SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
Major depressive disorder
โรคซึมเศร้า
สาเหตุ
โรคซึมเศร้า
มีประวัติ
สมาชิกใน
ครอบครัวเป็น
โรคซึมเศร้า
สารเคมีใน
สมองไม่สมดุล
อิทธิพลจาก
คนรอบข้าง
คิดมาก มอง
โลกในแง่ลบ
การเลี้ยงดู
ของพ่อแม่
โรคซึมเศร้า
ความคิด
จิตใจ
ร่างกาย
โรคซึมเศร้า
ส่งผลกระทบต่อ
ผู้ป่วยในด้านต่างๆ
โรคซึมเศร้า
อาการเหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน
โรคซึมเศร้า
อาการเหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน
โรคซึมเศร้า
โรคซึมเศร้า จะต้องมีอาการอย่างน้อย 5 อาการเบื้องต้น
ติดต่อกันอย่างน้อย 2 สัปดาห์ โดยส่งผลกระทบต่อหน้าที่การงาน
อาการเหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อการดาเนินชีวิตประจาวัน
โรคซึมเศร้า
การรักษา
โรคซึมเศร้า
• การรักษาด้วยวิธีการใช้ยา • การรักษาทางจิตใจ
ยาที่ใช้ในการรักษา คือ
• ยาในกลุ่ม serotonin reuptake inhibitor (SSRI) ได้แก่
fluoxetine, sertraline, escitalopram และ fluvoxamine
อาการไม่พึงประสงค์ของยาในกลุ่ม SSRI ที่พบบ่อย ได้แก่
อาการคลื่นไส้ ปวดท้อง เบื่ออาหาร ปวดศีรษะ ง่วงนอน หรือนอนไม่
หลับ
**แต่อาการเหล่านี้จะหายไปได้หลังจากใช้ยาไประยะหนึ่ง**
โรคซึมเศร้า
การให้ยา ควรเริ่มที่ขนาดต่าก่อนเสมอ เพื่อลดโอกาสเกิดอาการไม่พึงประสงค์
แล้วค่อยๆ ปรับเพิ่มขนาดจนถึงระดับที่เหมาะสม หลังจากนั้น
ควรรอดูการตอบสนองประมาณ 4 สัปดาห์ ก่อนที่จะเพิ่มขนาดยาหากยังไม่ได้ผล
เมื่อมีการตอบสนอง มีผลดีจากการรักษา ควรให้ยาในขนาดเดิมต่อเนื่องต่อไปอีกอย่าง
น้อย 6-12 เดือน หรืออาจนานกว่า 1 ปี เพื่อป้องกันการกลับเป็นซ้า
ในการหยุดยา ควรค่อยๆ ลดขนาดยาลงก่อนที่จะหยุดยาเพื่อป้องกันอาการถอนยา
(withdrawal symptoms)
ในกรณีที่วัยรุ่นกลับเป็นซ้าหลังหยุดยา ในการรักษารอบใหม่ ควรให้ยาเป็น
เวลานานมากกว่า 1-2 ปี หรืออาจต้องให้ติดต่อกันหลายปี
โรคซึมเศร้า
การรักษาทางจิตใจ
• การพูดคุยกับจิตแพทย์
• การรักษาแบบปรับความคิดและพฤติกรรม
• การรักษาแบบปรับความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล การ
รักษามุ่งให้ผู้ป่วยมีการปรับตัวต่อสิ่งแวดล้อมและ
ผู้อื่นที่ดีขึ้น
• การรักษาจิตบาบัดเชิงลึก
โรคซึมเศร้า
คาแนะนาสาหรับผู้ป่วย
• การออกกาลังกาย
• ไม่คาดหวังจนเกินไป
• เลือกกิจกรรมทาให้เกิดความรู้สึกที่ดีๆ
• พยายามทากิจกรรมที่ทาร่วมกับคน
อื่นมากกว่าที่จะอยู่คนเดียว
• อย่าตัดสินใจเรื่องที่
สาคัญต่อชีวิต
• การแก้ปัญหาให้
แยกแยะเป็นส่วนย่อยๆ
โรคซึมเศร้า
คาแนะนาสาหรับญาติ
• รับฟังผู้ป่วยด้วยความเข้าใจ
ใส่ใจ โดยไม่ตัดสินอารมณ์ของ
ผู้ป่วย
• ชวนผู้ป่วยคุยบ้างเล็กน้อย
พร้อมที่จะช่วยเหลือ โดยไม่
กดดัน
• เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยได้
ระบายความคิดความรู้สึก
ที่ไม่ดี ที่รู้สึกแย่ต่างๆ
ออกมา
ข้อควรทราบ
• โรคนี้ไม่ได้อาการดีขึ้นทันทีที่กินยา การรักษาต้องใช้เวลาบ้าง ส่วนใหญ่จะเป็น
สัปดาห์ อาการจึงจะดีขึ้นอย่างเห็นชัด จึงไม่ควรคาดหวังจากผู้ป่วยมากเกินไป
• การรักษาด้วยยามีความสาคัญ ควรช่วยดูแลเรื่องการกินยา โดยเฉพาะในช่วงแรกที่
ผู้ป่วยยังซึมเศร้ามาก หรืออาจมีความคิดอยากตาย การตัดสินใจในช่วงนี้จะยังไม่ดี
ควรให้ผู้ป่วยเลี่ยงการตัดสินใจในเรื่องสาคัญๆ ไปก่อนจนกว่าจะเห็นว่าอาการเขาดี
ขึ้นมากแล้ว
โรคซึมเศร้า
การเก็บรักษายาที่ถูกต้อง
เพื่อการรักษาที่ต่อเนื่องและเป็นการติดตามผลการักษา ผู้ปกครองควรแจ้งครูที่
โรงเรียนให้ทราบและเข้าใจเกี่ยวกับการกินยาอย่างสม่่าเสมอและคอยติดตามผล เพื่อ
น่ามาปรึกษาและปรับการรักษาอย่างต่อเนื่อง
หากมีความจาเป็นต้องใช้ยาอื่นๆร่วมด้วย ควรขอคาปรึกษาจาก
เภสัชกรก่อนจะใช้ยานั้นๆ เพื่อป้องกันอันตรายที่เกิดจากยาตีกัน

