SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) 
โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 1 
รวบรวมจากบทความ เรื่อง สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู จาก HTTP://JUKRAVUTH.BLOGSPOT.COM/ ……….รวบรวมไว้เมื่อ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๗...... อ.ก.ค.ศ.จักราวุธ คาทวี 
สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอนและจัดกิจกรรมเพื่อนครู จากเวปไซค์ http://jukravuth.blogspot.com/ จักราวุธ คาทวี ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๗
สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) 
โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 2
สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) 
โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 3 
ตัวอย่างและข้อมูลใช้ในการออกแบบ แผนการสอน แผนการจัดกิจกรรม กพช. ในเรื่อง ประชาธิปไตย และ สถานบันพระมหากษัตริย์ สันติ สามัคคี ปรองดอง 
การเสริมสร้างความปรองดองในสังคมไทย 
ความหมาย ความสาคัญของการเสริมสร้างความปรองดองในสังคมไทย 
“การเสริมสร้างความปรองดองในสังคมไทย” จึงหมายความถึง “การเพิ่มพูนให้ดีขึ้นหรือ มั่นคงยิ่งขึ้นด้วยความพร้อมเพรียงกัน, หรือ การเพิ่มพูนให้ดีขึ้นด้วยการออมชอม, ประณีประนอม, ยอมกัน, ไม่แก่งแย่งกัน, ตกลงด้วยความไกล่เกลี่ย, ตกลงกันด้วยความมีไมตรีจิต ของประชาชนคน ไทย” 
คนไทยส่วนใหญ่ ล้วนมีความรักใคร่และสามัคคีปรองดองกันอยู่แล้วในทุกถิ่น ด้วยความมี จารีตวัฒนธรรมประเพณีกับความมีศีลธรรม ในสายเลือดและในจิตใจ สืบทอดต่อต่อกันมา การ ขัดแย้งทางความคิดในกลุ่มคนย่อมเกิดมีได้บ้างเป็นเรื่องธรรมดา แต่ถ้าหากการขัดแย้งทางความคิด ได้รับการไกล่เกลี่ย, ได้รับความรู้, ได้รับข่าวสารหรือได้รับอธิบายจนเกิดความรู้ ความเข้าใจที่ ถูกต้อง การขัดแย้งทางความคิดเหล่านั้นก็จะหมดไปได้ ไม่ก่อให้เกิดความแตกแยกสามัคคี ไม่ ก่อให้เกิดความรุนแรงใดใด ทั้งทางวาจาและทางกาย เพราะคนไทย เป็นชนชาติที่รักสงบ, รักพวก พ้องและรักแผ่นดินถิ่นเกิด 
ประเทศไทย มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขมา กว่า ๗๐ ปี ล้มลุกคลุกครามมาโดยตลอด มีการปฏิวัติรัฐประหารเกิดขึ้นหลายครั้ง สาเหตุเกิดจาก การที่ บรรดานักการเมือง หรือกลุ่มบุคคลทางการเมือง ประพฤติปฎิบัติ. บริหารจัดการ ไปในทางที่ทาให้ เกิดความเสียหายต่อประเทศชาติและประชาชน แต่ก็มีกลุ่มประชาชน, นักการเมือง, กลุ่ม นักวิชาการบางกลุ่ม และกลุ่มผู้ใช้หรืออาศัย ระบอบการปกครองเป็นเครื่องมือ ในการแสวงหาและ ปกป้องผลประโยชน์ มักเรียกร้องให้คืนประชาธิปไตย กล่าวหาว่า การปฎิวัติรัฐประหารเป็นเผด็จ การ โดยความรู้เท่าไม่ถึงกาล ด้วยความไม่รู้จริงไม่รู้แจ้ง ในระบบการปกครองทั้งหลาย ความจริง
สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) 
โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 4 
แล้วระบบการปกครองแบบไหนๆ ก็ดีเหมือนกันทั้งนั้น ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม การประพฤติ ปฎิบัติ, การบริหารจัดการหรือการใช้ ว่าจะมีความเหมาะสมสามารถ 
ประพฤติปฎิบัติ, บริหารจัดการหรือใช้ ตามรูปแบบของระบอบประชาธิปไตยนั้นๆ ให้เกิดผลดีได้ เพียงใด อีกทั้งยังมีปัจจัยอื่นๆ หลายปัจจัย อันเป็นส่วนประกอบที่จะทาให้ประเทศนั้นๆ ควรใช้ ระบอบการปกครองรูปแบบใด เพื่อให้เกิดประโยชน์ เกิดความสุข เกิดความั่นคงต่อประเทศชาติ และประชาชน 
สาหรับนักการเมืองและกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้อง ควรมีศีลธรรมจรรยา ยึดถือหลักศีลาธรรมใน ศาสนาอยู่เป็นนิจ มีความรักประเทศชาติบ้านเมือง เห็นประโชยน์ของประเทศชาติและประชาชน สาคัญกว่าประโยชน์ส่วนตน การขัดแย้งทางความคิดของกลุ่มนักการเมืองและผู้ที่เกี่ยวข้องย่อม เกิดขึ้นได้น้อยมากหรืออาจไม่เกิดขึ้นเลย นั่นย่อมเป็นสิ่งแสดงว่า จะมีผู้ที่ไม่ประสงค์ดีต่อ ประเทศชาติของประชาชน ไปยุยงเสี้ยมสอมหรือให้อามิสสินจ้างกับประชาชนเพื่อให้เกิดความคิดที่ ขัดแย้ง แตกแยกความสามัคคี ก่อการชุมนุม นาไปสู่การใช้ความรุนแรง ก่อการจลาจล เกิดความ เดือดร้อนความเสียงหายต่อประชาชนและ ประเทศชาติบ้านเมือง 
ประชาชนส่วนใหญ่ เกิดความขัดแย้งเกี่ยวกับ ความต้องการมีรายได้ที่พอเพียง, มีอาชีพมี งานทา, การไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบหรือแย้งการประกอบอาชีพ, ความต้องการมีที่ทากินของ เกษตรกร, ปลดเปลื้องหนี้สิน, ความต้องการขายสินค้าทางการเกษตรกรรมให้ได้ราคาที่เป็นธรรม, การกินดีอยู่ดี, ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพสิน, ความเสมอภาคหรือความเท่าเทียมกันใน การศึกษา, การเข้าถึงหรือได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานและสวัสดิการต่างๆ อย่างเท่าเทียม และอื่นๆ ถึงแม้ว่าอาจจะมีการแข่งขันกันบ้างในบ้างเรื่องบางอย่าง อีกทั้งการได้รับการดูแลเอาใจใส่จาก รัฐบาล, ผู้แทนราษฎร, และหน่วยงาน, ข้าราชการทุกแขนงอย่างเต็มกาลังสามารถ ถ้าหาก ประชาชน ได้รับสิ่งที่ต้องการตามที่กล่าวไปตามสมควร รวมไปถึงรัฐบาล, ผู้แทนราษฎร, และ หน่วยงาน, ข้าราชการทุกแขนง มีความเอาใจใส่ ดูแลประชาชนในทุกด้าน ตามบทบาทหน้าที่ อย่างเต็มกาลังสามารถ การขัดแย้งทางความคิดย่อมไม่เกิดขึ้น หรืออาจจะมีความขัดแย้งทาง ความคิดบ้างเล็กน้อยเป็นธรรมดา ไม่ถึงกับเป็นสาเหตุทาให้เกิดความแตกแยกสามัคคี นาไปสู่การ ชุมนุมและย่อมจะมีแต่ความสามัคคี ความรักใคร่ปรองดอง อย่างแน่นแฟ้นของคนในชาติ อีก
สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) 
โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 5 
ประการหนึ่งเกี่ยวกับการกาหนด นโยบาย, แผนงาน, โครงการฯและการปฎิบัติ ของแต่ละ กระทรวง, ทบวง, กรม ที่ไม่สอดคล้องไม่สัมพันธ์กัน ก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดความขัดแย้งทาง ความคิด เป็นสาเหตุทาให้ประชาชนบางส่วนหรือส่วนมากไม่ได้รับความเป็นธรรม ดังนั้น กระทรวง , ทบวง, กรม ต่างๆ “อาจจะต้อง” มีการประชุมปรึกษา ในการกาหนดนโยบาย, แผนงาน, โครงการฯและการปฎิบัติ ร่วมกัน, สอดคล้องสัมพันธ์กัน, เอื้ออานวยซึ่งกันและกัน ตั้งแต่ละดับสูง ไปจนถึงระดับปฎิบัติงาน ย่อมสามารถลดการขัดแย้งทางความคิดของประชาชนลงได้ หรือไม่มีการ ขัดแย้งทางความคิดเกิดขึ้นเลย 
ประชาชนควรได้รับความรู้ หรือมีความรู้ความเข้าใจ ในระบอบการปกครอง รวมถึงระบบ ระเบียบวิธีการทางานหรือกลวิธีของพรรคการเมือง และควรได้รับความรู้ มีความเข้าใจ เกี่ยวกับ กลวิธีในการทุจริตคอร์รัปชั่น ประพฤติมิชอบ การรับเงินสมนาคุณ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ พรรคการเมืองและนักการเมืองทุกรูปแบบ รวมถึงความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายที่สาคัญใน ชีวิตประจาวันและอื่นๆ เพื่อให้ประชาชนเกิดการเคารพในกฎหมาย ประพฤติปฎิบัติตามกฎเกณฑ์ กติกาหรือตามกฎหมาย, ประชาชนทุกหมู่เหล่า ทุกสาขาอาชีพ ควรได้รับการพัฒนาทางด้านจิตใจ ให้มีคุณธรรมทางศาสนา ให้เกิดมีความรู้ มีความเข้าใจในหลักการหรือหลักคาสอนทางศาสนา อัน จะเป็นบรรทัดฐานหรือเป็นแนวทางในการประพฤติปฎิบัติตามหน้าที่ แห่ง 
ความเป็นประชาชนชาวไทย เพื่อให้เกิดความมีระเบียบ มีวินัย ทั้งความคิด ทั้งจิตใจ ในทุกด้าน อัน จักทาให้การขัดแย้งทางความคิดในทุกชุมชน, ทุกสังคม, ทุกหน่วยงาน, ทุกกลุ่มบุคคล ลดน้อยลง หรือไม่มีการขัดแย้งทางความคิดที่รุนแรงเกิดขึ้น นั้นย่อมแสดงให้เห็นว่า คนไทย ไดเสริมสร้าง ความสามัคคี คือ ได้เพิ่มพูนให้ดีขึ้นหรือมั่นคงยิ่งขึ้น ด้วยความพร้อมเพียงกัน, ออมชอม, ประนีประนอม, ยอมกัน, ไม่แก่งแย่งกันฯ ตามจารีตวัฒนธรรมประเพณี, ตามหลักกฎหมาย, ตาม หลักศีลธรรมในศาสนา ซึ่ง “การเสริมสร้างความสามัคคีของคนไทย” จะสาเร็จได้ ก็ด้วยคนไทย ร่วมมือร่วมใจกัน ประพฤติปฎิบัติ เพื่อประเทศไทย และเพื่อคนไทย 
แนวทางการเสริมสร้างการปรองดองในสังคมไทย 
ปัจจุบันสังคมไทยกาลังประสบกับวิกฤตการณ์ความขัดแย้งการแตกแยกของคนในชาติ ซึ่งได้ ทวีความรุนแรงและยืดเยื้อมากในทุกวินาที ซึ่งมีสาเหตุเกิดจากความรุนแรงทางโครงสร้างที่ได้ฝัง
สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) 
โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 6 
รากลึกอย่างยาวนานในสังคมไทย ทาให้เกิดความไม่เสมอภาคเท่าเทียมระหว่างชนชั้นของคนไทย ในสังคม 
รัฐไม่สามารถรักษาผลประโยชน์ของประชาชนได้อย่างแท้จริง เกิดการเสื่อมสลายของความ ไว้วางใจในสังคม ที่มีต่อรัฐ เกิดปรากฏการณ์การแบ่งพวกของประชาชนเป็นฝักฝ่ายอย่างชัดเจนซึ่ง เป็นการสร้างสถานะของความเป็นพวกเขาพวกเราหรือความเป็นอื่น และเป็นการสร้างความเกลียด ชังจนมาสู่การทาลายกันทางความคิด คาพูดและการกระทาของประชาชนในประเทศไทยอย่างไม่ เคยปรากฏมาก่อน จนทาให้เกิดปฎิกิริยาของสาธารณชนในเชิงต่อต้านอานาจรัฐอย่างชัดเจน เช่น การต่อต้านการจัดระเบียบสังคม การต่อต้านการบังคับใช้กฎหมายของภาครัฐ การชุมชนุมประทวง ด้วยสันติวิธีจนถึงขั้นใช้กาลังและความรุนแรง 
ภาพของประชาชนชาวไทยที่ประหัตประหารกันเองถูกถ่ายทอดมาสู่สายตาของคนไทยทั้ง ประเทศ และประชาคมโลกผ่านสื่อต่างๆ อย่างต่อเนื่องเปรียบเสมือนการตอกย้าความขัดแย้ง
สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) 
โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 7
สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) 
โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 8 
หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม 
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น 
รายวิชาศาสนา และหน้าที่พลเมือง (สค ๒๑๐๐๒) 
บทที่ ๔ 
พัฒนาการทางการเมืองและการอยู่ร่วมกันในระบอบประชาธิปไตย 
อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข 
(ยกร่าง เนื้อหา ให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดใหม่ คงบทที่ ๔ และเรื่องที่ ๑ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม เรื่องที่ ๒) 
ตัวชี้วัด 
๒. มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่อง หลักอานาจอธิปไตย หลักความเสมอภาค หลักนิติรัฐและนิติธรรม 
หลักเหตุผล หลักประนีประนอมและหลักการยอมรับความเห็นต่าง 
เนื้อหา 
๒.๑ หลักอานาจอธิปไตย หลักความเสมอภาค หลักนิติรัฐและนิติธรรม หลักเหตุผล 
หลักประนีประนอมและหลักการยอมรับความเห็นต่างเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสามัคคีปรองดอง 
๒.๒ การปฏิรูปการเมืองและจุดเด่นของรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวข้องกับสิทธิ เสรีภาพหน้าที่ของประชาชน
สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) 
โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 9 
เรื่องที่ ๒ 
หลักการทางประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่สาคัญ 
เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสามัคคีปรองดอง 
๒.๑ หลักการทางประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่สาคัญ 
(อธิบายหลักการทางประชาธิปไตยอันพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมีที่สาคัญ หลักอานาจอธิปไตย หลักความ เสมอภาค หลักนิติรัฐและนิติธรรม หลักเหตุผล หลักประนีประนอมและหลักการยอมรับความเห็นต่าง) 
อานาจอธิปไตย (Sovereignty) หมายถึง อานาจสูงสุดในการปกครองรัฐหรือประเทศ ดังนั้น สิ่งอื่นใดจะมีอานาจยิ่งกว่า หรือ ขัดต่ออานาจอธิปไตยไม่ได้ อานาจอธิปไตยย่อมมีความแตกต่างกันไปในแต่ละระบอบการปกครอง เช่น ในระบอบประชาธิปไตย อานาจ อธิปไตยเป็นของประชาชน กล่าวคือ ประชาชนคือผู้มีอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช อานาจ อธิปไตยเป็นของพระมหากษัตริย์ คือกษัตริย์ เป็นผู้มีอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เป็นต้น อนึ่ง อานาจอธิปไตยนี้นับเป็น องค์ประกอบสาคัญที่สุดของความเป็นรัฐเพราะการที่จะเป็นรัฐได้นั้น นอกจากจะต้องประกอบด้วยอาณาเขต ประชากรและรัฐบาลแล้ว ย่อมต้องมีอานาจอธิปไตยด้วยกล่าวคือประเทศนั้นต้องเป็นประเทศที่สามารถมีอานาจสูงสุด (อานาจอธิปไตย) ในการปกครองตนเองจึง จะสามารถเรียกว่า “รัฐ” ได้ 
ลักษณะสาคัญของอานาจอธิปไตย มีดังนี้ 
 มีความเด็ดขาด (Absoluteness) หมายถึง การไม่มีอานาจทางกฎหมายอื่นใดในรัฐเหนือกว่าอานาจอธิปไตย และ อานาจนิติบัญญัติของรัฐย่อมไม่อาจจะถูกกาจัดโดยตัวบทกฎหมายใดๆ ได้ 
 มีความถาวร (Permanence) หมายถึง อานาจอธิปไตยมีลักษณะถาวร ซึ่งต่างกันกับรัฐบาล โดยรัฐบาลอาจมีการ เปลี่ยนแปลงได้ แต่อานาจอธิปไตยต้องอยู่ตลอดไปหากอานาจอธิปไตยถูกทาลาย รัฐนั้นจะสูญสลายไปด้วย หรือพูด ได้อีอย่างหนึ่งว่า รัฐที่สูญเสียอานาจอธิปไตยจึงหมดสิ้นความเป็นรัฐไปนั้นเอง 
 ใช้ได้เป็นการทั่วไป (Comprehensiveness) หมายถึง อานาจอธิปไตยย่อมมีอานาจเหนือบุคคลทุกคนที่อยู่อาศัย ในรัฐนั้นอย่างไม่มีข้อยกเว้นและเป็นไปอย่างกว้างขว้างที่สุดแล้วแต่ผู้ใช้อานาจจะเห็นสมควรและองค์การทุกแห่ง บรรดาที่มีอยู่ในรัฐก็อยู่ภายใต้อานาจอธิปไตย แต่หากการที่ผู้แทนทางการฑูตได้รับสิทธิพิเศษบางประการเป็นเพียง ถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกันตามมารยาทการฑูตเท่านั้น 
 แบ่งแยกไม่ได้ (Indivisibility) หมายถึง ในรัฐหนึ่งๆ จะต้องมีอานาจอธิปไตยเพียงหน่วยเดียว หากมีการแบ่งแยก อานาจอธิปไตยแล้วก็เท่ากับว่าอานาจอธิปไตยได้ถูกทาลาย ซึ่งจะทาให้รัฐแตกสลายตัวไป ตัวอย่างเช่น ประเทศ เกาหลีอานาจอธิปไตยเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน แต่เมื่อมีการแบ่งอานาจอธิปไตยออกไป ทาให้เกิดรัฐใหม่ขึ้น คือ เกาหลีใต้กับเกาหลีเหนือ เป็นต้น 
อานาจอธิปไตยเป็นอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ซึ่งตามระบอบประชาธิปไตยถือว่าเป็นอานาจของประชาชน ใช้ผ่าน ทางตัวแทน แบ่งออกเป็น ๓ ส่วน คือ อานาจนิติบัญญัติ อานาจบริหาร อานาจตุลากร
สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) 
โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 10 
- อานาจนิติบัญญัติ เป็นอานาจในการออกกฎหมายและควบคุมการทางานของรัฐบาลเพื่อประโยชน์ของประชาชน และประเทศชาติ ประชาชนชาวไทยใช้อานาจนี้โดยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไปทาหน้าที่แทนในรัฐสภา 
