SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Introduction to
Pharmacoepidemiology (PE)
สอนโดย
อ.ดร.ภญ.กมลวรรณ ตันติพิวัฒนสกุล
Reference
• 1. Strom BL., Kimmel, S.E., and Hennessy, S (eds).
Pharmacoepidemiology, 5th edition, Newyork, John
Wiley & Sons, 2012.
• 2. Waning B. and Montaqne, M. (ed.)
Pharmacoepidemiology: Principles and practices, 2002.
• 3. Fletcher RH, Fcetcher SW and Wagner EH. Clinical
Epidemiology 3 nd Ed, Baltimore, William & Wilkins,
1988.
• 4. สีลม แจ่มอุลิตรัตน์. ระบาดวิทยาพื้นฐาน, พิมพ์ครั้งที่ 2,
กรุงเทพมหานคร, คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2554.
Concept
• What is Pharmacoepidemiology?: Def of PE
• Historical background
• Potential contributions of PE
• Study designs available for PE studies
• Source of PE data
• Special application for PE
• Reasons to perform PE studies
• The future of PE
• Basic concepts of Epidemiology
Definition
• Pharmacoepidemiology (PE) is the study
of the use of and the effects of drugs in
large numbers of people.
• New applied field bridging between
Pharmacology and epidemiology
• Two components = Pharmaco +
Epidemiology
Historical background
• increase the product liability suits against
pharmaceutical manufacturers
• the history of drug regulation parallels with the
history of major adverse drug reaction disasters
• The harm of drugs can cause the development of the
field of Pharmacoepidemiology
• The history of PE is the history of increasingly
frequent accusations about adverse drug reactions,
often arising out of spontaneous reporting systems,
followed by formal studies providing or disproving
those associations.
Potential contributions of PE
• (A) Information which supplements the information
available from premarketing studies better
quantitation of the incidence of known adverse and
beneficial effects
(a) Higher precision
• (b) In patients not studied prior to marketing, e.g.
the elderly, children, pregnant women
(c) As modified by other drugs and other illnesses
(d) Relative to other drugs used for the same
indication
• (B) New types of information not available
from premarketing studies
(1) Discovery of previously undetected
adverse and beneficial effects
(a) Uncommon effects
(b) Delayed effects
(2) Patterns of drug utilization
(3) The effects of drug overdoses
(4) The economic implications of drug use
General contributions of PE
• (1) Reassurances about drug safety
• (2) Fulfillment of ethical and legal
obligations
Study designs available for PE studies
Randomized clinical trials