More Related Content

Similar to medication counseling for asolescent with depression

Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Watcharapong Rintara
 
งานนำเสนอ14
งานนำเสนอ14งานนำเสนอ14
งานนำเสนอ14
Min Chatchadaporn
 

Similar to medication counseling for asolescent with depression (10)

Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54Schizophrenia  รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
Schizophrenia รัชฎาพร 29 ก.ย. 54
 
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
โรคไบโพล่าร์ (Bipolar)
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าสูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
 
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้าสูงวัยกับโรคซึมเศร้า
สูงวัยกับโรคซึมเศร้า
 
ปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิตปัญหาสุขภาพจิต
ปัญหาสุขภาพจิต
 
ตัวอย่าง_หนังสือวิธีเซฟใจในวันที่ครอบครัวไม่ใช่เซฟโซน.pdf
ตัวอย่าง_หนังสือวิธีเซฟใจในวันที่ครอบครัวไม่ใช่เซฟโซน.pdfตัวอย่าง_หนังสือวิธีเซฟใจในวันที่ครอบครัวไม่ใช่เซฟโซน.pdf
ตัวอย่าง_หนังสือวิธีเซฟใจในวันที่ครอบครัวไม่ใช่เซฟโซน.pdf
 
โครงงานเรื่องโรคซึมเศร้า
โครงงานเรื่องโรคซึมเศร้าโครงงานเรื่องโรคซึมเศร้า
โครงงานเรื่องโรคซึมเศร้า
 
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
Case schizophrenia 28 ก.ย. 54
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้าโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง โรคซึมเศร้า
 
งานนำเสนอ14
งานนำเสนอ14งานนำเสนอ14
งานนำเสนอ14
 

More from kamolwantnok

More from kamolwantnok (8)

Understanding the evidence in pharmacoepidemiology study
Understanding the evidence in pharmacoepidemiology studyUnderstanding the evidence in pharmacoepidemiology study
Understanding the evidence in pharmacoepidemiology study
 
Study design used in pharmacoepidemiology
Study design used in pharmacoepidemiology Study design used in pharmacoepidemiology
Study design used in pharmacoepidemiology
 
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
Introduction to pharmacoepidemiology (pe)
 
The use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
The use of meta -analysis for PharmacoepidemiologyThe use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
The use of meta -analysis for Pharmacoepidemiology
 
The use of RCT for Pharmacoepidemiology
The use of RCT for PharmacoepidemiologyThe use of RCT for Pharmacoepidemiology
The use of RCT for Pharmacoepidemiology
 
Evolution of pulic health in thailand
Evolution of pulic health in thailandEvolution of pulic health in thailand
Evolution of pulic health in thailand
 
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองPresentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
 
Poster ckd นำเสนอ
Poster ckd นำเสนอPoster ckd นำเสนอ
Poster ckd นำเสนอ
 

medication counseling for asolescent with depression