- อานาจบริหาร เป็นอานาจการบริหารราชการแผ่นดินและการปกครอง ซึ่งมีคณะรัฐมนตรีหรือรัฐบาลเป็นผู้ใช้ อานาจและรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปตามนโยบายที่แถลงต่อรัฐสภา 
- อานาจตุลาการ เป็นอานาจในการวินิจฉัยตัดสินคดีความตามกฎหมาย โดยมีหน่วยงานศาลและกระทรวงยุติธรรม เป็นผู้ใช้อานาจ 
ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สามัคคี ปรองดอง อย่างน้อยต้อง ตั้งอยู่บนรากฐานหลักการที่สาคัญ ดังต่อไปนี้ คือ 
๑) หลักการอานาจอธิปไตย เป็นของปวงประชาชน ประชาชนแสดงออกซึ่งการเป็นเจ้าของโดยใช้อานาจที่มีตาม กระบานการ เลือกตั้งอย่างอิสระและทั่วถึงในการให้ได้มาซึ่งตัวผู้ปกครองและผู้แทนของตนรวมทั้งประชาชนมีอานาจในการคัดค้านและถอดถอน ผู้ปกครองและผู้แทนที่ประชาชนเห็นว่า มิได้บริหารประเทศในทางที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม เช่น มีพฤติกรรมร่ารวยผิดปกติ 
๒) หลักเสรีภาพ ประชาชนทุกคนมีความสามารถในการกระทาหรืองดเว้นการกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่บุคคลต้องการ ตราบเท่าที่การกระทาของเขานั้น ไม่ไปละเมิดลิดรอนสิทธิเสรีภาพของบุคคลอื่น หรือละเมิดต่อความสงบเรียบร้อยของสังคมและความ มั่นคงของประเทศชาติ 
๓) หลักความเสมอภาค การเปิดโอกาสให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงทรัพยากรและคุณค่าต่างๆ ของสังคมที่มีอยู่จากัด อย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่ถูกกีดกันด้วยสาเหตุแห่งความแตกต่างทางชั้นวรรณะทางสังคม ชาติพันธุ์ วัฒนธรรมความเป็นอยู่ ฐานะทาง เศรษฐกิจหรือด้วยสาเหตุอื่น 
๔) หลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม เป็นหลักการของรัฐที่มีการปกครองโดยกฎหมายหรือหลักนิติธรรม หลักการใช้หลักกฎหมาย เป็นกฎเกณฑ์การอยู่ร่วมกัน เพื่อความสงบสุขของสังคม การให้ความคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนทั้งในเรื่องสิทธิเสรีภาพใน ทรัพย์สิน การแสดงออก การดารงชีพ ฯลฯ อย่างเสมอหน้ากันโดยผู้ปกครองไม่สามารถใช้อานาจใดๆ ลิดรอนเพิกถอนสิทธิเสรีภาพของ ประชาชนได้และไม่สามารถใช้อภิสิทธิอยู่เหนือกฎหมาย หรือเหนือกว่าประชาชนคนอื่นๆ ได้ 
๕) หลักการเสียงข้างมาก (Majority rule) ควบคู่ไปกับการเคารพในสิทธิของเสียงข้างน้อย (Majority Rights) การตัดสินใจใดๆ ที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนหมู่มาก ไม่ว่าจะเป็น การเลือกตั้งผู้แทนของประชาชนเข้าสู่ระบบการเมือง การตัดสินใจของฝ่ายนิติบัญญัติ
สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) 
โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 11 
ฝ่ายบริหาร หรือฝ่ายตุลาการ ย่อมต้องถือเอาเสียงข้างมากที่มีต่อเรื่องนั้นๆ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินทางเลือก โดยถือว่าเสียงข้างมากเป็น ตัวแทนที่สะท้อนความต้องการ/ข้อเรียกร้องของประชาชนหมู่มาก หลักการนี้ ต้องควบคู่ไปกับการ เคารพและคุ้มครองสิทธิเสียงข้าง น้อยด้วย ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นหลักประกันว่า ฝ่ายเสียงข้างมากจะไม่ใช้วิธีการ พวกมากลากไปตามผลประโยชน์ความเห็น หรือกระแสความ นิยมของพวกตนอย่างสุดโต่ง แต่ต้องดาเนินการเพื่อประโยชน์ความเห็นของประชาชนทั้งหมดเพื่อสร้างสังคมที่ประชาชนเสียงข้างน้อย รวมทั้งชนกลุ่มน้อยผู้ด้อยโอกาสต่างๆ สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขโดยไม่มีการเอาเปรียบกันและสร้างความขัดแย้งในสังคมมาก เกินไป 
๖) หลักเหตุผล เป็นหลักการใช้เหตุผลที่ถูกต้องในการตัดสินหรือยุติปัญหาในสังคม ในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสามัคคี ปรองดอง ผู้คนต้องรู้จักยอมรับฟังความเห็นต่าง และรับฟังเหตุผลของผู้อื่น ไม่ดื้อดึงในความคิดเห็นของตนเอง จนคนอื่นมองเราเป็นคน มี มิจฉาทิฐิ 
๗) หลักประนีประนอม เป็นหลักการการลดความขัดแย้งโดยการผ่อนหนักผ่อนเบาให้กัน ร่วมมือกันเพื่อเห็นแก่ประโยชน์ของ ส่วนรวมเป็นสาคัญ เป็นทางสายกลางซึ่งทั้งสองฝ่ายจะต้องได้และเสียในบางอย่าง ไม่ได้ครบตามที่ตนปรารถนา จัดเป็นวิธีการที่ทาให้ ทุกฝ่ายสามารถอยู่ร่วมกันต่อไปได้อย่างสันติ วิธีการในการประนีประนอมอาจใช้เทคนิคการเจรจาต่อรอง (bargaining) การไกล่เกลี่ย โดยผู้บังคับบัญชาหรือบุคคลที่สาม (the third person) เป็นต้น 
๘) หลักการยอมรับความเห็นต่าง เป็นหลักการเสียงข้างมาก (Majority rule) ควบคู่ไปกับการเคารพในสิทธิของเสียงข้างน้อย (Majority Rights) การตัดสินใจใดๆ ที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนหมู่มาก ไม่ว่าจะเป็น การเลือกตั้งผู้แทนของประชาชนเข้าสู่ระบบ การเมือง การตัดสินใจของฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร หรือฝ่ายตุลาการ ย่อมต้องถือเอาเสียงข้างมากที่มีต่อเรื่องนั้นๆ เป็นเกณฑ์ในการ ตัดสินทางเลือก โดยถือว่าเสียงข้างมากเป็นตัวแทนที่สะท้อนความต้องการ/ข้อเรียกร้องของประชาชนหมู่มาก หลักการนี้เพื่อการอยู่ ร่วมกันด้วยความสันติสามัคคี ปรองดอง ไม่ว่าเสียงข้างมากหรือเสียงข้างน้อย ต้องทาใจยอมรับความเห็นต่างอันเป็นการหลอมรวม หลักความเสมอภาค หลักเสรีภาพและหลักประนีประนอม โดยการเคารพและคุ้มครองสิทธิของผู้อื่นด้วย ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นหลักประกันว่า ไม่ว่าฝ่ายเสียงข้างมากหรือฝ่ายเสียงข้างน้อยเพื่อการอยู่ร่วมกันด้วยความสันติสามัคคี ปรองดองทุกฝ่ายต้องยอมรับความเห็นต่าง รวมทั้งฝ่ายเสียงข้างมากเองก็จะไม่ใช้วิธีการ พวกมากลากไปตามผลประโยชน์ความเห็น หรือกระแสความนิยมของพวกตนอย่างสุดโต่ง แต่ต้องดาเนินการเพื่อประโยชน์ความเห็นของประชาชนทั้งหมดหรือทุกฝ่ายเพื่อสร้างสังคมที่ประชาชนเสียงข้างน้อย หรือประชาชนที่มี ความเห็นต่างจากฝ่ายตน สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ สามัคคี ปรองดอง โดยไม่มีการเอาเปรียบกันและสร้างความขัดแย้งในสังคม มากเกินไป 
ค่านิยมทัศนคติที่ส่งเสริมประชาธิปไตย ระบอบประชาธิปไตยนอกจากจะเป็นระบอบการเมืองแล้ว ยังเป็นระบอบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมด้วย ดังนั้นจึงไม่ใช่อยู่ที่รัฐธรรมนูญ กฎหมายการเลือกตั้งและการต่อรองทางการเมืองเท่านั้น หากอยู่ที่สมาชิกในสังคม จะต้องช่วยกันหล่อหลอม สร้างค่านิยม วิถีชีวิตที่เป็นประชาธิปไตยมาตั้งแต่ในครอบครัว โรงเรียน ที่ทางาน ชุมชน เพื่อจะนาไปสู่หรือ การปกป้องระบอบประชาธิปไตย ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม
สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) 
โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 12 
๒.๒ การเสริมสร้างความปรองดองในสังคมไทย 
(อธิบายความหมาย และความสาคัญของการเสริมสร้าง 
ความปรองดองในสังคมไทย) 
ความหมาย ความสาคัญของการเสริมสร้างความปรองดอง 
ในสังคมไทย 
การเสริมสร้างความปรองดองในสังคมไทย หมายความถึง 
“การเพิ่มพูนให้ดีขึ้นหรือมั่นคงยิ่งขึ้นด้วยความพร้อมเพรียงกัน หรือการเพิ่มพูนให้ดีขึ้นด้วยการออมชอม ประนีประนอม ยอม กัน ไม่แก่งแย่งกัน ตกลงด้วยความไกล่เกลี่ย และตกลงกันด้วยความมีไมตรีจิต ของประชาชนคนไทย” 
คนไทยส่วนใหญ่ ล้วนมีความรักใคร่และสามัคคีปรองดองกันอยู่แล้วในทุกถิ่น ด้วยความมีจารีตวัฒนธรรมประเพณีกับความมี ศีลธรรม ในสายเลือดและในจิตใจ สืบทอดต่อต่อกันมา การขัดแย้งทางความคิดในกลุ่มคนย่อมเกิดมีได้บ้างเป็นเรื่องธรรมดา แต่ถ้าหาก การขัดแย้งทางความคิด ได้รับการไกล่เกลี่ย ได้รับความรู้ ได้รับข่าวสารหรือได้รับอธิบายจนเกิดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง การขัดแย้ง ทางความคิดเหล่านั้นก็จะหมดไปได้ ไม่ก่อให้เกิดความแตกแยกสามัคคี ไม่ก่อให้เกิดความรุนแรงใดใด ทั้งทางวาจาและทางกาย เพราะ คนไทย เป็นชนชาติที่รักสงบ รักพวกพ้องและรักแผ่นดินถิ่นเกิด 
ประเทศไทย มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขมา กว่า ๗๐ ปี ล้มลุกคลุกครามมาโดยตลอด มีการปฏิวัติรัฐประหารเกิดขึ้นหลายครั้ง สาเหตุเกิดจาก การที่บรรดานักการเมือง หรือกลุ่มบุคคลทางการเมือง ประพฤติปฏิบัติ บริหาร จัดการ ไปในทางที่ทาให้เกิดความเสียหายต่อประเทศชาติและประชาชน แต่ก็มีกลุ่มประชาชน นักการเมือง กลุ่มนักวิชาการบางกลุ่ม และกลุ่มผู้ใช้หรืออาศัย ระบอบการปกครองเป็นเครื่องมือ ในการแสวงหาและปกป้องผลประโยชน์ มักเรียกร้องให้คืนประชาธิปไตย กล่าวหาว่า การปฏิวัติรัฐประหารเป็นเผด็จการ โดยความรู้เท่าไม่ถึงกาล ด้วยความไม่รู้จริงไม่รู้แจ้ง ในระบบการปกครองทั้งหลาย ความจริงแล้วระบบการปกครองแบบไหนๆ ก็ดีเหมือนกันทั้งนั้น ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม การประพฤติปฏิบัติ การบริหารจัดการหรือ การใช้ ว่าจะมีความเหมาะสมสามารถประพฤติปฏิบัติ, บริหารจัดการหรือใช้ ตามรูปแบบของระบอบประชาธิปไตยนั้นๆ ให้เกิดผลดีได้ เพียงใด อีกทั้งยังมีปัจจัยอื่นๆ หลายปัจจัย อันเป็นส่วนประกอบที่จะทาให้ประเทศนั้นๆ ควรใช้ระบอบการปกครองรูปแบบใด เพื่อให้ เกิดประโยชน์ เกิดความสุข เกิดความมั่นคงต่อประเทศชาติและประชาชน 
สาหรับนักการเมืองและกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้อง ควรมีศีลธรรมจรรยา ยึดถือหลักศีลธรรมในศาสนาอยู่เป็นนิจ มีความรัก ประเทศชาติบ้านเมือง เห็นประโชยน์ของประเทศชาติและประชาชนสาคัญกว่าประโยชน์ส่วนตน การขัดแย้งทางความคิดของกลุ่ม นักการเมืองและผู้ที่เกี่ยวข้องย่อมเกิดขึ้นได้น้อยมากหรืออาจไม่เกิดขึ้นเลย นั่นย่อมเป็นสิ่งแสดงว่า จะมีผู้ที่ไม่ประสงค์ดีต่อประเทศชาติ ของประชาชน ไปยุยงหรือให้อามิสสินจ้างกับประชาชนเพื่อให้เกิดความคิดที่ขัดแย้ง แตกแยกความสามัคคี ก่อการชุมนุม นาไปสู่การใช้ ความรุนแรง ก่อการจลาจล เกิดความเดือดร้อนความเสียงหายต่อประชาชนและ ประเทศชาติบ้านเมือง 
ประชาชนส่วนใหญ่ เกิดความขัดแย้งเกี่ยวกับ ความต้องการมีรายได้ที่พอเพียง มีอาชีพมีงานทา การไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบหรือ แย้งการประกอบอาชีพ ความต้องการมีที่ทากินของเกษตรกร ปลดเปลื้องหนี้สิน ความต้องการขายสินค้าทางการเกษตรกรรมให้ได้ราคา ที่เป็นธรรม การกินดีอยู่ดี ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ความเสมอภาคหรือความเท่าเทียมกันในการศึกษา การเข้าถึงหรือได้รับ สิทธิขั้นพื้นฐานและสวัสดิการต่างๆ อย่างเท่าเทียม และอื่นๆ ถึงแม้ว่าอาจจะมีการแข่งขันกันบ้างในบ้างเรื่องบางอย่าง อีกทั้งการได้รับ การดูแลเอาใจใส่จากรัฐบาล ผู้แทนราษฎรและหน่วยงาน ข้าราชการทุกแขนงอย่างเต็มกาลังสามารถ ถ้าหากประชาชน ได้รับสิ่งที่ ต้องการตามที่กล่าวไปตามสมควร รวมไปถึงรัฐบาล ผู้แทนราษฎรและหน่วยงาน ข้าราชการทุกแขนง มีความเอาใจใส่ ดูแลประชาชนใน ทุกด้าน ตามบทบาทหน้าที่ อย่างเต็มกาลังสามารถ การขัดแย้งทางความคิดย่อมไม่เกิดขึ้น หรืออาจจะมีความขัดแย้งทางความคิดบ้าง
สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) 
โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 13 
เล็กน้อยเป็นธรรมดา ไม่ถึงกับเป็นสาเหตุทาให้เกิดความแตกแยกสามัคคี นาไปสู่การชุมนุมและย่อมจะมีแต่ความสามัคคี ความรักใคร่ ปรองดอง ของคนในชาติ อีกประการหนึ่งเกี่ยวกับการกาหนด นโยบาย แผนงาน โครงการฯและการปฏิบัติ ของแต่ละกระทรวง, ทบวง, กรม ที่ไม่สอดคล้องไม่สัมพันธ์กัน ก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดความขัดแย้งทางความคิด เป็นสาเหตุทาให้ประชาชนบางส่วนหรือ ส่วนมากไม่ได้รับความเป็นธรรม ดังนั้น กระทรวง ทบวง กรม ต่างๆ “อาจจะต้อง” มีการประชุมปรึกษา ในการกาหนดนโยบาย แผนงาน โครงการฯและการปฏิบัติ ร่วมกัน สอดคล้องสัมพันธ์กัน เอื้ออานวยซึ่งกันและกัน ตั้งแต่ละดับสูง ไปจนถึงระดับปฏิบัติงาน ย่อมสามารถลดการขัดแย้งทางความคิดของประชาชนลงได้ หรือไม่มีการขัดแย้งทางความคิดเกิดขึ้นเลย 
ประชาชนควรได้รับความรู้ หรือมีความรู้ความเข้าใจ ในระบอบการปกครอง รวมถึงระบบระเบียบวิธีการทางานหรือกลวิธีของ พรรคการเมือง และควรได้รับความรู้ มีความเข้าใจ เกี่ยวกับกลวิธีในการทุจริตคอร์รัปชั่น ประพฤติมิชอบ การรับเงินสมนาคุณ หรือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพรรคการเมืองและนักการเมืองทุกรูปแบบ รวมถึงความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายที่สาคัญในชีวิตประจาวันและอื่นๆ เพื่อให้ประชาชนเกิดการเคารพในกฎหมาย ประพฤติปฏิบัติตามกฎเกณฑ์กติกาหรือตามกฎหมาย, ประชาชนทุกหมู่เหล่า ทุกสาขาอาชีพ ควรได้รับการพัฒนาทางด้านจิตใจให้มีคุณธรรมทางศาสนา ให้เกิดมีความรู้ มีความเข้าใจในหลักการหรือหลักคาสอนทางศาสนา อันจะ เป็นบรรทัดฐานหรือเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตามหน้าที่ แห่งความเป็นประชาชนชาวไทย เพื่อให้เกิดความมีระเบียบ มีวินัย ทั้งความคิด ทั้งจิตใจ ในทุกด้าน อันจักทาให้การขัดแย้งทางความคิดในทุกชุมชน ทุกสังคม ทุกหน่วยงาน ทุกกลุ่มบุคคล ลดน้อยลง หรือไม่มีการขัดแย้งทางความคิดที่รุนแรงเกิดขึ้น นั้นย่อมแสดงให้เห็นว่า คนไทย ไดเสริมสร้างความสามัคคี คือ ได้เพิ่มพูนให้ดีขึ้นหรือ มั่นคงยิ่งขึ้น ด้วยความพร้อมเพียงกัน ออมชอม ประนีประนอม ยอมกัน ไม่แก่งแย่งกันฯ ตามจารีตวัฒนธรรมประเพณี ตามหลัก กฎหมาย ตามหลักศีลธรรมในศาสนา ซึ่ง “การเสริมสร้างความสามัคคีของคนไทย” จะสาเร็จได้ ก็ด้วยคนไทยร่วมมือร่วมใจกัน ประพฤติปฏิบัติ เพื่อประเทศไทย และเพื่อคนไทย 
แนวทางการเสริมสร้างการปรองดองในสังคมไทย 
ปัจจุบันสังคมไทยกาลังประสบกับวิกฤตการณ์ความขัดแย้งการแตกแยกของคนในชาติ ซึ่งได้ทวีความรุนแรงและยืดเยื้อมากใน ทุกวินาที ซึ่งมีสาเหตุเกิดจากความรุนแรงทางโครงสร้างที่ได้ฝังรากลึกอย่างยาวนานในสังคมไทย ทาให้เกิดความไม่เสมอภาคเท่าเทียม ระหว่างชนชั้นของคนไทยในสังคม 
รัฐไม่สามารถรักษาผลประโยชน์ของประชาชนได้อย่างแท้จริง เกิดการเสื่อมสลายของความไว้วางใจในสังคม ที่มีต่อรัฐ เกิด ปรากฏการณ์การแบ่งพวกของประชาชนเป็นฝักฝ่ายอย่างชัดเจนซึ่งเป็นการสร้างสถานะของความเป็นพวกเขาพวกเราหรือความเป็นอื่น และเป็นการสร้างความเกลียดชังจนมาสู่การทาลายกันทางความคิด คาพูดและการกระทาของประชาชนในประเทศไทยอย่างไม่เคย ปรากฏมาก่อน จนทาให้เกิดปฏิกิริยาของสาธารณชนในเชิงต่อต้านอานาจรัฐอย่างชัดเจน เช่น การต่อต้านการจัดระเบียบสังคม การ ต่อต้านการบังคับใช้กฎหมายของภาครัฐ การชุมนุมประทวงด้วยสันติวิธีจนถึงขั้นใช้กาลังและความรุนแรง 