Prospective cohort studies

Retrospective cohort studies

Case-control studies

Analysis of secular trends

Case series

Case reports
Source of PE data
• spontaneous AE reporting
• Global drug surveillance
• Case-control surveillance
• Prescription event monitoring
• Automated databases
• Others
– Drug utilization data
– Disease incidence data
– Ad hoc case-control studies
– Registry data
– Pharmacy based post-marketing surveillance studies
– Ad hoc cohort studies
Special applications of PE
– Studies of Drug Utilization
– Evaluating and improving physician prescribing
– Drug Utilization Review
– Special methodologic issues in PE studies of
Vaccine Study
– PE studies of Devices
– Studies of Drug-induced birth defects
– PE and Risk management
– Use of PE to study Medication Errors
– Hospital PE
Reasons to perform PE studies
Regulatory
• Required
• To obtain earlier approval for marketing
• As a response to question by regulatory
agency
• To assist application for approval for
marketing elsewhere
Marketing
• To assist market penetration by documenting
the safety of drug
• To increase name recognition
• To assist in re-positioning the drug
– Different outcomes; eg., quality of life and economic
– Different types of patients; eg., the elderly
– New indications
– Less restrictive labeling
• To protect the drug from accusation about
adverse effects
Legal
• In anticipation of future product liability
litigation
Clinical
• Hypothesis testing
– Problem hypothesized on the basis of drug
structure
– Problem suspected on the basis of preclinical or
premarketing human data
– Problem suspected on the basis of spontaneous
report
– Needs to better quantitate the frequency of
adverse reactions
• Hypothesis generating—need depends on
whether
– It is a new chemical entity
– The safety profile of the data
– The relative safety of the drug within its class
– The formulation
– The disease to be treated, including
• Its duration
• Its prevalence
• Its severity
• Whether alternative therapies are available
Future of PE
• สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต สามารถสรุปดังนี้
– PE can contribute to information about drug
safety and effectiveness that is not available from
pre-marketing studies
– The discipline (ข้อบังคับ) of PE has been growing and
will continue to grow within academia, industry
and government
– Methodological advances in risk management and
molecular PE
– Content areas like drug utilization review, hospital
PE, pharmacoeconomics, medication adherence,
Quality of life study, patient safety and surrogate
markers will grow as interest and need for these
focus increase
– Both computerized databases and de novo studies
will serve as important complements to each
other
– Challenges faced by PE include :
• limited funding opportunities
• regulatory restrictions
• privacy concerns surrounding human research
• limited training opportunities
• inadequate personnel resources
– All sectors like academia, industry and
government must address the challenges facing PE
and support its continued development so as to
maximize benefit and minimize risks inherent in
all medications and medical devices.
Basic concept of Epidemiology
วิทยาการระบาด Epidemiology
• มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกโบราณ Epi = ระหว่าง Demos =
ประชาชน
• หมายถึง การศึกษาการกระจาย และสภาวะที่เกี่ยวกับสุขภาพใน
ประชากร และประยุกต์ใช้การศึกษานี้เพื่อจัดการกับปัญหา
สุขภาพ
• วิทยาการระบาดเชิงคลินิก Clinical Epidemiology
• เป็นการประยุกต์หลักการทางระบาดวิทยาสาหรับแพทย์และ
บุคลากรทางการแพทย์เพื่อใช้ในการดูแลผู้ป่วย เพื่อค้นหางาน
ทางวิชาการที่ตอบคาถามสาคัญทางคลินิก เพื่อใช้ตัดสินใจให้
การรักษา ด้วยฐานการคิดเชิงอ้างอิงหลักฐาน (Evidence
based) โดยคาดหวังว่า ผู้ป่วยจะได้รับประโยชน์(benefit)
มากกว่า ได้รับอันตราย (risk or harm) ใช้หลักของการ
ประเมินเชิงวิพากย์ (critical appraisal) ซึ่งมีความถูกต้อง
น่าเชื่อถือ และเป็นประโยชน์
การประยุกต์ใช้ระบาดวิทยาในปัจจุบัน
• ระบุสาเหตุของโรค (กลุ่มที่เป็นโรค เทียบกับกลุ่มที่ไม่เป็นโรค) สิบ
สวนหาสาเหตุของโรค บอกการดาเนินของโรคได้ หาปัจจัยที่มีผลต่อ
การพยากรณ์โรค
• ประเมินความเสี่ยง เฝ้าระวังโรค ควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อการเจ็บป่วย
ที่มีผลป้องกันโรค
• การศึกษาผลจากการรักษา (เน้นที่ประสิทธิผล effectiveness)
นาไปสู่การรักษาที่มีประสิทธิผล และประสิทธิภาพ หรือประเมิน
วิธีการรักษาแบบใหม่ ทา diagnostic test
• การวิเคราะห์แนวโน้มเพื่อการวางแผน เช่น แนวโน้มของการใช้
บริการทางการแพทย์ต่างๆ
การวัดสภาวะสุขภาพ
• นักระบาดวิทยา ได้แบ่งระดับของการเลือกหรือการวัดสภาวะสุขภาพ
เป็นค่าตัวแปร 5 ตัวแปรหลักดังนี้
– Death
– Disease
– Disability
– Discomfort
– and dissatisfaction
• แต่ทั้งนี้แล้ว สิ่งที่สาคัญที่สุดคือ ความมุ่งหมายของการวัด เพราะจะ
เป็นตัวกาหนดว่าจัดวัดตัวแปรอะไร แบบไหน ในการศึกษานั่นเอง
หลักการของระบาดวิทยา
• ตั้งอยู่บนฐานความคิดที่ว่า โรคที่เกิดขึ้นในคนนั้น ไม่ได้เกิดขึ้น
เอง แต่เป็นเพราะมีปัจจัยบางอย่าง ที่เป็นสิ่งส่งเสริม หรือช่วย
ป้องกันการเกิดโรค ปัจจัยเหล่านี้ค้นพบได้ด้วยการศึกษาอย่างมี
ระบบในกลุ่มประชากร หรือกลุ่มคน ในสถานที่หรือเวลาที่
ต่างกัน
• ระบาดวิทยามีองค์ประกอบหลัก 3 ส่วนคือ การกระจาย
(distribution), สิ่งกาหนด (determinant) และความถี่
(frequency)
The dynamic of disease transmission
