancy) ได้แก่ การเก็บเฉพาะข้อมูลที่ผู้ใช้ต้องการเท่านั้น ไม่ควร เก็บข้อมูลอื่น ๆ ที่ไม่จำเป็นหรือไม่เกี่ยวข้องกับการใช้งาน เพราะจะทำให้เสียเวลาและเสียเนื้อที่ในหน่วยเก็บข้อมูล แต่ทั้งนี้ข้อมูลที่เก็บจะต้องมีความครบถ้วนสมบูรณ์ด้วย  ข้อมูลมีความทันสมัย (timeliness) ข้อมูลที่ดีนั้นนอกจากจะเป็นข้อมูลที่มีความถูกต้องเชื่อถือได้แล้วจะ ต้องเป็นข้อมูลที่ทันสมัย ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ใช้สามารถนำเอาผลลัพธ์ที่ได้ไปใช้ได้ทันเวลา นั่นคือจะต้องเก็บข้อมูลได้รวดเร็วเพื่อทันความต้องการของผู้ใช้
  • 9. การค้นหาข้อมูล ปัจจุบันนี้เสิร์ชเอ็นจิ้น (search engine) กลายมาเป็นสิ่งจำเป็น สำหรับการท่องโลกอินเตอร์เนต เพราะหากไม่มีบริการช่วยค้นหาข้อมูลเหล่านี้เราต้องใช้เวลานับหลายชั่วโมง หรือเป็นวันที่จะค้นหาข้อมูล ที่เราต้องการ จะใช้งานครบซึ่งเสิร์ชเอ็นจิ้น ก็มีมากมาย หลายเจ้า ให้เราได้เลือกใช้งานกันซึ่งแต่ละเจ้าก็มีวิธีการที่ใช้ค้นหาาข้อมูลที่แตกต่างกัน เราสามารถแบ่ง เว็บไซต์ ที่ให้บริการค้นหาข้อมูลออกเป็นประเภทใหญ่ ๆ ได้ 2 ประเภท ได้แก่การบริการค้นหาโดยใช้ อินเด็กซ์ (index)การบริการค้นหา ข้อมูลตามหมวดหมู่ (directory)
  • 10. การค้นหาโดยใช้อินเด็กซ์เราคง เคยได้ยินชื่อ เสิร์ช เอ็นจิ้น อย่าง อัลตาวิสต้า (AltaVista/www.altavista.digital.com) และฮ็อทบ็อท (HotBot/www.hotbot.com) ทั้งสอง เป็นตัวอย่างของเสิร์ช เอ็นจิ้นนี้ หลักการคือ เขาจะมีโปรแกรมตัวหนึ่ง เป็นตัวสแกน ไปตามเว็บไซต์ต่าง ๆ เรียกว่า โปรแกรม สไปเดอร์ การค้นหา ข้อมูลโดยใช้ อินเด็กซ์ การค้นหาตามหมวดหมู่ เสิร์ช เอ็นจิ้น ชื่อดังอีก 2 ตัว ได้แก่ ยาฮู (Yahoo!/www.yahoo.com)และแมกเจลแลน (Magellan/www.magellan.com) เลือกใช้เทคนิคนี้ โดยใช้มนุษย์ เป็นคนจัดหมวดหมู่ ของเว็บไซต์ และคอย ปรับปรุงให้ขอมูล ทันสมัยอยู่เสมอ เนื่องจากบัญชี รายชื่อเว็บไซต์ ได้ผ่านการจัด หมวดหมู่โดยมนุษย์ ดังนั้น ในรายชื่อก็จะมี รายละเอียด คร่าว ๆ เกี่ยวกับเว็บไซต์ ที่เพิ่มเติม ลงไป ข้อของการค้นหาแบบนี้คือ จะสามารถตีกรอบผลลัพธ์ ออกมาตรง กับความ ต้องการ มากขึ้น เช่น เราลองใส่คำว่า "Spider" ในยาฮู! ค้นหาดู เราจะได้รายการของ หมวดหมู่ออกมา