ภาพของประชาชนชาวไทยที่ประหัตประหารกันเองถูกถ่ายทอดมาสู่สายตาของคนไทยทั้งประเทศ และประชาคมโลกผ่านสื่อ ต่างๆ อย่างต่อเนื่องเปรียบเสมือนการตอกย้าความขัดแย้ง
สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) 
โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 14
สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) 
โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 15 
สร้างสรรค์ค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ 
กิจกรรม 
ให้ผู้เรียน...........................................................................................................................................
สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) 
โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 16 
๒.๓ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สามัคคี ปรองดอง ตามวิถีทางระบอบประชาธิปไตยบนพื้นฐานของคุณธรรมจริยธรรม 
พื้นฐานของคุณธรรมจริยธรรม 
พระพรมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) (2551 : 51, 57) ได้ให้หมายของคาว่า “คุณธรรม” ไว้อย่างชัดเจนว่าหมายถึง ธรรมที่เป็น คุณ ความดีงาม สภาพที่เกื้อกูลกัน ส่วนคาว่า “จริยธรรม” หมายถึง หลักความประพฤติ หลักในการดาเนินชีวิต หรือความประพฤติอัน ประเสริฐ หรือการดาเนินชีวิตอันประเสริฐ 
จะเห็นได้ว่า คุณธรรม จริยธรรม นี้ไม่ได้มีความหมายหรือคุณค่าเฉพาะในทางพระพุทธศาสนาเท่านั้น หากแต่เป็นแนวคิดที่เป็น สากล เพราะเป็นหลักการที่สังคมมนุษย์จะต้องประพฤติปฏิบัติ มีความสาคัญในอันที่จะเกื้อกูลให้สังคมมนุษย์ได้อยู่ร่วมกันอย่างมี ความสุขแม้ว่าสังคมนั้นจะตั้งอยู่บนความหลากหลายก็ตาม หากว่ากฎหมาย กฎระเบียบหรือข้อบังคับต่างๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อควบคุม ความประพฤติของมนุษย์มิให้ล่วงละเมิดสิทธิระหว่างกันแล้ว คุณธรรม จริยธรรมก็คือกฎเกณฑ์ที่ควบคุมความประพฤติ ควบคุมระบบ ความคิดของมนุษย์ให้ยอมรับและเข้าใจความหมายที่แท้จริงของชีวิต เป็นการอยู่ร่วมกันที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการเกื้อกูลกัน 
คุณธรรม จริยธรรมเป็นเรื่องของระบบคิดที่ยอมรับความเป็นจริงของชีวิตอย่างดุษฎีไม่สามารถวัดและประเมินผลในเชิงปริมาณ ได้ ดังนั้นการสร้างคุณธรรม จริยธรรมให้เกิดขึ้นได้จึงต้องอาศัยการปลูกฝังระบบคิดดังกล่าวให้เข้าไปอยู่ในทุกช่วงชีวิตของมนุษย์ และ ต้องไม่เป็นหน้าที่ของหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งอย่างสถาบันการศึกษา หากแต่ควรเป็นทุกภาคส่วนของสังคมต้องเข้ามามีส่วนร่วมใน การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้เกิดมีขึ้นให้ได้ 
จะเห็นได้ว่าเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม เป็นการพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ไม่เพียงเฉพาะเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สามัคคีปรองดอง เท่านั้นยังเป็นพื้นฐานของการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขไม่แตกแยกในระบอบประชาธิปไตย หากแต่เป็นการเตรียม “คน ไทย” ให้มีความพร้อมในการอยู่ร่วมกันในฐานะสมาชิกในสังคมเดียวกันจะนามาซึ่งการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขได้ 
สามัคคีและปรองดอง 
ความสามัคคีและปรองดอง เป็นสิ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสาคัญ และเป็นประเด็นที่ทรงสอดแทรกไว้ใน พระบรมราโชวาท และพระราชดารัสที่พระราชทานในโอกาสต่างๆ หลายครั้ง รวมทั้งได้ทรงถือปฏิบัติไว้ในหลักการทรงงาน ดังจะเห็นได้ ว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสเกี่ยวกับเรื่อง “รู้ รัก สามัคคี” มาอย่างต่อเนื่อง โดยทรงเน้นย้าว่า เป็นคา 3 คาที่มี ค่าและความหมายลึกซึ้ง พร้อมปรับใช้ได้ทุกยุคทุกสมัย โดยได้ทรงอธิบายความหมายในแต่ละคา ดังนี้ 
รู้ หมายถึง การที่เราจะลงมือทาสิ่งใดนั้นจะต้องรู้เสียก่อน รู้ถึงปัจจัยทั้งหมด รู้ถึงปัญหา รู้ถึงสาเหตุและรู้ถึงวิธีการ แก้ปัญหา 
รัก หมายถึง ความรัก เมื่อเรารู้ครบถ้วนกระบวนความแล้ว จะต้องมีความรักที่จะเข้าไปลงมือปฏิบัติแก้ไขปัญหานั้นๆ 
สามัคคี หมายถึง การที่จะลงมือปฏิบัตินั้น ควรคานึงเสมอว่าเราจะทางานคนเดียวไม่ได้ ต้องทางานร่วมมือร่วมใจเป็น องค์กร เป็นหมู่คณะ จึงจะมีพลังเข้าไปแก้ปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี 
จากหลักการทรงงานที่พบได้ในพระราชดารัสและพระบรมราโชวาทที่พระราชทานในโอกาสต่างๆ ได้ทรงมีพระราชกระแสรับสั่ง เกี่ยวกับเรื่องความสามัคคีและปรองดองว่า เป็นเสมือนพื้นฐานสาคัญที่จะสามารถสร้างพลังแห่งความเป็นเอกภาพให้บ้าน เมืองอยู่รอด ปลอดภัยได้อย่างสมดุล มั่นคงและยั่งยืนได้ดังจะขออัญเชิญมาดังนี้ 
พระราชดารัสพระราชทานในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม2534 ความตอนหนึ่งว่า ”…อีกอย่างหนึ่งที่จะ แก้ไขสถานการณ์ต่างๆ ได้ ก็ได้พูดแล้ว…ตอนแรกได้พูดว่า คนไทยเราที่รักษาเอกราชอธิปไตยไว้ได้ ก็โดยอาศัยการที่ “รู้จักความสามัคคี และรู้จักทาหน้าที่ของแต่ละฝ่ายให้ประสานส่งเสริมกัน” ความจริงเขียนไว้ว่า “รู้รักความสามัคคี”…การที่จะรู้จักสามัคคีก็ลาบากมาก
สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) 
โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 17 
เพราะคนมากๆ รู้จักกันทั่วถึงไม่ค่อยได้ แต่ “รู้ รัก สามัคคี” ควรจะใช้ได้เพราะหมายความว่า ทุกคนถือว่าตนเป็นคนไทย มีอะไรเกิดขึ้น ก็ตามทุกคนรู้ว่าต้องมีความสามัคคี “รู้” ก็คือ “ทราบ” ทราบความหมายของสามัคคี “รัก” คือ “นิยม” นิยมความสามัคคี เพราะเหตุใด คนไทยจึง “รู้ รักสามัคคี” ก็เพราะคนไทยนี่ฉลาดไม่ใช่ไม่ฉลาดคนไทยนี่ฉลาด รู้ว่าถ้าหากเมืองไทยไม่ใช้ความสามัคคี ไม่เห็นอกเห็นใจ กัน ไม่ใช้อะไรที่จะพอรับกันได้ พอที่จะใช้ได้ ก็คงจะไม่ได้ทาอะไร หมายความว่า ทามาหากินก็ไม่ได้…เพราะว่า…ไม่มีความสงบ จะต้อง “รู้รัก สามัคคี” หมายความว่ารู้จักการอะลุ้มอล่วยกัน แม้จะไม่ใช่ถูกต้องเต็มที่ คือหมายความว่าไม่ถูกหลักวิชาเต็มที่ก็จะต้องใช้เพราะว่า ถ้าไม่ใช้ก็ไม่มี อะไรใช้…อาจมีสิ่งที่มีอยู่แล้วที่จะใช้ไปได้ชั่วคราว คุณภาพอาจไม่ค่อยดีนักทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่มีอะไรที่ดีร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ ว่าจะต้องใช้อะไรที่พอใช้ได้ไปไม่อย่างนั้นไม่มีวันที่จะมีชีวิตรอด ได้…ตอนนี้ถ้าราษฎร “รู้ รัก สามัคคี” เขาจะเข้าใจว่าเมื่อเขามีรายได้ เขาก็จะยินดีเสียภาษี เพื่อช่วยราชการให้สามารถทาโครงการต่อไป เพื่อความก้าวหน้าของประเทศชาติ ถ้าราษฎร “รู้รัก สามัคคี”และรู้ ว่า “การเสียคือการได้”ประเทศชาติก็จะก้าวหน้า เพราะว่า การที่คนอยู่ดีมีความสุขนั้น เป็นกาไรอย่างหนึ่งซึ่งนับเป็นมูลค่าเงินไม่ได้… การปฏิบัติโดยวิธีการที่อาจ ไม่ถูกหลักวิชานัก แต่ประกอบด้วยความเมตตาด้วยความสามัคคี คือ “รู้ รักสามัคคี”นี้เอง ก็คงจะทาให้อยู่ กันได้ต่อไป…ความจริงประเทศไทยนี้ก้าวหน้ามามากแล้วและก็ ก้าวหน้ามาอย่างสม่าเสมอ ไม่เร็ว เกินไป ไม่ช้าเกินไป สิ่งที่สาคัญก็คือ ต้องใช้หลักที่พูดเมื่อวานนี้ แต่พูดผิดพลาดไป วันนี้จึงมาแก้เสียยืดยาว แก้คาเดียว แก้คาว่า”จัก” เป็น “รัก” หรือ “รัก” เป็น “จัก” ก็ ขอให้ท่านทั้งหลายได้เข้าใจว่า เมื่อวานนี้พูดผิดยอมรับ เขียนไว้อย่างดีว่า “คนไทย รู้ รักสามัคคี” ไปพูดว่า “รู้จักความสามัคคี” ซึ่งก็ไม่ ผิดนัก แต่ “รู้รักความสามัคคี” นั้นซึ้งกว่าเมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว เข้าใจว่าท่านทั้งหลายก็จะซึ้ง และ “รู้รักความสามัคคี”…”พระราชดารัส พระราชทานในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม2521 ความตอนหนึ่งว่า”…คาว่า “สามัคคี” นี้ ขอให้วิเคราะห์ ศัพท์ ว่าเป็นการกระทาของแต่ละคน ทาความดี เว้นจากความไม่ดี มีความเข้าใจซึ่งกันและกันของแต่ละบุคคล อย่างนี้ชาติสามัคคีชาติ ไม่แตกสลาย คุมไว้ติด คาว่าคุมนี้อาจจะไม่ชอบกัน เพราะเหมือนควบคุม เพราะเหมือนควบคุม เหมือนคุมขัง แต่คุมหมายความว่าอยู่ติด อยู่เป็นชาติได้…” 
พระบรมราโชวาทพระราชทานในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2504 ความตอนหนึ่งว่า 
“…สามัคคีที่สาคัญที่สุดคืออะไร ก็คือสามัคคีในชาติ ไม่ใช่ว่าความสามัคคีในคณะไม่ดี แต่ต้องระวัง ถ้าสามัคคีกัน แต่ว่าไปก้าวก่าย หรือไปทาให้ผู้อื่นเดือดร้อน ในสถาบันก็เป็นความผิด ถ้าสามัคคีในสถาบันไปทาให้คนอื่นเสียหายหรือเดือดร้อนก็ไม่ดีเพราะทาให้เสีย หายต่อสามัคคีของชาติ…” 
ประกอบกับคณะรักษาความสงบและความมั่นคงแห่งชาติ (คสช.) ตระหนักและเห็นความสาคัญของการสร้างความสามัคคี และได้ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในชาติจากทุกภาคส่วนให้มาร่วมกันแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะที่ สร้างสรรค์ในการพัฒนาสังคมไทยให้มีความสงบสุขที่อยู่บนพื้นฐานของคุณธรรมจริยธรรม ของการให้และมีเมตตาต่อกันซึ่งเป็น วัฒนธรรมพื้นฐานที่อยู่ในใจของประชาชนชาวไทยทุกคน 
กระบวนการสร้างความปรองดอง ในฐานะที่เป็นหัวใจสาคัญของการพัฒนาและปฏิรูปประเทศที่ทาง คสช. กาหนดนโยบายให้ เกิดความเป็นธรรมแก่ ทุกฝ่าย นับเป็นการเรียนรู้และดาเนินตามรอยพระยุคลบาท จากการศึกษาพระราชดารัสและพระบรมราโชวาท ให้เห็นคุณค่าของความปรองดองกันว่า เป็นรากฐานที่สาคัญของการรักษาเอกราชของชาติไทยดังพระราชดารัสและพระบรม ราโชวาทที่ อัญเชิญมาดังนี้
สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) 
โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 18 
พระ ราชดารัส พระราชทานแก่คณะประชาชนจังหวัดราชบุรี เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2531 ความตอนหนึ่งว่า”…บ้าน เมืองไทยสามารถฟันฝ่าอุปสรรคต่างๆ ได้โดยดี เพราะว่าจิตใจสามัคคีและแสดงออกซึ่งสามัคคี ถ้าตราบใดเรารักษาความสามัคคี ความเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกันไว้ได้ เราก็จะอยู่ได้อย่างมีความสุขตราบนั้น…” 
พระบรมราโชวาทในพิธีสวนสนามของทหารรักษาพระองค์ เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม2522 ความตอนหนึ่งว่า 
”…บรรพชนไทยเป็นนักต่อสู้ ผู้มีชีวิตจิตใจผูกพันปรองดองเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันสามัคคีพร้อมเพรียงกัน ทุกเมื่อไม่ว่าจะทาการสิ่ง ใด บ้านเมืองไทยจึงมีเอกราชอธิปไตยและมีความสุขความสมบูรณ์ทุกอย่างมาจนกระทั่ง ทุกวันนี้…” 
เพื่อเป็นการแสดงกตเวทิตาทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้ทรงมีพระเกษมสาราญ เป็นมิ่งขวัญและศูนย์ รวมแห่งความสามัคคีปรองดองของปวงชนชาวไทยตลอดกาล ผมขอเชิญชวนทุกท่านให้ร่วมกันปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดีของสังคม โดย ศึกษาพระบรมราโชวาทและพระราชดารัสที่พระราชทานเนื่องในโอกาสต่างๆ โดยเฉพาะในเรื่องของการ “รู้ รัก สามัคคี” และ การ ปฏิบัติหน้าที่ของแต่ละคนให้สมบูรณ์ ถวายเป็นพระราชสักการะแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นที่รักยิ่งของ ปวงชนชาวไทยตลอดกาลนาน ดังพระบรมราโชวาทพระราชทานแก่ทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศตารวจ และอาสาสมัครพลเรือนใน พิธีตรวจพลสวนสนาม ในโอกาสงานพระราชพิธีรัชดาภิเษกเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2514 ความตอนหนึ่งว่า 
“…ชาติบ้านเมืองประกอบด้วยนานา สถาบัน อันเปรียบได้กับอวัยวะทั้งปวงที่ประกอบกันขึ้นเป็นชีวิตร่างกาย ชีวิตร่างกายดารง อยู่ได้ เพราะอวัยวะใหญ่น้อยทางานเป็นปกติพร้อมกันอย่างไร ชาติบ้านเมืองก็ดารงอยู่ได้เพราะสถาบันต่างๆ ตั้งมั่นและปฏิบัติหน้าที่ ของตนโดยพร้อมมูลอย่างนั้น…” 
คุณธรรมที่นาไปสู่ความสามัคคีปรองดอง 
คุณธรรมที่นาไปสู่ความสามัคคีปรองดอง ได้แก่ 
1. การมีความเคารพซึ่งกันและกัน 
2. การร่วมมือช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 
3. การใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต 
1. การมีความเคารพซึ่งกันและกัน มีพฤติกรรมที่แสดงออก ดังนี้ 
1.1 เคารพในสถาบันพระมหากษัตริย์ 
- การแสดงความเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ในทุกโอกาส 
- การร่วมกิจกรรมต่างๆที่จัดเพื่อแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ในโอกาสวันสาคัญต่าง ๆ 
- การไปรับเสด็จเมื่อพระมหากษัตริย์ หรือพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จไปในถิ่นที่อยู่ หรือบริเวณใกล้เคียง 
- การปฏิบัติต่อสัญลักษณ์ที่แสดงถึงสถาบันพระมหากษัตริย์ เช่น ธงชาติ พระบรมฉายาลักษณ์ เพลงสรรเสริญพระ บารมี ฯลฯ ด้วยความเคารพ เมื่อได้ยิน หรือเห็นบุคคลใดแสดงกิริยาวาจา หรือมีการกระทาอันไม่สมควรต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ต้องกล่าวตักเตือนและห้ามไม่ให้ปฏิบัติเช่นนั้นอีก 
1.2 เคารพบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะบิดามารดาซึ่งเป็นผู้ให้กาเนิด เคารพญาติผู้ใหญ่ เช่น ปู่ ย่า ตา ยาย และผู้สูงอายุ เคารพครูอาจารย์ และเพื่อน ๆ ทั้งทางกายและทางวาจา 
1.2.1 ทางกาย ได้แก่ การทักทาย การให้เกียรติผู้อื่น การแสดงความเคารพแก่บุคคลซึ่งอาวุโสกว่า การให้การ ต้อนรับแก่บุคคล การแสดงความเอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน เป็นต้น
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู (จักราวุธ คำท
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู (จักราวุธ คำท
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู (จักราวุธ คำท
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู (จักราวุธ คำท
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู (จักราวุธ คำท
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู (จักราวุธ คำท
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู (จักราวุธ คำท
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู (จักราวุธ คำท
สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู (จักราวุธ คำท