Host
EnvironmentAgent
• การวัดความถี่ของการเกิดโรค
• การวัดความถี่ของการเกิดโรค เป็นสิ่งสาคัญในการบอกถึงการ
เกิดโรคว่า โรคนั้นเกิดกับใคร ที่ไหน เมื่อไร เกี่ยวข้องกับการ
กระจายโรคอย่างไร เพื่อนาไปสู่การอธิบายลักษณะของการเกิด
โรค และการตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับปัจจัยสาเหตุและปัจจัยป้องกัน
เมื่อต้องการควบคุมหรือป้องกันโรค ควรจะเปลี่ยนแปลงปัจจัยใด
ที่เป็น determinant
• การศึกษาใดก็ตามที่เกี่ยวข้องกับคน มักจะมีความผันแปรสูง
และความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาเหล่านั้นต้องนามาประยุกต์ใช้
ต่อกับกลุ่มคน จึงสาคัญมากที่ต้องมีความเที่ยง (precise) และ
ความถูกต้อง(valid)
การศึกษาทางระบาดวิทยา
• การศึกษาทางระบาดวิทยา คือการศึกษาถึงการกระจาย และสิ่ง
กาหนด ของความถี่ของการดาเนินโรคในประชากร ประกอบด้วย
การรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ วิเคราะห์ข้อมูล หา
ความสัมพันธ์ทางสถิติ ผลการศึกษาทีได้จะต้องมีการประเมินถึง
ความถูกต้อง (validity) โดยพยายามตัดคาอธิบายอื่นที่อาจจะ
เป็นไปได้ออกไป เช่น ความบังเอิญ (chance) ความลาเอียง
(bias) และอิทธิพลของตัวแปรอื่นที่จะทาให้พบความสัมพันธ์ที่
ผิดไป (confounding) และหลังจากได้ความสัมพันธ์ที่
ถูกต้อง (valid) แล้ว ต่อไปก็ต้องตัดสินว่า ความสัมพันธ์นั้น
เป็นเหตุเป็นผลกันหรือไม่ (cause-effect relationship)
• การวัดความถี่ของการเกิดโรค หรือเหตุการณ์
• ระบาดวิทยา เน้นการกระจายของโรค และการสืบหาสาเหตุของ
โรค ดังนั้น สิ่งแรกที่จาเป็นต้องทาคือ การวัด หรือการคานวณหา
ความถี่ของโรคที่เกิดขึ้น หรือความถี่ของเหตุการณ์ หรือการแจง
นับจานวน และจะทราบการกระจายและสิ่งกาหนด ก็ต้องรู้ขนาด
ประชากรทั้งหมดซึ่งเป็นกลุ่มผู้เป็นโรคที่ถูกคัดมาและกาหนด
ระยะเวลาที่จะติดตามศึกษาวิจัย
• ชนิดของตัวแปร
• ตัวแปรจาแนกประเภท (discrete variables) และการวัด
• ตัวแปรต่อเนื่อง (continuous variables) และการวัด
• ความแปรปรวนของการวัด (variation in a
measurement)
• เมื่อเราวัดค่าตัวแปรในคนเดียวกัน การวัดซ้าๆหลายๆครั้ง ค่าที่
ได้จะไม่เท่ากัน เกิดจากความผันแปรทางชีววิทยา (biological
variation) ซึ่งเป็นเรื่องธรรมชาติที่สามารถเกิดขึ้นได้ หรือเกิด
ความผิดพลาดจากการวัด (measurement error) ซึ่งเป็น
ความผิดพลาดของเครื่องมือหรือการวัด ซึ่ง ความผิดพลาดจาก
การวัด (measurement error) ยังสามารถแบ่งออกได้เป็น
2 แบบ ได้แก่ random error คือค่าบางค่าผิดพลาดไปจาก
ค่าจริงโดยบังเอิญ (by chance) ส่วน Systematic error
คือค่าบางค่าผิดพลาดไปจากค่าจริงเพราะเครื่องมือไม่ดี (by
bias)
• คุณสมบัติของการวัด (Properties of measurement)
• Accuracy, Precision, Validity
• รูปแบบของการวัดความถี่ จานวนผู้ป่วย หรือการวัดจานวนครั้ง
ของเหตุการณ์ต่างๆต่อจานวนประชากร อาจแสดงได้ 3 แบบ
• Ratio หรืออัตราส่วน อย่างง่าย ค่าตัวตั้ง และค่าตัวหาร ไม่
จาเป็นต้องมีความเกี่ยวข้องกัน
• Proportion หรือสัดส่วน ค่าที่ถูกนับอยู่ในตัวตั้ง จะต้อง
รวมอยู่ในตัวหารด้วย
• Rate หรืออัตรา ค่าตัวตั้ง และค่าตัวหารจะมีความเกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กัน และที่สาคัญคือ ค่าตัวหารต้องระบุระยะเวลาที่
แน่นอน
• การวัดตัวแปรจาแนกประเภท
• การประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับสุขภาพมี 2 คาถามสาคัญ คือ
• จะวัดตัวแปรที่แสดงสุขภาพได้อย่างไร
• จะแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรที่เป็นเหตุ และตัวแปรที่เป็นผล
อย่างไร
• ดังนั้น การวิจัยโดยทั่วไปมักจะใช้การวัดความถี่ และผลที่ตามมา
ผลกระทบของการเกิดโรคไม่ใช่เฉพาะการตาย บางโรคอาจวัด
กิจวัตรประจาวัน และคุณภาพชีวิต แต่การวัดการตายเป็นวิธีหนึ่ง
ที่ใช้กันมายาวนานแล้ว และมีข้อมูลมากเพียงพอ
สถานการณ์ของโรค
• อุบัติการณ์ (Incidence) เป็นค่าหนึ่งที่ใช้วัดความถี่ของการ
เกิดโรค/เหตุการณ์ เพื่อแสดงความเร็วในการเกิดโรคในประชากร
ดังนั้นการคานวณจึงเน้นเฉพาะผป.รายใหม่ หรือการเกิดโรคครั้ง
ใหม่ จึงเป็นค่าที่บ่งชี้ถึงความเสี่ยงของการเกิดโรค ประโยชน์คือ
ใช้เพื่อศึกษาปัจจัยเสี่ยง ประเมินความเสี่ยง และประเมินผลของ
มาตรการป้องกันโรค (บอกอัตราเร็วในการเกิดโรค)
• ความชุก (Prevalence) เป็นความถี่ของการเกิดโรค/
เหตุการณ์ ณ ช่วงเวลาที่สารวจ จะนับทุกคนที่เป็นโรคไม่ว่าเป็น
ใหม่หรือเป็นมาก่อน ใช้แสดงขนาดของปัญหา เพื่อใช้ในการ
วางแผนจัดสรรทรัพยากรสาหรับแก้ปัญหานั้น (บอกความชุกชุม
ของโรคนั้น)
การวัดการตาย
• อัตราผู้ป่วยตาย =จานวนผป.ตายในช่วงเวลาที่กาหนด/ จานวนผป.
• อัตราตายรายปี =จานวนผป.ตาย/ จานวนประชากรทั้งหมดในปีนั้น
• อัตราตายสัดส่วน =จานวนผป.ตายจากโรคที่สนใจ/ จานวนผู้ตาย
ทั้งหมด
• อัตราตายเฉพาะกลุ่มอายุ =จานวนผป.ตายในกลุ่มอายุนั้น/ จานวน
ประชากรในกลุ่มอายุนั้น
รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา
• Descriptive study
• Analytic study
• Observational study
• Intervention study
• Timing of study
ความสัมพันธ์เชิงสถิติ และความสัมพันธ์เชิงเหตุผล
• การพบว่ามีความสัมพันธ์เชิงสถิติ มีassociation ระหว่าง 2 ปัจจัย
ไม่ได้หมายความว่า ปัจจัยทั้งสองนั้นจะต้องเป็นเหตุเป็นผลต่อกัน
เสมอไป แม้ว่าวัตถุประสงค์หลักเพื่อจะบอกว่าคสพ รหว่าง
exposure และการเกิดโรคนั้นเป็นคสพเชิงเหตุผลหรือไม่แต่การ
จะบอกได้ต้องตัดสินเพิ่มเติมบนพื้นฐานหลายอย่าง เช่นการ
เปลี่ยนแปลงของความถี่หรือคุณภาพของ exposure จะต้องทาให้
ความถี่ของการเกิดโรคเปลี่ยนตาม ดูว่าคสพของexposure และ
การเกิดโรคนั้นถูกต้องหรือไม่ และพิจารณาจากหลักฐานสนับสนุน
ทางระบาดวิทยาอื่นๆด้วย
• ในด้านของความสัมพันธ์เชิงสถิติ จะสามารถสรุปได้ต่อเมื่อ พิจารณา
ความเป็นไปได้ของผลการศึกษาที่ได้ว่าไม่ใช่ผลจาก ความบังเอิญ
หรือโชค (by chance) ความลาเอียงหรือความผิดพลาดของ
การศึกษา (bias) หรือสิ่งที่ไม่ได้ควบคุม (confounding)
การเปรียบเทียบระหว่างวิธีการศึกษาทางระบาดวิทยาแบบต่าง
รูปแบบการศึกษาโดยการสังเกต ประกอบด้วยปัจจัย&การเกิดโรค