More Related Content

What's hot

แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
สารคดีเล่าประสบการณ์ ความสุขของการเป็นผู้ให้
สารคดีเล่าประสบการณ์  ความสุขของการเป็นผู้ให้สารคดีเล่าประสบการณ์  ความสุขของการเป็นผู้ให้
สารคดีเล่าประสบการณ์ ความสุขของการเป็นผู้ให้waraporny
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนyudohappyday
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)sudoooooo
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)B'Ben Rattanarat
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิSurapong Klamboot
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาCC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยHansa Srikrachang
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จNat Ty
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...chaiwat vichianchai
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์A'waken P'Kong
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาJiraprapa Noinoo
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาenksodsoon
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธาSantichon Islamic School
 

What's hot (20)

แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
สารคดีเล่าประสบการณ์ ความสุขของการเป็นผู้ให้
สารคดีเล่าประสบการณ์  ความสุขของการเป็นผู้ให้สารคดีเล่าประสบการณ์  ความสุขของการเป็นผู้ให้
สารคดีเล่าประสบการณ์ ความสุขของการเป็นผู้ให้
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
สามัคคีเภทคำฉันท์ (อินทรวิเชียร)
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนาเทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
เทศกาลและพิธีกรรมทางศาสนา
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จวิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
วิชชุมมาลา ฉันท์ ๘ เสร็จ
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ การพัฒนาหนังสั้นภูมิปัญญาไทยบ้านเรือนไ...
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนา
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 

Similar to สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู (จักราวุธ คำท

นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษาครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศKlangpanya
 
Borai organizational culture
Borai organizational cultureBorai organizational culture
Borai organizational cultureKomsun See
 
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนTaraya Srivilas
 
คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน
คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียนคุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน
คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียนTaraya Srivilas
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1Prapaporn Boonplord
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมtassanee chaicharoen
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจกTaraya Srivilas
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีMr-Dusit Kreachai
 
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุงรายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุงTaraya Srivilas
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)Ritthiporn Lekdee
 
ครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรมครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรมnorrasweb
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-socPrachoom Rangkasikorn
 

Similar to สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู (จักราวุธ คำท (20)

นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
 
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ 10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
10 เป้าหมายปฏิรูปการเมือง พลิกโฉมประเทศ
 
มรนว ค่านิยม 12 ประการ
มรนว ค่านิยม 12 ประการมรนว ค่านิยม 12 ประการ
มรนว ค่านิยม 12 ประการ
 
Borai organizational culture
Borai organizational cultureBorai organizational culture
Borai organizational culture
 
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศนธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
ธรรมาภิบาลและจริยธรรม กศน
 
คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน
คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียนคุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน
คุณธรรม จริยธรรม สันติวิธีและธรรมาภิบาลกับการเข้าสู่ความเป็นประชาคมอาเซียน
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๘
 
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจกสันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว  แจก
สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง สจว แจก
 
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานีโครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
โครงการเพื่อขับเคลื่อนงานเด็กและเยาวชนแบบบูรณาการระดับจังอุบลราชธานี
 
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุงรายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
รายงานปรองดอง สปช ปรับปรุง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 304 ตอนที่ 2 หน่วย 3
04 ตอนที่ 2 หน่วย 3
 
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
วัฒนธรรมองค์กร (Organizational culture)
 
ครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรมครอบครัวคุณธรรม
ครอบครัวคุณธรรม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-socแผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-soc
แผนการจัดการเรียนรู้ ป.4-6 หน่วย 1+477+dltvsocp5+T1 p4 6-u01-soc
 

More from นายจักราวุธ คำทวี

๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ดนายจักราวุธ คำทวี
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗นายจักราวุธ คำทวี
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗นายจักราวุธ คำทวี
 
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ดนายจักราวุธ คำทวี
 
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)นายจักราวุธ คำทวี
 
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙นายจักราวุธ คำทวี
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.นายจักราวุธ คำทวี
 
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบนายจักราวุธ คำทวี
 
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕นายจักราวุธ คำทวี
 
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายนายจักราวุธ คำทวี
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีนายจักราวุธ คำทวี
 
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...นายจักราวุธ คำทวี
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษานายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...นายจักราวุธ คำทวี
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑นายจักราวุธ คำทวี
 

More from นายจักราวุธ คำทวี (20)

๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
 
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก. พ.ศ. ๒๕๔๗
 
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย  สิทธิประโยชน์  จักราวุธ  กศน.ร้อยเอ็ด
๑๑ ม.ค.๖๑ วินัย สิทธิประโยชน์ จักราวุธ กศน.ร้อยเอ็ด
 
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
(จักราวุธ คำทวี)ระเบียบ สร.ว่าด้วย พนง.รชก.ปี ๔๗ จักราวุธ คำทวี (1)
 
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี  แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
สัตวแพทย์จักราวุธ คำทวี แนวทางลงโทษวินัย พนง.รชก. ปี ๕๙
 
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
ข้อสอบเก่า ข้อสอบ ขรก.สังงกัด สพฐ. ปนกับ สกอ.และ สป.
 
กศน. อาจารย์หมอ ๓
กศน. อาจารย์หมอ ๓กศน. อาจารย์หมอ ๓
กศน. อาจารย์หมอ ๓
 
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป๔.ภาค ก.  ความรอบรู้ทั่วไป
๔.ภาค ก. ความรอบรู้ทั่วไป
 
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
๓๘ ข(๕) จักราวุธ คำทวี ความสามารถด้านการวิเคราะห์กฎหมายและระเบียบ
 
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษานอกโรงเรียน ๕
 
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
ชุดที่ 2 วิชากฎหมายการศึกษา 130 ข้อ
 
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
ชุดที่ 1 วิชากฎหมายการศึกษา 370 ข้อ
 
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมายภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
ภาค ก. ความรู้ความเข้าใจด้านกฎหมาย
 
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปีตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
ตัวอย่างการเขียนคำขอรับรางวัล ครอบครัวครูดี ประจำปี
 
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
จักราวุธ คำทวี กับรางวัล ครอบครัวครูดี ปี ๒๕๕๘
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การรวมสถานศึกษาและการกำหนดอำนาจ และหน้าที่ของส...
 
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษาประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการเรื่อง การกำหนดอำนาจและหน้าที่ของสถานศึกษา
 
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...ครั้งที่ ๙ จักราวุธ  คำทวี  แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
ครั้งที่ ๙ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบบรรจุข้าราชการ บุคลากรทางการศึกษา ตามมาตร...
 
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี  แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
ครั้งที่ ๑๑ จักราวุธ คำทวี แนวทดสอบ พ.ร.บ.ระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
 

สันติ สามัคคี ปรองดอง ค่านิยม ๑๒ ประการ เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู (จักราวุธ คำท