More Related Content

What's hot

ถอดบทเรียนระบบวิจัยสุขภาพ 8 ประเทศ
ถอดบทเรียนระบบวิจัยสุขภาพ 8 ประเทศถอดบทเรียนระบบวิจัยสุขภาพ 8 ประเทศ
ถอดบทเรียนระบบวิจัยสุขภาพ 8 ประเทศThira Woratanarat
 
Risk & Harm (Evidence-Based Medicine for Year 5 Ramathibodi Medical Students)...
Risk & Harm (Evidence-Based Medicine for Year 5 Ramathibodi Medical Students)...Risk & Harm (Evidence-Based Medicine for Year 5 Ramathibodi Medical Students)...
Risk & Harm (Evidence-Based Medicine for Year 5 Ramathibodi Medical Students)...Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรคLoadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรคnawaporn khamseanwong
 
Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyThira Woratanarat
 
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรคnoodeejideenoodeejid
 

What's hot (9)

The Incidence of Critical Risks of Anesthesia Related Complication in Srinaga...
The Incidence of Critical Risks of Anesthesia Related Complication in Srinaga...The Incidence of Critical Risks of Anesthesia Related Complication in Srinaga...
The Incidence of Critical Risks of Anesthesia Related Complication in Srinaga...
 
ถอดบทเรียนระบบวิจัยสุขภาพ 8 ประเทศ
ถอดบทเรียนระบบวิจัยสุขภาพ 8 ประเทศถอดบทเรียนระบบวิจัยสุขภาพ 8 ประเทศ
ถอดบทเรียนระบบวิจัยสุขภาพ 8 ประเทศ
 
Risk & Harm (Evidence-Based Medicine for Year 5 Ramathibodi Medical Students)...
Risk & Harm (Evidence-Based Medicine for Year 5 Ramathibodi Medical Students)...Risk & Harm (Evidence-Based Medicine for Year 5 Ramathibodi Medical Students)...
Risk & Harm (Evidence-Based Medicine for Year 5 Ramathibodi Medical Students)...
 
Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรคLoadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
Loadแนวข้อสอบ นักวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมควบคุมโรค
 
Evidence-Based Medicine: Risk & Harm
Evidence-Based Medicine: Risk & HarmEvidence-Based Medicine: Risk & Harm
Evidence-Based Medicine: Risk & Harm
 
Evidence-Based Medicine: Prognosis
Evidence-Based Medicine: PrognosisEvidence-Based Medicine: Prognosis
Evidence-Based Medicine: Prognosis
 
Case studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policyCase studies of medical cannabis policy
Case studies of medical cannabis policy
 
Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015Rdu hospital mar_9_2015
Rdu hospital mar_9_2015
 
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
"Loadแนวข้อสอบ นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ กรมควบคุมโรค
 

Similar to Introduction to pharmacoepidemiology (pe)

Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartokpitsanu duangkartok
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552tanong2516
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised Nithimar Or
 
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0Nawanan Theera-Ampornpunt
 
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric Nursing
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric NursingA Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric Nursing
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric NursingSean Flores
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพThira Woratanarat
 
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547dentyomaraj
 
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Nawanan Theera-Ampornpunt
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)tanong2516
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์vveerapong
 
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Borwornsom Leerapan
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์nawaporn khamseanwong
 

Similar to Introduction to pharmacoepidemiology (pe) (20)

Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
Pharmaceutical care patient safety and quality by pitsanu duangkartok
 
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552หลักสูตร 6  ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
หลักสูตร 6 ปี สาขาเภสัชศาสตร์ พ.ศ.2552
 
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised 4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
4ชี้แจงผู้เกี่ยวข้องglucosamine cgd revised
 