  • 1. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 1 รวบรวมจากบทความ เรื่อง สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู จาก HTTP://JUKRAVUTH.BLOGSPOT.COM/ ……….รวบรวมไว้เมื่อ ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๗...... อ.ก.ค.ศ.จักราวุธ คาทวี สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอนและจัดกิจกรรมเพื่อนครู จากเวปไซค์ http://jukravuth.blogspot.com/ จักราวุธ คาทวี ๑๐ สิงหาคม ๒๕๕๗
  • 2. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 2
  • 3. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 3 ตัวอย่างและข้อมูลใช้ในการออกแบบ แผนการสอน แผนการจัดกิจกรรม กพช. ในเรื่อง ประชาธิปไตย และ สถานบันพระมหากษัตริย์ สันติ สามัคคี ปรองดอง การเสริมสร้างความปรองดองในสังคมไทย ความหมาย ความสาคัญของการเสริมสร้างความปรองดองในสังคมไทย “การเสริมสร้างความปรองดองในสังคมไทย” จึงหมายความถึง “การเพิ่มพูนให้ดีขึ้นหรือ มั่นคงยิ่งขึ้นด้วยความพร้อมเพรียงกัน, หรือ การเพิ่มพูนให้ดีขึ้นด้วยการออมชอม, ประณีประนอม, ยอมกัน, ไม่แก่งแย่งกัน, ตกลงด้วยความไกล่เกลี่ย, ตกลงกันด้วยความมีไมตรีจิต ของประชาชนคน ไทย” คนไทยส่วนใหญ่ ล้วนมีความรักใคร่และสามัคคีปรองดองกันอยู่แล้วในทุกถิ่น ด้วยความมี จารีตวัฒนธรรมประเพณีกับความมีศีลธรรม ในสายเลือดและในจิตใจ สืบทอดต่อต่อกันมา การ ขัดแย้งทางความคิดในกลุ่มคนย่อมเกิดมีได้บ้างเป็นเรื่องธรรมดา แต่ถ้าหากการขัดแย้งทางความคิด ได้รับการไกล่เกลี่ย, ได้รับความรู้, ได้รับข่าวสารหรือได้รับอธิบายจนเกิดความรู้ ความเข้าใจที่ ถูกต้อง การขัดแย้งทางความคิดเหล่านั้นก็จะหมดไปได้ ไม่ก่อให้เกิดความแตกแยกสามัคคี ไม่ ก่อให้เกิดความรุนแรงใดใด ทั้งทางวาจาและทางกาย เพราะคนไทย เป็นชนชาติที่รักสงบ, รักพวก พ้องและรักแผ่นดินถิ่นเกิด ประเทศไทย มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขมา กว่า ๗๐ ปี ล้มลุกคลุกครามมาโดยตลอด มีการปฏิวัติรัฐประหารเกิดขึ้นหลายครั้ง สาเหตุเกิดจาก การที่ บรรดานักการเมือง หรือกลุ่มบุคคลทางการเมือง ประพฤติปฎิบัติ. บริหารจัดการ ไปในทางที่ทาให้ เกิดความเสียหายต่อประเทศชาติและประชาชน แต่ก็มีกลุ่มประชาชน, นักการเมือง, กลุ่ม นักวิชาการบางกลุ่ม และกลุ่มผู้ใช้หรืออาศัย ระบอบการปกครองเป็นเครื่องมือ ในการแสวงหาและ ปกป้องผลประโยชน์ มักเรียกร้องให้คืนประชาธิปไตย กล่าวหาว่า การปฎิวัติรัฐประหารเป็นเผด็จ การ โดยความรู้เท่าไม่ถึงกาล ด้วยความไม่รู้จริงไม่รู้แจ้ง ในระบบการปกครองทั้งหลาย ความจริง
  • 4. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 4 แล้วระบบการปกครองแบบไหนๆ ก็ดีเหมือนกันทั้งนั้น ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม การประพฤติ ปฎิบัติ, การบริหารจัดการหรือการใช้ ว่าจะมีความเหมาะสมสามารถ ประพฤติปฎิบัติ, บริหารจัดการหรือใช้ ตามรูปแบบของระบอบประชาธิปไตยนั้นๆ ให้เกิดผลดีได้ เพียงใด อีกทั้งยังมีปัจจัยอื่นๆ หลายปัจจัย อันเป็นส่วนประกอบที่จะทาให้ประเทศนั้นๆ ควรใช้ ระบอบการปกครองรูปแบบใด เพื่อให้เกิดประโยชน์ เกิดความสุข เกิดความั่นคงต่อประเทศชาติ และประชาชน สาหรับนักการเมืองและกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้อง ควรมีศีลธรรมจรรยา ยึดถือหลักศีลาธรรมใน ศาสนาอยู่เป็นนิจ มีความรักประเทศชาติบ้านเมือง เห็นประโชยน์ของประเทศชาติและประชาชน สาคัญกว่าประโยชน์ส่วนตน การขัดแย้งทางความคิดของกลุ่มนักการเมืองและผู้ที่เกี่ยวข้องย่อม เกิดขึ้นได้น้อยมากหรืออาจไม่เกิดขึ้นเลย นั่นย่อมเป็นสิ่งแสดงว่า จะมีผู้ที่ไม่ประสงค์ดีต่อ ประเทศชาติของประชาชน ไปยุยงเสี้ยมสอมหรือให้อามิสสินจ้างกับประชาชนเพื่อให้เกิดความคิดที่ ขัดแย้ง แตกแยกความสามัคคี ก่อการชุมนุม นาไปสู่การใช้ความรุนแรง ก่อการจลาจล เกิดความ เดือดร้อนความเสียงหายต่อประชาชนและ ประเทศชาติบ้านเมือง ประชาชนส่วนใหญ่ เกิดความขัดแย้งเกี่ยวกับ ความต้องการมีรายได้ที่พอเพียง, มีอาชีพมี งานทา, การไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบหรือแย้งการประกอบอาชีพ, ความต้องการมีที่ทากินของ เกษตรกร, ปลดเปลื้องหนี้สิน, ความต้องการขายสินค้าทางการเกษตรกรรมให้ได้ราคาที่เป็นธรรม, การกินดีอยู่ดี, ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพสิน, ความเสมอภาคหรือความเท่าเทียมกันใน การศึกษา, การเข้าถึงหรือได้รับสิทธิขั้นพื้นฐานและสวัสดิการต่างๆ อย่างเท่าเทียม และอื่นๆ ถึงแม้ว่าอาจจะมีการแข่งขันกันบ้างในบ้างเรื่องบางอย่าง อีกทั้งการได้รับการดูแลเอาใจใส่จาก รัฐบาล, ผู้แทนราษฎร, และหน่วยงาน, ข้าราชการทุกแขนงอย่างเต็มกาลังสามารถ ถ้าหาก ประชาชน ได้รับสิ่งที่ต้องการตามที่กล่าวไปตามสมควร รวมไปถึงรัฐบาล, ผู้แทนราษฎร, และ หน่วยงาน, ข้าราชการทุกแขนง มีความเอาใจใส่ ดูแลประชาชนในทุกด้าน ตามบทบาทหน้าที่ อย่างเต็มกาลังสามารถ การขัดแย้งทางความคิดย่อมไม่เกิดขึ้น หรืออาจจะมีความขัดแย้งทาง ความคิดบ้างเล็กน้อยเป็นธรรมดา ไม่ถึงกับเป็นสาเหตุทาให้เกิดความแตกแยกสามัคคี นาไปสู่การ ชุมนุมและย่อมจะมีแต่ความสามัคคี ความรักใคร่ปรองดอง อย่างแน่นแฟ้นของคนในชาติ อีก
  • 5. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 5 ประการหนึ่งเกี่ยวกับการกาหนด นโยบาย, แผนงาน, โครงการฯและการปฎิบัติ ของแต่ละ กระทรวง, ทบวง, กรม ที่ไม่สอดคล้องไม่สัมพันธ์กัน ก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดความขัดแย้งทาง ความคิด เป็นสาเหตุทาให้ประชาชนบางส่วนหรือส่วนมากไม่ได้รับความเป็นธรรม ดังนั้น กระทรวง , ทบวง, กรม ต่างๆ “อาจจะต้อง” มีการประชุมปรึกษา ในการกาหนดนโยบาย, แผนงาน, โครงการฯและการปฎิบัติ ร่วมกัน, สอดคล้องสัมพันธ์กัน, เอื้ออานวยซึ่งกันและกัน ตั้งแต่ละดับสูง ไปจนถึงระดับปฎิบัติงาน ย่อมสามารถลดการขัดแย้งทางความคิดของประชาชนลงได้ หรือไม่มีการ ขัดแย้งทางความคิดเกิดขึ้นเลย ประชาชนควรได้รับความรู้ หรือมีความรู้ความเข้าใจ ในระบอบการปกครอง รวมถึงระบบ ระเบียบวิธีการทางานหรือกลวิธีของพรรคการเมือง และควรได้รับความรู้ มีความเข้าใจ เกี่ยวกับ กลวิธีในการทุจริตคอร์รัปชั่น ประพฤติมิชอบ การรับเงินสมนาคุณ หรือกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ พรรคการเมืองและนักการเมืองทุกรูปแบบ รวมถึงความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายที่สาคัญใน ชีวิตประจาวันและอื่นๆ เพื่อให้ประชาชนเกิดการเคารพในกฎหมาย ประพฤติปฎิบัติตามกฎเกณฑ์ กติกาหรือตามกฎหมาย, ประชาชนทุกหมู่เหล่า ทุกสาขาอาชีพ ควรได้รับการพัฒนาทางด้านจิตใจ ให้มีคุณธรรมทางศาสนา ให้เกิดมีความรู้ มีความเข้าใจในหลักการหรือหลักคาสอนทางศาสนา อัน จะเป็นบรรทัดฐานหรือเป็นแนวทางในการประพฤติปฎิบัติตามหน้าที่ แห่ง ความเป็นประชาชนชาวไทย เพื่อให้เกิดความมีระเบียบ มีวินัย ทั้งความคิด ทั้งจิตใจ ในทุกด้าน อัน จักทาให้การขัดแย้งทางความคิดในทุกชุมชน, ทุกสังคม, ทุกหน่วยงาน, ทุกกลุ่มบุคคล ลดน้อยลง หรือไม่มีการขัดแย้งทางความคิดที่รุนแรงเกิดขึ้น นั้นย่อมแสดงให้เห็นว่า คนไทย ไดเสริมสร้าง ความสามัคคี คือ ได้เพิ่มพูนให้ดีขึ้นหรือมั่นคงยิ่งขึ้น ด้วยความพร้อมเพียงกัน, ออมชอม, ประนีประนอม, ยอมกัน, ไม่แก่งแย่งกันฯ ตามจารีตวัฒนธรรมประเพณี, ตามหลักกฎหมาย, ตาม หลักศีลธรรมในศาสนา ซึ่ง “การเสริมสร้างความสามัคคีของคนไทย” จะสาเร็จได้ ก็ด้วยคนไทย ร่วมมือร่วมใจกัน ประพฤติปฎิบัติ เพื่อประเทศไทย และเพื่อคนไทย แนวทางการเสริมสร้างการปรองดองในสังคมไทย ปัจจุบันสังคมไทยกาลังประสบกับวิกฤตการณ์ความขัดแย้งการแตกแยกของคนในชาติ ซึ่งได้ ทวีความรุนแรงและยืดเยื้อมากในทุกวินาที ซึ่งมีสาเหตุเกิดจากความรุนแรงทางโครงสร้างที่ได้ฝัง
  • 6. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 6 รากลึกอย่างยาวนานในสังคมไทย ทาให้เกิดความไม่เสมอภาคเท่าเทียมระหว่างชนชั้นของคนไทย ในสังคม รัฐไม่สามารถรักษาผลประโยชน์ของประชาชนได้อย่างแท้จริง เกิดการเสื่อมสลายของความ ไว้วางใจในสังคม ที่มีต่อรัฐ เกิดปรากฏการณ์การแบ่งพวกของประชาชนเป็นฝักฝ่ายอย่างชัดเจนซึ่ง เป็นการสร้างสถานะของความเป็นพวกเขาพวกเราหรือความเป็นอื่น และเป็นการสร้างความเกลียด ชังจนมาสู่การทาลายกันทางความคิด คาพูดและการกระทาของประชาชนในประเทศไทยอย่างไม่ เคยปรากฏมาก่อน จนทาให้เกิดปฎิกิริยาของสาธารณชนในเชิงต่อต้านอานาจรัฐอย่างชัดเจน เช่น การต่อต้านการจัดระเบียบสังคม การต่อต้านการบังคับใช้กฎหมายของภาครัฐ การชุมชนุมประทวง ด้วยสันติวิธีจนถึงขั้นใช้กาลังและความรุนแรง ภาพของประชาชนชาวไทยที่ประหัตประหารกันเองถูกถ่ายทอดมาสู่สายตาของคนไทยทั้ง ประเทศ และประชาคมโลกผ่านสื่อต่างๆ อย่างต่อเนื่องเปรียบเสมือนการตอกย้าความขัดแย้ง
  • 7. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 7
  • 8. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 8 หนังสือเรียนสาระการพัฒนาสังคม ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น รายวิชาศาสนา และหน้าที่พลเมือง (สค ๒๑๐๐๒) บทที่ ๔ พัฒนาการทางการเมืองและการอยู่ร่วมกันในระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (ยกร่าง เนื้อหา ให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดใหม่ คงบทที่ ๔ และเรื่องที่ ๑ ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเพิ่มเติม เรื่องที่ ๒) ตัวชี้วัด ๒. มีความรู้ ความเข้าใจ ในเรื่อง หลักอานาจอธิปไตย หลักความเสมอภาค หลักนิติรัฐและนิติธรรม หลักเหตุผล หลักประนีประนอมและหลักการยอมรับความเห็นต่าง เนื้อหา ๒.๑ หลักอานาจอธิปไตย หลักความเสมอภาค หลักนิติรัฐและนิติธรรม หลักเหตุผล หลักประนีประนอมและหลักการยอมรับความเห็นต่างเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสามัคคีปรองดอง ๒.๒ การปฏิรูปการเมืองและจุดเด่นของรัฐธรรมนูญที่เกี่ยวข้องกับสิทธิ เสรีภาพหน้าที่ของประชาชน
  • 9. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 9 เรื่องที่ ๒ หลักการทางประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่สาคัญ เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสามัคคีปรองดอง ๒.๑ หลักการทางประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขที่สาคัญ (อธิบายหลักการทางประชาธิปไตยอันพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขมีที่สาคัญ หลักอานาจอธิปไตย หลักความ เสมอภาค หลักนิติรัฐและนิติธรรม หลักเหตุผล หลักประนีประนอมและหลักการยอมรับความเห็นต่าง) อานาจอธิปไตย (Sovereignty) หมายถึง อานาจสูงสุดในการปกครองรัฐหรือประเทศ ดังนั้น สิ่งอื่นใดจะมีอานาจยิ่งกว่า หรือ ขัดต่ออานาจอธิปไตยไม่ได้ อานาจอธิปไตยย่อมมีความแตกต่างกันไปในแต่ละระบอบการปกครอง เช่น ในระบอบประชาธิปไตย อานาจ อธิปไตยเป็นของประชาชน กล่าวคือ ประชาชนคือผู้มีอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช อานาจ อธิปไตยเป็นของพระมหากษัตริย์ คือกษัตริย์ เป็นผู้มีอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ เป็นต้น อนึ่ง อานาจอธิปไตยนี้นับเป็น องค์ประกอบสาคัญที่สุดของความเป็นรัฐเพราะการที่จะเป็นรัฐได้นั้น นอกจากจะต้องประกอบด้วยอาณาเขต ประชากรและรัฐบาลแล้ว ย่อมต้องมีอานาจอธิปไตยด้วยกล่าวคือประเทศนั้นต้องเป็นประเทศที่สามารถมีอานาจสูงสุด (อานาจอธิปไตย) ในการปกครองตนเองจึง จะสามารถเรียกว่า “รัฐ” ได้ ลักษณะสาคัญของอานาจอธิปไตย มีดังนี้  มีความเด็ดขาด (Absoluteness) หมายถึง การไม่มีอานาจทางกฎหมายอื่นใดในรัฐเหนือกว่าอานาจอธิปไตย และ อานาจนิติบัญญัติของรัฐย่อมไม่อาจจะถูกกาจัดโดยตัวบทกฎหมายใดๆ ได้  มีความถาวร (Permanence) หมายถึง อานาจอธิปไตยมีลักษณะถาวร ซึ่งต่างกันกับรัฐบาล โดยรัฐบาลอาจมีการ เปลี่ยนแปลงได้ แต่อานาจอธิปไตยต้องอยู่ตลอดไปหากอานาจอธิปไตยถูกทาลาย รัฐนั้นจะสูญสลายไปด้วย หรือพูด ได้อีอย่างหนึ่งว่า รัฐที่สูญเสียอานาจอธิปไตยจึงหมดสิ้นความเป็นรัฐไปนั้นเอง  ใช้ได้เป็นการทั่วไป (Comprehensiveness) หมายถึง อานาจอธิปไตยย่อมมีอานาจเหนือบุคคลทุกคนที่อยู่อาศัย ในรัฐนั้นอย่างไม่มีข้อยกเว้นและเป็นไปอย่างกว้างขว้างที่สุดแล้วแต่ผู้ใช้อานาจจะเห็นสมควรและองค์การทุกแห่ง บรรดาที่มีอยู่ในรัฐก็อยู่ภายใต้อานาจอธิปไตย แต่หากการที่ผู้แทนทางการฑูตได้รับสิทธิพิเศษบางประการเป็นเพียง ถ้อยทีถ้อยปฏิบัติต่อกันตามมารยาทการฑูตเท่านั้น  แบ่งแยกไม่ได้ (Indivisibility) หมายถึง ในรัฐหนึ่งๆ จะต้องมีอานาจอธิปไตยเพียงหน่วยเดียว หากมีการแบ่งแยก อานาจอธิปไตยแล้วก็เท่ากับว่าอานาจอธิปไตยได้ถูกทาลาย ซึ่งจะทาให้รัฐแตกสลายตัวไป ตัวอย่างเช่น ประเทศ เกาหลีอานาจอธิปไตยเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน แต่เมื่อมีการแบ่งอานาจอธิปไตยออกไป ทาให้เกิดรัฐใหม่ขึ้น คือ เกาหลีใต้กับเกาหลีเหนือ เป็นต้น อานาจอธิปไตยเป็นอานาจสูงสุดในการปกครองประเทศ ซึ่งตามระบอบประชาธิปไตยถือว่าเป็นอานาจของประชาชน ใช้ผ่าน ทางตัวแทน แบ่งออกเป็น ๓ ส่วน คือ อานาจนิติบัญญัติ อานาจบริหาร อานาจตุลากร