Piyapan
PiyapanPiyapan
Piyapan
 
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
ทิศทางการพัฒนาด้านสารสนเทศสุขภาพ Health Information 4.0
 
Thailand 4.0 and Thailand's Public Health
Thailand 4.0 and Thailand's Public HealthThailand 4.0 and Thailand's Public Health
Thailand 4.0 and Thailand's Public Health
 
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric Nursing
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric NursingA Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric Nursing
A Preliminary Analysis Of Master S Theses In Pediatric Nursing
 
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
12.คู่มือการบริหารยาชัยบาดาล
 
8
88
8
 
Intro to sci
Intro to sciIntro to sci
Intro to sci
 
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพการทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
การทบทวนสถานการณ์และกลไกจัดการความแตกฉานด้านสุขภาพ
 
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
Health Informatics for Health Service Systems (March 11, 2024)
 
Health Information 4.0 (November 18, 2016)
Health Information 4.0 (November 18, 2016)Health Information 4.0 (November 18, 2016)
Health Information 4.0 (November 18, 2016)
 
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
หลักฐานเชิงประจักษ์ในการพัฒนาบัญชียาหลักแห่งชาติ พ.ศ. 2547
 
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
Referral Center สู่ยุค IT 3.0-4.0
 
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
หลักสูตรเภสัชศาสตรบัณฑิต พ.ศ.2552 (6ปี)
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
ความรู้บูรณาการสำหรับอายุรแพทย์
 
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
Complimentary Roles of Quantitative & Qualitative Research Methods 2015.2.25
 
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
Loadแนวข้อสอบ พนักงานบริการ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์
 

More from kamolwantnok

medication counseling for asolescent with depression
medication counseling for asolescent with depressionmedication counseling for asolescent with depression
medication counseling for asolescent with depressionkamolwantnok
 
Understanding the evidence in pharmacoepidemiology study
Understanding the evidence in pharmacoepidemiology studyUnderstanding the evidence in pharmacoepidemiology study
Understanding the evidence in pharmacoepidemiology studykamolwantnok
 
Study design used in pharmacoepidemiology
Study design used in pharmacoepidemiology Study design used in pharmacoepidemiology
Study design used in pharmacoepidemiology kamolwantnok
 
The use of RCT for Pharmacoepidemiology
The use of RCT for PharmacoepidemiologyThe use of RCT for Pharmacoepidemiology
The use of RCT for Pharmacoepidemiologykamolwantnok
 
Evolution of pulic health in thailand
Evolution of pulic health in thailandEvolution of pulic health in thailand
Evolution of pulic health in thailandkamolwantnok
 
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองPresentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองkamolwantnok
 
Poster ckd นำเสนอ
Poster ckd นำเสนอPoster ckd นำเสนอ
Poster ckd นำเสนอkamolwantnok
 

More from kamolwantnok (7)

medication counseling for asolescent with depression
medication counseling for asolescent with depressionmedication counseling for asolescent with depression
medication counseling for asolescent with depression
 
Understanding the evidence in pharmacoepidemiology study
Understanding the evidence in pharmacoepidemiology studyUnderstanding the evidence in pharmacoepidemiology study
Understanding the evidence in pharmacoepidemiology study
 
Study design used in pharmacoepidemiology
Study design used in pharmacoepidemiology Study design used in pharmacoepidemiology
Study design used in pharmacoepidemiology
 
The use of RCT for Pharmacoepidemiology
The use of RCT for PharmacoepidemiologyThe use of RCT for Pharmacoepidemiology
The use of RCT for Pharmacoepidemiology
 
Evolution of pulic health in thailand
Evolution of pulic health in thailandEvolution of pulic health in thailand
Evolution of pulic health in thailand
 
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครองPresentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
Presentation นำเสนอความรู้ให้ผู้ปกครอง
 
Poster ckd นำเสนอ
Poster ckd นำเสนอPoster ckd นำเสนอ
Poster ckd นำเสนอ
 

Introduction to pharmacoepidemiology (pe)

  • 2. Reference • 1. Strom BL., Kimmel, S.E., and Hennessy, S (eds). Pharmacoepidemiology, 5th edition, Newyork, John Wiley & Sons, 2012. • 2. Waning B. and Montaqne, M. (ed.) Pharmacoepidemiology: Principles and practices, 2002. • 3. Fletcher RH, Fcetcher SW and Wagner EH. Clinical Epidemiology 3 nd Ed, Baltimore, William & Wilkins, 1988. • 4. สีลม แจ่มอุลิตรัตน์. ระบาดวิทยาพื้นฐาน, พิมพ์ครั้งที่ 2, กรุงเทพมหานคร, คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2554.
  • 3. Concept • What is Pharmacoepidemiology?: Def of PE • Historical background • Potential contributions of PE • Study designs available for PE studies • Source of PE data • Special application for PE • Reasons to perform PE studies • The future of PE • Basic concepts of Epidemiology
  • 4.
  • 5. Definition • Pharmacoepidemiology (PE) is the study of the use of and the effects of drugs in large numbers of people. • New applied field bridging between Pharmacology and epidemiology • Two components = Pharmaco + Epidemiology
  • 6. Historical background • increase the product liability suits against pharmaceutical manufacturers • the history of drug regulation parallels with the history of major adverse drug reaction disasters • The harm of drugs can cause the development of the field of Pharmacoepidemiology • The history of PE is the history of increasingly frequent accusations about adverse drug reactions, often arising out of spontaneous reporting systems, followed by formal studies providing or disproving those associations.
  • 7. Potential contributions of PE • (A) Information which supplements the information available from premarketing studies better quantitation of the incidence of known adverse and beneficial effects (a) Higher precision • (b) In patients not studied prior to marketing, e.g. the elderly, children, pregnant women (c) As modified by other drugs and other illnesses (d) Relative to other drugs used for the same indication
  • 8. • (B) New types of information not available from premarketing studies (1) Discovery of previously undetected adverse and beneficial effects (a) Uncommon effects (b) Delayed effects (2) Patterns of drug utilization (3) The effects of drug overdoses (4) The economic implications of drug use
  • 9. General contributions of PE • (1) Reassurances about drug safety • (2) Fulfillment of ethical and legal obligations
  • 10. Study designs available for PE studies Randomized clinical trials  Prospective cohort studies  Retrospective cohort studies  Case-control studies  Analysis of secular trends  Case series  Case reports
  • 11. Source of PE data • spontaneous AE reporting • Global drug surveillance • Case-control surveillance • Prescription event monitoring • Automated databases • Others – Drug utilization data – Disease incidence data – Ad hoc case-control studies – Registry data – Pharmacy based post-marketing surveillance studies – Ad hoc cohort studies
  • 12. Special applications of PE – Studies of Drug Utilization – Evaluating and improving physician prescribing – Drug Utilization Review – Special methodologic issues in PE studies of Vaccine Study – PE studies of Devices – Studies of Drug-induced birth defects – PE and Risk management – Use of PE to study Medication Errors – Hospital PE
  • 13. Reasons to perform PE studies Regulatory • Required • To obtain earlier approval for marketing • As a response to question by regulatory agency • To assist application for approval for marketing elsewhere
  • 14. Marketing • To assist market penetration by documenting the safety of drug • To increase name recognition • To assist in re-positioning the drug – Different outcomes; eg., quality of life and economic – Different types of patients; eg., the elderly – New indications – Less restrictive labeling • To protect the drug from accusation about adverse effects
  • 15. Legal • In anticipation of future product liability litigation
  • 16. Clinical • Hypothesis testing – Problem hypothesized on the basis of drug structure – Problem suspected on the basis of preclinical or premarketing human data – Problem suspected on the basis of spontaneous report – Needs to better quantitate the frequency of adverse reactions