  • 10. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 10 - อานาจนิติบัญญัติ เป็นอานาจในการออกกฎหมายและควบคุมการทางานของรัฐบาลเพื่อประโยชน์ของประชาชน และประเทศชาติ ประชาชนชาวไทยใช้อานาจนี้โดยการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรไปทาหน้าที่แทนในรัฐสภา - อานาจบริหาร เป็นอานาจการบริหารราชการแผ่นดินและการปกครอง ซึ่งมีคณะรัฐมนตรีหรือรัฐบาลเป็นผู้ใช้ อานาจและรับผิดชอบในการบริหารราชการแผ่นดินให้เป็นไปตามนโยบายที่แถลงต่อรัฐสภา - อานาจตุลาการ เป็นอานาจในการวินิจฉัยตัดสินคดีความตามกฎหมาย โดยมีหน่วยงานศาลและกระทรวงยุติธรรม เป็นผู้ใช้อานาจ ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข เพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สามัคคี ปรองดอง อย่างน้อยต้อง ตั้งอยู่บนรากฐานหลักการที่สาคัญ ดังต่อไปนี้ คือ ๑) หลักการอานาจอธิปไตย เป็นของปวงประชาชน ประชาชนแสดงออกซึ่งการเป็นเจ้าของโดยใช้อานาจที่มีตาม กระบานการ เลือกตั้งอย่างอิสระและทั่วถึงในการให้ได้มาซึ่งตัวผู้ปกครองและผู้แทนของตนรวมทั้งประชาชนมีอานาจในการคัดค้านและถอดถอน ผู้ปกครองและผู้แทนที่ประชาชนเห็นว่า มิได้บริหารประเทศในทางที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมส่วนรวม เช่น มีพฤติกรรมร่ารวยผิดปกติ ๒) หลักเสรีภาพ ประชาชนทุกคนมีความสามารถในการกระทาหรืองดเว้นการกระทาอย่างใดอย่างหนึ่งตามที่บุคคลต้องการ ตราบเท่าที่การกระทาของเขานั้น ไม่ไปละเมิดลิดรอนสิทธิเสรีภาพของบุคคลอื่น หรือละเมิดต่อความสงบเรียบร้อยของสังคมและความ มั่นคงของประเทศชาติ ๓) หลักความเสมอภาค การเปิดโอกาสให้ประชาชนทุกคนสามารถเข้าถึงทรัพยากรและคุณค่าต่างๆ ของสังคมที่มีอยู่จากัด อย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่ถูกกีดกันด้วยสาเหตุแห่งความแตกต่างทางชั้นวรรณะทางสังคม ชาติพันธุ์ วัฒนธรรมความเป็นอยู่ ฐานะทาง เศรษฐกิจหรือด้วยสาเหตุอื่น ๔) หลักนิติรัฐและหลักนิติธรรม เป็นหลักการของรัฐที่มีการปกครองโดยกฎหมายหรือหลักนิติธรรม หลักการใช้หลักกฎหมาย เป็นกฎเกณฑ์การอยู่ร่วมกัน เพื่อความสงบสุขของสังคม การให้ความคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนทั้งในเรื่องสิทธิเสรีภาพใน ทรัพย์สิน การแสดงออก การดารงชีพ ฯลฯ อย่างเสมอหน้ากันโดยผู้ปกครองไม่สามารถใช้อานาจใดๆ ลิดรอนเพิกถอนสิทธิเสรีภาพของ ประชาชนได้และไม่สามารถใช้อภิสิทธิอยู่เหนือกฎหมาย หรือเหนือกว่าประชาชนคนอื่นๆ ได้ ๕) หลักการเสียงข้างมาก (Majority rule) ควบคู่ไปกับการเคารพในสิทธิของเสียงข้างน้อย (Majority Rights) การตัดสินใจใดๆ ที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนหมู่มาก ไม่ว่าจะเป็น การเลือกตั้งผู้แทนของประชาชนเข้าสู่ระบบการเมือง การตัดสินใจของฝ่ายนิติบัญญัติ
  • 11. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 11 ฝ่ายบริหาร หรือฝ่ายตุลาการ ย่อมต้องถือเอาเสียงข้างมากที่มีต่อเรื่องนั้นๆ เป็นเกณฑ์ในการตัดสินทางเลือก โดยถือว่าเสียงข้างมากเป็น ตัวแทนที่สะท้อนความต้องการ/ข้อเรียกร้องของประชาชนหมู่มาก หลักการนี้ ต้องควบคู่ไปกับการ เคารพและคุ้มครองสิทธิเสียงข้าง น้อยด้วย ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นหลักประกันว่า ฝ่ายเสียงข้างมากจะไม่ใช้วิธีการ พวกมากลากไปตามผลประโยชน์ความเห็น หรือกระแสความ นิยมของพวกตนอย่างสุดโต่ง แต่ต้องดาเนินการเพื่อประโยชน์ความเห็นของประชาชนทั้งหมดเพื่อสร้างสังคมที่ประชาชนเสียงข้างน้อย รวมทั้งชนกลุ่มน้อยผู้ด้อยโอกาสต่างๆ สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุขโดยไม่มีการเอาเปรียบกันและสร้างความขัดแย้งในสังคมมาก เกินไป ๖) หลักเหตุผล เป็นหลักการใช้เหตุผลที่ถูกต้องในการตัดสินหรือยุติปัญหาในสังคม ในการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสามัคคี ปรองดอง ผู้คนต้องรู้จักยอมรับฟังความเห็นต่าง และรับฟังเหตุผลของผู้อื่น ไม่ดื้อดึงในความคิดเห็นของตนเอง จนคนอื่นมองเราเป็นคน มี มิจฉาทิฐิ ๗) หลักประนีประนอม เป็นหลักการการลดความขัดแย้งโดยการผ่อนหนักผ่อนเบาให้กัน ร่วมมือกันเพื่อเห็นแก่ประโยชน์ของ ส่วนรวมเป็นสาคัญ เป็นทางสายกลางซึ่งทั้งสองฝ่ายจะต้องได้และเสียในบางอย่าง ไม่ได้ครบตามที่ตนปรารถนา จัดเป็นวิธีการที่ทาให้ ทุกฝ่ายสามารถอยู่ร่วมกันต่อไปได้อย่างสันติ วิธีการในการประนีประนอมอาจใช้เทคนิคการเจรจาต่อรอง (bargaining) การไกล่เกลี่ย โดยผู้บังคับบัญชาหรือบุคคลที่สาม (the third person) เป็นต้น ๘) หลักการยอมรับความเห็นต่าง เป็นหลักการเสียงข้างมาก (Majority rule) ควบคู่ไปกับการเคารพในสิทธิของเสียงข้างน้อย (Majority Rights) การตัดสินใจใดๆ ที่ส่งผลกระทบต่อประชาชนหมู่มาก ไม่ว่าจะเป็น การเลือกตั้งผู้แทนของประชาชนเข้าสู่ระบบ การเมือง การตัดสินใจของฝ่ายนิติบัญญัติ ฝ่ายบริหาร หรือฝ่ายตุลาการ ย่อมต้องถือเอาเสียงข้างมากที่มีต่อเรื่องนั้นๆ เป็นเกณฑ์ในการ ตัดสินทางเลือก โดยถือว่าเสียงข้างมากเป็นตัวแทนที่สะท้อนความต้องการ/ข้อเรียกร้องของประชาชนหมู่มาก หลักการนี้เพื่อการอยู่ ร่วมกันด้วยความสันติสามัคคี ปรองดอง ไม่ว่าเสียงข้างมากหรือเสียงข้างน้อย ต้องทาใจยอมรับความเห็นต่างอันเป็นการหลอมรวม หลักความเสมอภาค หลักเสรีภาพและหลักประนีประนอม โดยการเคารพและคุ้มครองสิทธิของผู้อื่นด้วย ทั้งนี้ก็เพื่อเป็นหลักประกันว่า ไม่ว่าฝ่ายเสียงข้างมากหรือฝ่ายเสียงข้างน้อยเพื่อการอยู่ร่วมกันด้วยความสันติสามัคคี ปรองดองทุกฝ่ายต้องยอมรับความเห็นต่าง รวมทั้งฝ่ายเสียงข้างมากเองก็จะไม่ใช้วิธีการ พวกมากลากไปตามผลประโยชน์ความเห็น หรือกระแสความนิยมของพวกตนอย่างสุดโต่ง แต่ต้องดาเนินการเพื่อประโยชน์ความเห็นของประชาชนทั้งหมดหรือทุกฝ่ายเพื่อสร้างสังคมที่ประชาชนเสียงข้างน้อย หรือประชาชนที่มี ความเห็นต่างจากฝ่ายตน สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างสันติ สามัคคี ปรองดอง โดยไม่มีการเอาเปรียบกันและสร้างความขัดแย้งในสังคม มากเกินไป ค่านิยมทัศนคติที่ส่งเสริมประชาธิปไตย ระบอบประชาธิปไตยนอกจากจะเป็นระบอบการเมืองแล้ว ยังเป็นระบอบเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมด้วย ดังนั้นจึงไม่ใช่อยู่ที่รัฐธรรมนูญ กฎหมายการเลือกตั้งและการต่อรองทางการเมืองเท่านั้น หากอยู่ที่สมาชิกในสังคม จะต้องช่วยกันหล่อหลอม สร้างค่านิยม วิถีชีวิตที่เป็นประชาธิปไตยมาตั้งแต่ในครอบครัว โรงเรียน ที่ทางาน ชุมชน เพื่อจะนาไปสู่หรือ การปกป้องระบอบประชาธิปไตย ทั้งทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม
  • 12. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 12 ๒.๒ การเสริมสร้างความปรองดองในสังคมไทย (อธิบายความหมาย และความสาคัญของการเสริมสร้าง ความปรองดองในสังคมไทย) ความหมาย ความสาคัญของการเสริมสร้างความปรองดอง ในสังคมไทย การเสริมสร้างความปรองดองในสังคมไทย หมายความถึง “การเพิ่มพูนให้ดีขึ้นหรือมั่นคงยิ่งขึ้นด้วยความพร้อมเพรียงกัน หรือการเพิ่มพูนให้ดีขึ้นด้วยการออมชอม ประนีประนอม ยอม กัน ไม่แก่งแย่งกัน ตกลงด้วยความไกล่เกลี่ย และตกลงกันด้วยความมีไมตรีจิต ของประชาชนคนไทย” คนไทยส่วนใหญ่ ล้วนมีความรักใคร่และสามัคคีปรองดองกันอยู่แล้วในทุกถิ่น ด้วยความมีจารีตวัฒนธรรมประเพณีกับความมี ศีลธรรม ในสายเลือดและในจิตใจ สืบทอดต่อต่อกันมา การขัดแย้งทางความคิดในกลุ่มคนย่อมเกิดมีได้บ้างเป็นเรื่องธรรมดา แต่ถ้าหาก การขัดแย้งทางความคิด ได้รับการไกล่เกลี่ย ได้รับความรู้ ได้รับข่าวสารหรือได้รับอธิบายจนเกิดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง การขัดแย้ง ทางความคิดเหล่านั้นก็จะหมดไปได้ ไม่ก่อให้เกิดความแตกแยกสามัคคี ไม่ก่อให้เกิดความรุนแรงใดใด ทั้งทางวาจาและทางกาย เพราะ คนไทย เป็นชนชาติที่รักสงบ รักพวกพ้องและรักแผ่นดินถิ่นเกิด ประเทศไทย มีการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุขมา กว่า ๗๐ ปี ล้มลุกคลุกครามมาโดยตลอด มีการปฏิวัติรัฐประหารเกิดขึ้นหลายครั้ง สาเหตุเกิดจาก การที่บรรดานักการเมือง หรือกลุ่มบุคคลทางการเมือง ประพฤติปฏิบัติ บริหาร จัดการ ไปในทางที่ทาให้เกิดความเสียหายต่อประเทศชาติและประชาชน แต่ก็มีกลุ่มประชาชน นักการเมือง กลุ่มนักวิชาการบางกลุ่ม และกลุ่มผู้ใช้หรืออาศัย ระบอบการปกครองเป็นเครื่องมือ ในการแสวงหาและปกป้องผลประโยชน์ มักเรียกร้องให้คืนประชาธิปไตย กล่าวหาว่า การปฏิวัติรัฐประหารเป็นเผด็จการ โดยความรู้เท่าไม่ถึงกาล ด้วยความไม่รู้จริงไม่รู้แจ้ง ในระบบการปกครองทั้งหลาย ความจริงแล้วระบบการปกครองแบบไหนๆ ก็ดีเหมือนกันทั้งนั้น ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม การประพฤติปฏิบัติ การบริหารจัดการหรือ การใช้ ว่าจะมีความเหมาะสมสามารถประพฤติปฏิบัติ, บริหารจัดการหรือใช้ ตามรูปแบบของระบอบประชาธิปไตยนั้นๆ ให้เกิดผลดีได้ เพียงใด อีกทั้งยังมีปัจจัยอื่นๆ หลายปัจจัย อันเป็นส่วนประกอบที่จะทาให้ประเทศนั้นๆ ควรใช้ระบอบการปกครองรูปแบบใด เพื่อให้ เกิดประโยชน์ เกิดความสุข เกิดความมั่นคงต่อประเทศชาติและประชาชน สาหรับนักการเมืองและกลุ่มบุคคลที่เกี่ยวข้อง ควรมีศีลธรรมจรรยา ยึดถือหลักศีลธรรมในศาสนาอยู่เป็นนิจ มีความรัก ประเทศชาติบ้านเมือง เห็นประโชยน์ของประเทศชาติและประชาชนสาคัญกว่าประโยชน์ส่วนตน การขัดแย้งทางความคิดของกลุ่ม นักการเมืองและผู้ที่เกี่ยวข้องย่อมเกิดขึ้นได้น้อยมากหรืออาจไม่เกิดขึ้นเลย นั่นย่อมเป็นสิ่งแสดงว่า จะมีผู้ที่ไม่ประสงค์ดีต่อประเทศชาติ ของประชาชน ไปยุยงหรือให้อามิสสินจ้างกับประชาชนเพื่อให้เกิดความคิดที่ขัดแย้ง แตกแยกความสามัคคี ก่อการชุมนุม นาไปสู่การใช้ ความรุนแรง ก่อการจลาจล เกิดความเดือดร้อนความเสียงหายต่อประชาชนและ ประเทศชาติบ้านเมือง ประชาชนส่วนใหญ่ เกิดความขัดแย้งเกี่ยวกับ ความต้องการมีรายได้ที่พอเพียง มีอาชีพมีงานทา การไม่ถูกเอารัดเอาเปรียบหรือ แย้งการประกอบอาชีพ ความต้องการมีที่ทากินของเกษตรกร ปลดเปลื้องหนี้สิน ความต้องการขายสินค้าทางการเกษตรกรรมให้ได้ราคา ที่เป็นธรรม การกินดีอยู่ดี ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ความเสมอภาคหรือความเท่าเทียมกันในการศึกษา การเข้าถึงหรือได้รับ สิทธิขั้นพื้นฐานและสวัสดิการต่างๆ อย่างเท่าเทียม และอื่นๆ ถึงแม้ว่าอาจจะมีการแข่งขันกันบ้างในบ้างเรื่องบางอย่าง อีกทั้งการได้รับ การดูแลเอาใจใส่จากรัฐบาล ผู้แทนราษฎรและหน่วยงาน ข้าราชการทุกแขนงอย่างเต็มกาลังสามารถ ถ้าหากประชาชน ได้รับสิ่งที่ ต้องการตามที่กล่าวไปตามสมควร รวมไปถึงรัฐบาล ผู้แทนราษฎรและหน่วยงาน ข้าราชการทุกแขนง มีความเอาใจใส่ ดูแลประชาชนใน ทุกด้าน ตามบทบาทหน้าที่ อย่างเต็มกาลังสามารถ การขัดแย้งทางความคิดย่อมไม่เกิดขึ้น หรืออาจจะมีความขัดแย้งทางความคิดบ้าง
  • 13. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 13 เล็กน้อยเป็นธรรมดา ไม่ถึงกับเป็นสาเหตุทาให้เกิดความแตกแยกสามัคคี นาไปสู่การชุมนุมและย่อมจะมีแต่ความสามัคคี ความรักใคร่ ปรองดอง ของคนในชาติ อีกประการหนึ่งเกี่ยวกับการกาหนด นโยบาย แผนงาน โครงการฯและการปฏิบัติ ของแต่ละกระทรวง, ทบวง, กรม ที่ไม่สอดคล้องไม่สัมพันธ์กัน ก็เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้เกิดความขัดแย้งทางความคิด เป็นสาเหตุทาให้ประชาชนบางส่วนหรือ ส่วนมากไม่ได้รับความเป็นธรรม ดังนั้น กระทรวง ทบวง กรม ต่างๆ “อาจจะต้อง” มีการประชุมปรึกษา ในการกาหนดนโยบาย แผนงาน โครงการฯและการปฏิบัติ ร่วมกัน สอดคล้องสัมพันธ์กัน เอื้ออานวยซึ่งกันและกัน ตั้งแต่ละดับสูง ไปจนถึงระดับปฏิบัติงาน ย่อมสามารถลดการขัดแย้งทางความคิดของประชาชนลงได้ หรือไม่มีการขัดแย้งทางความคิดเกิดขึ้นเลย ประชาชนควรได้รับความรู้ หรือมีความรู้ความเข้าใจ ในระบอบการปกครอง รวมถึงระบบระเบียบวิธีการทางานหรือกลวิธีของ พรรคการเมือง และควรได้รับความรู้ มีความเข้าใจ เกี่ยวกับกลวิธีในการทุจริตคอร์รัปชั่น ประพฤติมิชอบ การรับเงินสมนาคุณ หรือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับพรรคการเมืองและนักการเมืองทุกรูปแบบ รวมถึงความรู้ เกี่ยวกับกฎหมายที่สาคัญในชีวิตประจาวันและอื่นๆ เพื่อให้ประชาชนเกิดการเคารพในกฎหมาย ประพฤติปฏิบัติตามกฎเกณฑ์กติกาหรือตามกฎหมาย, ประชาชนทุกหมู่เหล่า ทุกสาขาอาชีพ ควรได้รับการพัฒนาทางด้านจิตใจให้มีคุณธรรมทางศาสนา ให้เกิดมีความรู้ มีความเข้าใจในหลักการหรือหลักคาสอนทางศาสนา อันจะ เป็นบรรทัดฐานหรือเป็นแนวทางในการประพฤติปฏิบัติตามหน้าที่ แห่งความเป็นประชาชนชาวไทย เพื่อให้เกิดความมีระเบียบ มีวินัย ทั้งความคิด ทั้งจิตใจ ในทุกด้าน อันจักทาให้การขัดแย้งทางความคิดในทุกชุมชน ทุกสังคม ทุกหน่วยงาน ทุกกลุ่มบุคคล ลดน้อยลง หรือไม่มีการขัดแย้งทางความคิดที่รุนแรงเกิดขึ้น นั้นย่อมแสดงให้เห็นว่า คนไทย ไดเสริมสร้างความสามัคคี คือ ได้เพิ่มพูนให้ดีขึ้นหรือ มั่นคงยิ่งขึ้น ด้วยความพร้อมเพียงกัน ออมชอม ประนีประนอม ยอมกัน ไม่แก่งแย่งกันฯ ตามจารีตวัฒนธรรมประเพณี ตามหลัก กฎหมาย ตามหลักศีลธรรมในศาสนา ซึ่ง “การเสริมสร้างความสามัคคีของคนไทย” จะสาเร็จได้ ก็ด้วยคนไทยร่วมมือร่วมใจกัน ประพฤติปฏิบัติ เพื่อประเทศไทย และเพื่อคนไทย แนวทางการเสริมสร้างการปรองดองในสังคมไทย ปัจจุบันสังคมไทยกาลังประสบกับวิกฤตการณ์ความขัดแย้งการแตกแยกของคนในชาติ ซึ่งได้ทวีความรุนแรงและยืดเยื้อมากใน ทุกวินาที ซึ่งมีสาเหตุเกิดจากความรุนแรงทางโครงสร้างที่ได้ฝังรากลึกอย่างยาวนานในสังคมไทย ทาให้เกิดความไม่เสมอภาคเท่าเทียม ระหว่างชนชั้นของคนไทยในสังคม รัฐไม่สามารถรักษาผลประโยชน์ของประชาชนได้อย่างแท้จริง เกิดการเสื่อมสลายของความไว้วางใจในสังคม ที่มีต่อรัฐ เกิด ปรากฏการณ์การแบ่งพวกของประชาชนเป็นฝักฝ่ายอย่างชัดเจนซึ่งเป็นการสร้างสถานะของความเป็นพวกเขาพวกเราหรือความเป็นอื่น และเป็นการสร้างความเกลียดชังจนมาสู่การทาลายกันทางความคิด คาพูดและการกระทาของประชาชนในประเทศไทยอย่างไม่เคย ปรากฏมาก่อน จนทาให้เกิดปฏิกิริยาของสาธารณชนในเชิงต่อต้านอานาจรัฐอย่างชัดเจน เช่น การต่อต้านการจัดระเบียบสังคม การ ต่อต้านการบังคับใช้กฎหมายของภาครัฐ การชุมนุมประทวงด้วยสันติวิธีจนถึงขั้นใช้กาลังและความรุนแรง ภาพของประชาชนชาวไทยที่ประหัตประหารกันเองถูกถ่ายทอดมาสู่สายตาของคนไทยทั้งประเทศ และประชาคมโลกผ่านสื่อ ต่างๆ อย่างต่อเนื่องเปรียบเสมือนการตอกย้าความขัดแย้ง
  • 14. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 14
  • 15. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 15 สร้างสรรค์ค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ กิจกรรม ให้ผู้เรียน...........................................................................................................................................
  • 16. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 16 ๒.๓ การอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สามัคคี ปรองดอง ตามวิถีทางระบอบประชาธิปไตยบนพื้นฐานของคุณธรรมจริยธรรม พื้นฐานของคุณธรรมจริยธรรม พระพรมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) (2551 : 51, 57) ได้ให้หมายของคาว่า “คุณธรรม” ไว้อย่างชัดเจนว่าหมายถึง ธรรมที่เป็น คุณ ความดีงาม สภาพที่เกื้อกูลกัน ส่วนคาว่า “จริยธรรม” หมายถึง หลักความประพฤติ หลักในการดาเนินชีวิต หรือความประพฤติอัน ประเสริฐ หรือการดาเนินชีวิตอันประเสริฐ จะเห็นได้ว่า คุณธรรม จริยธรรม นี้ไม่ได้มีความหมายหรือคุณค่าเฉพาะในทางพระพุทธศาสนาเท่านั้น หากแต่เป็นแนวคิดที่เป็น สากล เพราะเป็นหลักการที่สังคมมนุษย์จะต้องประพฤติปฏิบัติ มีความสาคัญในอันที่จะเกื้อกูลให้สังคมมนุษย์ได้อยู่ร่วมกันอย่างมี ความสุขแม้ว่าสังคมนั้นจะตั้งอยู่บนความหลากหลายก็ตาม หากว่ากฎหมาย กฎระเบียบหรือข้อบังคับต่างๆ ที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อควบคุม ความประพฤติของมนุษย์มิให้ล่วงละเมิดสิทธิระหว่างกันแล้ว คุณธรรม จริยธรรมก็คือกฎเกณฑ์ที่ควบคุมความประพฤติ ควบคุมระบบ ความคิดของมนุษย์ให้ยอมรับและเข้าใจความหมายที่แท้จริงของชีวิต เป็นการอยู่ร่วมกันที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของการเกื้อกูลกัน คุณธรรม จริยธรรมเป็นเรื่องของระบบคิดที่ยอมรับความเป็นจริงของชีวิตอย่างดุษฎีไม่สามารถวัดและประเมินผลในเชิงปริมาณ ได้ ดังนั้นการสร้างคุณธรรม จริยธรรมให้เกิดขึ้นได้จึงต้องอาศัยการปลูกฝังระบบคิดดังกล่าวให้เข้าไปอยู่ในทุกช่วงชีวิตของมนุษย์ และ ต้องไม่เป็นหน้าที่ของหน่วยงานใดหน่วยงานหนึ่งอย่างสถาบันการศึกษา หากแต่ควรเป็นทุกภาคส่วนของสังคมต้องเข้ามามีส่วนร่วมใน การปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมให้เกิดมีขึ้นให้ได้ จะเห็นได้ว่าเรื่องของคุณธรรม จริยธรรม เป็นการพัฒนาความเป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ไม่เพียงเฉพาะเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสันติ สามัคคีปรองดอง เท่านั้นยังเป็นพื้นฐานของการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุขไม่แตกแยกในระบอบประชาธิปไตย หากแต่เป็นการเตรียม “คน ไทย” ให้มีความพร้อมในการอยู่ร่วมกันในฐานะสมาชิกในสังคมเดียวกันจะนามาซึ่งการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุขได้ สามัคคีและปรองดอง ความสามัคคีและปรองดอง เป็นสิ่งที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงให้ความสาคัญ และเป็นประเด็นที่ทรงสอดแทรกไว้ใน พระบรมราโชวาท และพระราชดารัสที่พระราชทานในโอกาสต่างๆ หลายครั้ง รวมทั้งได้ทรงถือปฏิบัติไว้ในหลักการทรงงาน ดังจะเห็นได้ ว่าพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดารัสเกี่ยวกับเรื่อง “รู้ รัก สามัคคี” มาอย่างต่อเนื่อง โดยทรงเน้นย้าว่า เป็นคา 3 คาที่มี ค่าและความหมายลึกซึ้ง พร้อมปรับใช้ได้ทุกยุคทุกสมัย โดยได้ทรงอธิบายความหมายในแต่ละคา ดังนี้ รู้ หมายถึง การที่เราจะลงมือทาสิ่งใดนั้นจะต้องรู้เสียก่อน รู้ถึงปัจจัยทั้งหมด รู้ถึงปัญหา รู้ถึงสาเหตุและรู้ถึงวิธีการ แก้ปัญหา รัก หมายถึง ความรัก เมื่อเรารู้ครบถ้วนกระบวนความแล้ว จะต้องมีความรักที่จะเข้าไปลงมือปฏิบัติแก้ไขปัญหานั้นๆ สามัคคี หมายถึง การที่จะลงมือปฏิบัตินั้น ควรคานึงเสมอว่าเราจะทางานคนเดียวไม่ได้ ต้องทางานร่วมมือร่วมใจเป็น องค์กร เป็นหมู่คณะ จึงจะมีพลังเข้าไปแก้ปัญหาให้ลุล่วงไปได้ด้วยดี จากหลักการทรงงานที่พบได้ในพระราชดารัสและพระบรมราโชวาทที่พระราชทานในโอกาสต่างๆ ได้ทรงมีพระราชกระแสรับสั่ง เกี่ยวกับเรื่องความสามัคคีและปรองดองว่า เป็นเสมือนพื้นฐานสาคัญที่จะสามารถสร้างพลังแห่งความเป็นเอกภาพให้บ้าน เมืองอยู่รอด ปลอดภัยได้อย่างสมดุล มั่นคงและยั่งยืนได้ดังจะขออัญเชิญมาดังนี้ พระราชดารัสพระราชทานในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม2534 ความตอนหนึ่งว่า ”…อีกอย่างหนึ่งที่จะ แก้ไขสถานการณ์ต่างๆ ได้ ก็ได้พูดแล้ว…ตอนแรกได้พูดว่า คนไทยเราที่รักษาเอกราชอธิปไตยไว้ได้ ก็โดยอาศัยการที่ “รู้จักความสามัคคี และรู้จักทาหน้าที่ของแต่ละฝ่ายให้ประสานส่งเสริมกัน” ความจริงเขียนไว้ว่า “รู้รักความสามัคคี”…การที่จะรู้จักสามัคคีก็ลาบากมาก
  • 17. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 17 เพราะคนมากๆ รู้จักกันทั่วถึงไม่ค่อยได้ แต่ “รู้ รัก สามัคคี” ควรจะใช้ได้เพราะหมายความว่า ทุกคนถือว่าตนเป็นคนไทย มีอะไรเกิดขึ้น ก็ตามทุกคนรู้ว่าต้องมีความสามัคคี “รู้” ก็คือ “ทราบ” ทราบความหมายของสามัคคี “รัก” คือ “นิยม” นิยมความสามัคคี เพราะเหตุใด คนไทยจึง “รู้ รักสามัคคี” ก็เพราะคนไทยนี่ฉลาดไม่ใช่ไม่ฉลาดคนไทยนี่ฉลาด รู้ว่าถ้าหากเมืองไทยไม่ใช้ความสามัคคี ไม่เห็นอกเห็นใจ กัน ไม่ใช้อะไรที่จะพอรับกันได้ พอที่จะใช้ได้ ก็คงจะไม่ได้ทาอะไร หมายความว่า ทามาหากินก็ไม่ได้…เพราะว่า…ไม่มีความสงบ จะต้อง “รู้รัก สามัคคี” หมายความว่ารู้จักการอะลุ้มอล่วยกัน แม้จะไม่ใช่ถูกต้องเต็มที่ คือหมายความว่าไม่ถูกหลักวิชาเต็มที่ก็จะต้องใช้เพราะว่า ถ้าไม่ใช้ก็ไม่มี อะไรใช้…อาจมีสิ่งที่มีอยู่แล้วที่จะใช้ไปได้ชั่วคราว คุณภาพอาจไม่ค่อยดีนักทุกสิ่งทุกอย่าง ไม่มีอะไรที่ดีร้อยเปอร์เซ็นต์ แต่ ว่าจะต้องใช้อะไรที่พอใช้ได้ไปไม่อย่างนั้นไม่มีวันที่จะมีชีวิตรอด ได้…ตอนนี้ถ้าราษฎร “รู้ รัก สามัคคี” เขาจะเข้าใจว่าเมื่อเขามีรายได้ เขาก็จะยินดีเสียภาษี เพื่อช่วยราชการให้สามารถทาโครงการต่อไป เพื่อความก้าวหน้าของประเทศชาติ ถ้าราษฎร “รู้รัก สามัคคี”และรู้ ว่า “การเสียคือการได้”ประเทศชาติก็จะก้าวหน้า เพราะว่า การที่คนอยู่ดีมีความสุขนั้น เป็นกาไรอย่างหนึ่งซึ่งนับเป็นมูลค่าเงินไม่ได้… การปฏิบัติโดยวิธีการที่อาจ ไม่ถูกหลักวิชานัก แต่ประกอบด้วยความเมตตาด้วยความสามัคคี คือ “รู้ รักสามัคคี”นี้เอง ก็คงจะทาให้อยู่ กันได้ต่อไป…ความจริงประเทศไทยนี้ก้าวหน้ามามากแล้วและก็ ก้าวหน้ามาอย่างสม่าเสมอ ไม่เร็ว เกินไป ไม่ช้าเกินไป สิ่งที่สาคัญก็คือ ต้องใช้หลักที่พูดเมื่อวานนี้ แต่พูดผิดพลาดไป วันนี้จึงมาแก้เสียยืดยาว แก้คาเดียว แก้คาว่า”จัก” เป็น “รัก” หรือ “รัก” เป็น “จัก” ก็ ขอให้ท่านทั้งหลายได้เข้าใจว่า เมื่อวานนี้พูดผิดยอมรับ เขียนไว้อย่างดีว่า “คนไทย รู้ รักสามัคคี” ไปพูดว่า “รู้จักความสามัคคี” ซึ่งก็ไม่ ผิดนัก แต่ “รู้รักความสามัคคี” นั้นซึ้งกว่าเมื่อเป็นเช่นนี้แล้ว เข้าใจว่าท่านทั้งหลายก็จะซึ้ง และ “รู้รักความสามัคคี”…”พระราชดารัส พระราชทานในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา เมื่อวันที่ 4 ธันวาคม2521 ความตอนหนึ่งว่า”…คาว่า “สามัคคี” นี้ ขอให้วิเคราะห์ ศัพท์ ว่าเป็นการกระทาของแต่ละคน ทาความดี เว้นจากความไม่ดี มีความเข้าใจซึ่งกันและกันของแต่ละบุคคล อย่างนี้ชาติสามัคคีชาติ ไม่แตกสลาย คุมไว้ติด คาว่าคุมนี้อาจจะไม่ชอบกัน เพราะเหมือนควบคุม เพราะเหมือนควบคุม เหมือนคุมขัง แต่คุมหมายความว่าอยู่ติด อยู่เป็นชาติได้…” พระบรมราโชวาทพระราชทานในพิธีพระราชทานปริญญาบัตรของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2504 ความตอนหนึ่งว่า “…สามัคคีที่สาคัญที่สุดคืออะไร ก็คือสามัคคีในชาติ ไม่ใช่ว่าความสามัคคีในคณะไม่ดี แต่ต้องระวัง ถ้าสามัคคีกัน แต่ว่าไปก้าวก่าย หรือไปทาให้ผู้อื่นเดือดร้อน ในสถาบันก็เป็นความผิด ถ้าสามัคคีในสถาบันไปทาให้คนอื่นเสียหายหรือเดือดร้อนก็ไม่ดีเพราะทาให้เสีย หายต่อสามัคคีของชาติ…” ประกอบกับคณะรักษาความสงบและความมั่นคงแห่งชาติ (คสช.) ตระหนักและเห็นความสาคัญของการสร้างความสามัคคี และได้ส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในชาติจากทุกภาคส่วนให้มาร่วมกันแสดงความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะที่ สร้างสรรค์ในการพัฒนาสังคมไทยให้มีความสงบสุขที่อยู่บนพื้นฐานของคุณธรรมจริยธรรม ของการให้และมีเมตตาต่อกันซึ่งเป็น วัฒนธรรมพื้นฐานที่อยู่ในใจของประชาชนชาวไทยทุกคน กระบวนการสร้างความปรองดอง ในฐานะที่เป็นหัวใจสาคัญของการพัฒนาและปฏิรูปประเทศที่ทาง คสช. กาหนดนโยบายให้ เกิดความเป็นธรรมแก่ ทุกฝ่าย นับเป็นการเรียนรู้และดาเนินตามรอยพระยุคลบาท จากการศึกษาพระราชดารัสและพระบรมราโชวาท ให้เห็นคุณค่าของความปรองดองกันว่า เป็นรากฐานที่สาคัญของการรักษาเอกราชของชาติไทยดังพระราชดารัสและพระบรม ราโชวาทที่ อัญเชิญมาดังนี้
  • 18. สันติ/สามัคคี/ปรองดอง/ค่านิยม ๑๒ ประการ ของ คสช. : เนื้อหาช่วยสอน และจัดกิจกรรมเพื่อนครู ( จักราวุธ คาทวี ) โดย....จักราวุธ คาทวี กศน.อาเภอสรรพยา สานักงาน กศน.จังหวัดชัยนาท JUKRAVUTH1@GMAIL.COM หน้า 18 พระ ราชดารัส พระราชทานแก่คณะประชาชนจังหวัดราชบุรี เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2531 ความตอนหนึ่งว่า”…บ้าน เมืองไทยสามารถฟันฝ่าอุปสรรคต่างๆ ได้โดยดี เพราะว่าจิตใจสามัคคีและแสดงออกซึ่งสามัคคี ถ้าตราบใดเรารักษาความสามัคคี ความเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกันไว้ได้ เราก็จะอยู่ได้อย่างมีความสุขตราบนั้น…” พระบรมราโชวาทในพิธีสวนสนามของทหารรักษาพระองค์ เมื่อวันที่ 3 ธันวาคม2522 ความตอนหนึ่งว่า ”…บรรพชนไทยเป็นนักต่อสู้ ผู้มีชีวิตจิตใจผูกพันปรองดองเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันสามัคคีพร้อมเพรียงกัน ทุกเมื่อไม่ว่าจะทาการสิ่ง ใด บ้านเมืองไทยจึงมีเอกราชอธิปไตยและมีความสุขความสมบูรณ์ทุกอย่างมาจนกระทั่ง ทุกวันนี้…” เพื่อเป็นการแสดงกตเวทิตาทูลเกล้าฯ ถวายแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ให้ทรงมีพระเกษมสาราญ เป็นมิ่งขวัญและศูนย์ รวมแห่งความสามัคคีปรองดองของปวงชนชาวไทยตลอดกาล ผมขอเชิญชวนทุกท่านให้ร่วมกันปฏิบัติตนเป็นพลเมืองที่ดีของสังคม โดย ศึกษาพระบรมราโชวาทและพระราชดารัสที่พระราชทานเนื่องในโอกาสต่างๆ โดยเฉพาะในเรื่องของการ “รู้ รัก สามัคคี” และ การ ปฏิบัติหน้าที่ของแต่ละคนให้สมบูรณ์ ถวายเป็นพระราชสักการะแด่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นที่รักยิ่งของ ปวงชนชาวไทยตลอดกาลนาน ดังพระบรมราโชวาทพระราชทานแก่ทหารบก ทหารเรือ ทหารอากาศตารวจ และอาสาสมัครพลเรือนใน พิธีตรวจพลสวนสนาม ในโอกาสงานพระราชพิธีรัชดาภิเษกเมื่อวันที่ 8 มิถุนายน 2514 ความตอนหนึ่งว่า “…ชาติบ้านเมืองประกอบด้วยนานา สถาบัน อันเปรียบได้กับอวัยวะทั้งปวงที่ประกอบกันขึ้นเป็นชีวิตร่างกาย ชีวิตร่างกายดารง อยู่ได้ เพราะอวัยวะใหญ่น้อยทางานเป็นปกติพร้อมกันอย่างไร ชาติบ้านเมืองก็ดารงอยู่ได้เพราะสถาบันต่างๆ ตั้งมั่นและปฏิบัติหน้าที่ ของตนโดยพร้อมมูลอย่างนั้น…” คุณธรรมที่นาไปสู่ความสามัคคีปรองดอง คุณธรรมที่นาไปสู่ความสามัคคีปรองดอง ได้แก่ 1. การมีความเคารพซึ่งกันและกัน 2. การร่วมมือช่วยเหลือซึ่งกันและกัน 3. การใช้สติปัญญาในการดาเนินชีวิต 1. การมีความเคารพซึ่งกันและกัน มีพฤติกรรมที่แสดงออก ดังนี้ 1.1 เคารพในสถาบันพระมหากษัตริย์ - การแสดงความเคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ในทุกโอกาส - การร่วมกิจกรรมต่างๆที่จัดเพื่อแสดงความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ในโอกาสวันสาคัญต่าง ๆ - การไปรับเสด็จเมื่อพระมหากษัตริย์ หรือพระบรมวงศานุวงศ์เสด็จไปในถิ่นที่อยู่ หรือบริเวณใกล้เคียง - การปฏิบัติต่อสัญลักษณ์ที่แสดงถึงสถาบันพระมหากษัตริย์ เช่น ธงชาติ พระบรมฉายาลักษณ์ เพลงสรรเสริญพระ บารมี ฯลฯ ด้วยความเคารพ เมื่อได้ยิน หรือเห็นบุคคลใดแสดงกิริยาวาจา หรือมีการกระทาอันไม่สมควรต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ต้องกล่าวตักเตือนและห้ามไม่ให้ปฏิบัติเช่นนั้นอีก 1.2 เคารพบุคคลที่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะบิดามารดาซึ่งเป็นผู้ให้กาเนิด เคารพญาติผู้ใหญ่ เช่น ปู่ ย่า ตา ยาย และผู้สูงอายุ เคารพครูอาจารย์ และเพื่อน ๆ ทั้งทางกายและทางวาจา 1.2.1 ทางกาย ได้แก่ การทักทาย การให้เกียรติผู้อื่น การแสดงความเคารพแก่บุคคลซึ่งอาวุโสกว่า การให้การ ต้อนรับแก่บุคคล การแสดงความเอื้อเฟื้อซึ่งกันและกัน เป็นต้น