  • 17. • Hypothesis generating—need depends on whether – It is a new chemical entity – The safety profile of the data – The relative safety of the drug within its class – The formulation – The disease to be treated, including • Its duration • Its prevalence • Its severity • Whether alternative therapies are available
  • 18. Future of PE • สิ่งที่จะเกิดขึ้นในอนาคต สามารถสรุปดังนี้ – PE can contribute to information about drug safety and effectiveness that is not available from pre-marketing studies – The discipline (ข้อบังคับ) of PE has been growing and will continue to grow within academia, industry and government – Methodological advances in risk management and molecular PE – Content areas like drug utilization review, hospital PE, pharmacoeconomics, medication adherence, Quality of life study, patient safety and surrogate markers will grow as interest and need for these focus increase
  • 19. – Both computerized databases and de novo studies will serve as important complements to each other – Challenges faced by PE include : • limited funding opportunities • regulatory restrictions • privacy concerns surrounding human research • limited training opportunities • inadequate personnel resources – All sectors like academia, industry and government must address the challenges facing PE and support its continued development so as to maximize benefit and minimize risks inherent in all medications and medical devices.
  • 20.
  • 21. Basic concept of Epidemiology วิทยาการระบาด Epidemiology • มีรากศัพท์มาจากภาษากรีกโบราณ Epi = ระหว่าง Demos = ประชาชน • หมายถึง การศึกษาการกระจาย และสภาวะที่เกี่ยวกับสุขภาพใน ประชากร และประยุกต์ใช้การศึกษานี้เพื่อจัดการกับปัญหา สุขภาพ
  • 22. • วิทยาการระบาดเชิงคลินิก Clinical Epidemiology • เป็นการประยุกต์หลักการทางระบาดวิทยาสาหรับแพทย์และ บุคลากรทางการแพทย์เพื่อใช้ในการดูแลผู้ป่วย เพื่อค้นหางาน ทางวิชาการที่ตอบคาถามสาคัญทางคลินิก เพื่อใช้ตัดสินใจให้ การรักษา ด้วยฐานการคิดเชิงอ้างอิงหลักฐาน (Evidence based) โดยคาดหวังว่า ผู้ป่วยจะได้รับประโยชน์(benefit) มากกว่า ได้รับอันตราย (risk or harm) ใช้หลักของการ ประเมินเชิงวิพากย์ (critical appraisal) ซึ่งมีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ และเป็นประโยชน์
  • 23. การประยุกต์ใช้ระบาดวิทยาในปัจจุบัน • ระบุสาเหตุของโรค (กลุ่มที่เป็นโรค เทียบกับกลุ่มที่ไม่เป็นโรค) สิบ สวนหาสาเหตุของโรค บอกการดาเนินของโรคได้ หาปัจจัยที่มีผลต่อ การพยากรณ์โรค • ประเมินความเสี่ยง เฝ้าระวังโรค ควบคุมปัจจัยที่มีผลต่อการเจ็บป่วย ที่มีผลป้องกันโรค • การศึกษาผลจากการรักษา (เน้นที่ประสิทธิผล effectiveness) นาไปสู่การรักษาที่มีประสิทธิผล และประสิทธิภาพ หรือประเมิน วิธีการรักษาแบบใหม่ ทา diagnostic test • การวิเคราะห์แนวโน้มเพื่อการวางแผน เช่น แนวโน้มของการใช้ บริการทางการแพทย์ต่างๆ
  • 24. การวัดสภาวะสุขภาพ • นักระบาดวิทยา ได้แบ่งระดับของการเลือกหรือการวัดสภาวะสุขภาพ เป็นค่าตัวแปร 5 ตัวแปรหลักดังนี้ – Death – Disease – Disability – Discomfort – and dissatisfaction • แต่ทั้งนี้แล้ว สิ่งที่สาคัญที่สุดคือ ความมุ่งหมายของการวัด เพราะจะ เป็นตัวกาหนดว่าจัดวัดตัวแปรอะไร แบบไหน ในการศึกษานั่นเอง
  • 25. หลักการของระบาดวิทยา • ตั้งอยู่บนฐานความคิดที่ว่า โรคที่เกิดขึ้นในคนนั้น ไม่ได้เกิดขึ้น เอง แต่เป็นเพราะมีปัจจัยบางอย่าง ที่เป็นสิ่งส่งเสริม หรือช่วย ป้องกันการเกิดโรค ปัจจัยเหล่านี้ค้นพบได้ด้วยการศึกษาอย่างมี ระบบในกลุ่มประชากร หรือกลุ่มคน ในสถานที่หรือเวลาที่ ต่างกัน • ระบาดวิทยามีองค์ประกอบหลัก 3 ส่วนคือ การกระจาย (distribution), สิ่งกาหนด (determinant) และความถี่ (frequency)
  • 26. The dynamic of disease transmission Host EnvironmentAgent
  • 27. • การวัดความถี่ของการเกิดโรค • การวัดความถี่ของการเกิดโรค เป็นสิ่งสาคัญในการบอกถึงการ เกิดโรคว่า โรคนั้นเกิดกับใคร ที่ไหน เมื่อไร เกี่ยวข้องกับการ กระจายโรคอย่างไร เพื่อนาไปสู่การอธิบายลักษณะของการเกิด โรค และการตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับปัจจัยสาเหตุและปัจจัยป้องกัน เมื่อต้องการควบคุมหรือป้องกันโรค ควรจะเปลี่ยนแปลงปัจจัยใด ที่เป็น determinant • การศึกษาใดก็ตามที่เกี่ยวข้องกับคน มักจะมีความผันแปรสูง และความรู้ที่ได้รับจากการศึกษาเหล่านั้นต้องนามาประยุกต์ใช้ ต่อกับกลุ่มคน จึงสาคัญมากที่ต้องมีความเที่ยง (precise) และ ความถูกต้อง(valid)
  • 28. การศึกษาทางระบาดวิทยา • การศึกษาทางระบาดวิทยา คือการศึกษาถึงการกระจาย และสิ่ง กาหนด ของความถี่ของการดาเนินโรคในประชากร ประกอบด้วย การรวบรวมข้อมูลอย่างเป็นระบบ วิเคราะห์ข้อมูล หา ความสัมพันธ์ทางสถิติ ผลการศึกษาทีได้จะต้องมีการประเมินถึง ความถูกต้อง (validity) โดยพยายามตัดคาอธิบายอื่นที่อาจจะ เป็นไปได้ออกไป เช่น ความบังเอิญ (chance) ความลาเอียง (bias) และอิทธิพลของตัวแปรอื่นที่จะทาให้พบความสัมพันธ์ที่ ผิดไป (confounding) และหลังจากได้ความสัมพันธ์ที่ ถูกต้อง (valid) แล้ว ต่อไปก็ต้องตัดสินว่า ความสัมพันธ์นั้น เป็นเหตุเป็นผลกันหรือไม่ (cause-effect relationship)
  • 29. • การวัดความถี่ของการเกิดโรค หรือเหตุการณ์ • ระบาดวิทยา เน้นการกระจายของโรค และการสืบหาสาเหตุของ โรค ดังนั้น สิ่งแรกที่จาเป็นต้องทาคือ การวัด หรือการคานวณหา ความถี่ของโรคที่เกิดขึ้น หรือความถี่ของเหตุการณ์ หรือการแจง นับจานวน และจะทราบการกระจายและสิ่งกาหนด ก็ต้องรู้ขนาด ประชากรทั้งหมดซึ่งเป็นกลุ่มผู้เป็นโรคที่ถูกคัดมาและกาหนด ระยะเวลาที่จะติดตามศึกษาวิจัย • ชนิดของตัวแปร • ตัวแปรจาแนกประเภท (discrete variables) และการวัด • ตัวแปรต่อเนื่อง (continuous variables) และการวัด
  • 30. • ความแปรปรวนของการวัด (variation in a measurement) • เมื่อเราวัดค่าตัวแปรในคนเดียวกัน การวัดซ้าๆหลายๆครั้ง ค่าที่ ได้จะไม่เท่ากัน เกิดจากความผันแปรทางชีววิทยา (biological variation) ซึ่งเป็นเรื่องธรรมชาติที่สามารถเกิดขึ้นได้ หรือเกิด ความผิดพลาดจากการวัด (measurement error) ซึ่งเป็น ความผิดพลาดของเครื่องมือหรือการวัด ซึ่ง ความผิดพลาดจาก การวัด (measurement error) ยังสามารถแบ่งออกได้เป็น 2 แบบ ได้แก่ random error คือค่าบางค่าผิดพลาดไปจาก ค่าจริงโดยบังเอิญ (by chance) ส่วน Systematic error คือค่าบางค่าผิดพลาดไปจากค่าจริงเพราะเครื่องมือไม่ดี (by bias)
  • 31. • คุณสมบัติของการวัด (Properties of measurement) • Accuracy, Precision, Validity • รูปแบบของการวัดความถี่ จานวนผู้ป่วย หรือการวัดจานวนครั้ง ของเหตุการณ์ต่างๆต่อจานวนประชากร อาจแสดงได้ 3 แบบ • Ratio หรืออัตราส่วน อย่างง่าย ค่าตัวตั้ง และค่าตัวหาร ไม่ จาเป็นต้องมีความเกี่ยวข้องกัน • Proportion หรือสัดส่วน ค่าที่ถูกนับอยู่ในตัวตั้ง จะต้อง รวมอยู่ในตัวหารด้วย • Rate หรืออัตรา ค่าตัวตั้ง และค่าตัวหารจะมีความเกี่ยวข้อง สัมพันธ์กัน และที่สาคัญคือ ค่าตัวหารต้องระบุระยะเวลาที่ แน่นอน
  • 32. • การวัดตัวแปรจาแนกประเภท • การประเมินความเสี่ยงเกี่ยวกับสุขภาพมี 2 คาถามสาคัญ คือ • จะวัดตัวแปรที่แสดงสุขภาพได้อย่างไร • จะแสดงความสัมพันธ์ของตัวแปรที่เป็นเหตุ และตัวแปรที่เป็นผล อย่างไร • ดังนั้น การวิจัยโดยทั่วไปมักจะใช้การวัดความถี่ และผลที่ตามมา ผลกระทบของการเกิดโรคไม่ใช่เฉพาะการตาย บางโรคอาจวัด กิจวัตรประจาวัน และคุณภาพชีวิต แต่การวัดการตายเป็นวิธีหนึ่ง ที่ใช้กันมายาวนานแล้ว และมีข้อมูลมากเพียงพอ
  • 33. สถานการณ์ของโรค • อุบัติการณ์ (Incidence) เป็นค่าหนึ่งที่ใช้วัดความถี่ของการ เกิดโรค/เหตุการณ์ เพื่อแสดงความเร็วในการเกิดโรคในประชากร ดังนั้นการคานวณจึงเน้นเฉพาะผป.รายใหม่ หรือการเกิดโรคครั้ง ใหม่ จึงเป็นค่าที่บ่งชี้ถึงความเสี่ยงของการเกิดโรค ประโยชน์คือ ใช้เพื่อศึกษาปัจจัยเสี่ยง ประเมินความเสี่ยง และประเมินผลของ มาตรการป้องกันโรค (บอกอัตราเร็วในการเกิดโรค) • ความชุก (Prevalence) เป็นความถี่ของการเกิดโรค/ เหตุการณ์ ณ ช่วงเวลาที่สารวจ จะนับทุกคนที่เป็นโรคไม่ว่าเป็น ใหม่หรือเป็นมาก่อน ใช้แสดงขนาดของปัญหา เพื่อใช้ในการ วางแผนจัดสรรทรัพยากรสาหรับแก้ปัญหานั้น (บอกความชุกชุม ของโรคนั้น)
  • 34. การวัดการตาย • อัตราผู้ป่วยตาย =จานวนผป.ตายในช่วงเวลาที่กาหนด/ จานวนผป. • อัตราตายรายปี =จานวนผป.ตาย/ จานวนประชากรทั้งหมดในปีนั้น • อัตราตายสัดส่วน =จานวนผป.ตายจากโรคที่สนใจ/ จานวนผู้ตาย ทั้งหมด • อัตราตายเฉพาะกลุ่มอายุ =จานวนผป.ตายในกลุ่มอายุนั้น/ จานวน ประชากรในกลุ่มอายุนั้น
  • 35. รูปแบบการศึกษาทางระบาดวิทยา • Descriptive study • Analytic study • Observational study • Intervention study • Timing of study
  • 36. ความสัมพันธ์เชิงสถิติ และความสัมพันธ์เชิงเหตุผล • การพบว่ามีความสัมพันธ์เชิงสถิติ มีassociation ระหว่าง 2 ปัจจัย ไม่ได้หมายความว่า ปัจจัยทั้งสองนั้นจะต้องเป็นเหตุเป็นผลต่อกัน เสมอไป แม้ว่าวัตถุประสงค์หลักเพื่อจะบอกว่าคสพ รหว่าง exposure และการเกิดโรคนั้นเป็นคสพเชิงเหตุผลหรือไม่แต่การ จะบอกได้ต้องตัดสินเพิ่มเติมบนพื้นฐานหลายอย่าง เช่นการ เปลี่ยนแปลงของความถี่หรือคุณภาพของ exposure จะต้องทาให้ ความถี่ของการเกิดโรคเปลี่ยนตาม ดูว่าคสพของexposure และ การเกิดโรคนั้นถูกต้องหรือไม่ และพิจารณาจากหลักฐานสนับสนุน ทางระบาดวิทยาอื่นๆด้วย • ในด้านของความสัมพันธ์เชิงสถิติ จะสามารถสรุปได้ต่อเมื่อ พิจารณา ความเป็นไปได้ของผลการศึกษาที่ได้ว่าไม่ใช่ผลจาก ความบังเอิญ หรือโชค (by chance) ความลาเอียงหรือความผิดพลาดของ การศึกษา (bias) หรือสิ่งที่ไม่ได้ควบคุม (confounding)