SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน
การคัดแยกพลาสติกตามประเภท
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาวจิณณ์ วิสุทธิ์เสรีววัง เลขที่ 21 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม นางสาวจิณณ์ วิสุทธิ์เสรีวัง เลขที่ 21
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โครงงานศึกษาประเภทของพลาสติก
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Type of plastic
ประเภทโครงงาน ประเภทสารวจ
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวจิณณ์ วิสุทธิ์เสรีวัง
ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากในปัจจุบันพลาสติกนั้นได้แพร่กระจายไปทั่วและทาให้เกิดปัญหาภาวะโลกร้อนและเป็นสาเหตุใน
การตายของสัตว์น้าหลายชนิด เช่น ปลาทู พะยูน เต่า เป็นต้นและย่อยสลายได้ยากใช้เวลาย่อยสลายเป็นหลายร้อยปี
เพราะเนื่องจากการใช้ที่สะดวกสบายง่ายต่อการพกพาทาให้เกิดความสนใจที่จะศึกษาว่า ชนิดของพลาสติกใดเป็น
อันตรายหรือย่อยสลายยาก พลาสติกมีวิธีการผลิตอย่างไรจากอะไร และมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร เพื่อจะได้
แยกประเภทพลาสติกได้ถูกต้องและสามารถนาพลาสติกเหล่านั้นไปใช้ทาประโยชน์ได้มากขึ้นรวมถึงการลดการใช้
พลาสติกในปัจจุบันนี้ด้วย
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่อทราบชนิดของพลาสติก
2.เพื่อทราบวิธีการผลิต
3.เพื่อทราบถึงผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อม
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
-ขยะในโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
-ประเภทพลาสติดที่ใช้มาก
-ดาเนินการศึกษาประเภทของขยะ
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
พลาสติกเป็นโพลิเมอร์ประเภทหนึ่งที่ส่วนใหญ่ได้จากการสังเคราะห์ขึ้น(Synthetic polymer) แต่ก็มี
พลาสติกที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติเช่นกัน เช่นชะแล็ก พลาสติกเป็นสารอินทรีย์ เป็นไฮโดรคาร์บอน มีไฮโดรเจนและ
คาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลัก พลาสติกเป็นโพลิเมอร์ที่สามารถนามาหล่อเป็นรูปร่างต่างๆตามแบบ โดยใช้ความร้อน
และแรงอัดเพียงเล็กน้อย มีจุดหลอมเหลวระหว่าง 80-350 องศาเซลเซียส ขึ้นอยู่กับชนิดของพลาสติก
กระบวนการผลิต การผลิตเม็ดพลาสติกเริ่มต้นจากการน าสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีขนาดเล็กซึ่ง
ได้จากกลั่นลาดับส่วนน้ามันดิบมาทาปฏิกิริยากันจนได้เป็นสายโซ่ยาว เรียกว่าโพลิเมอร์ ซึ่งโพลิเมอร์แต่ละชนิด
สังเคราะห์โดยใช้วัตถุดิบเริ่มต้นที่แตกต่างกันไป ทาให้โพลิเมอร์มีสมบัติที่แตกต่างกันออกไปด้วย โดยโพลิเมอร์ที่
สังเคราะห์ได้นี้ จะถูกนาไปขึ้นรูปเป็นเม็ดพลาสติกและผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ต่อไป ตัวอย่างเช่น การผลิตเม็ด
พลาสติกโพลิเอทธิลีน (PE) โดยเริ่มต้นจากก๊าซเอทธิลีนซึ่งถูกเก็บในถังปฏิกิริยา เมื่อเติมตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสม จะ
เกิดปฏิกิริยาขึ้น โมเลกุลขนาดเล็กๆ จานวนมากจะเข้ามาต่อกันเป็นโมเลกุลที่ยาวมากๆ ได้โพลิเอธิลีนที่มีสมบัติ
เหมาะสมสาหรับนาไปขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ขวด ถุง และของเล่น เป็นต้น
ประเภทของพลาสติก(ตามสมบัติทางความร้อน) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ เทอร์โมพลาสติก
(Thermoplastic)และเทอร์โมเซตติ้ง (Thermosetting)
-เทอร์โมพลาสติก(Thermoplastic) โพลิเมอร์ประเภทนี้จะมีโครงสร้างโมเลกุลของสายโซ่โพลิเมอร์เป็นแบบเส้นตรง
หรือแบบกิ่งสั้นๆ สามารถละลายได้ดีในตัวทาละลายบางชนิด เมื่อได้รับความร้อนจะอ่อนตัว และหลอมเหลวเป็น
ของเหลวหนืดเนื่องจาก โมเลกุลของโพลิเมอร์ที่พันกันอยู่สามารถเคลื่อนที่ผ่านกันไปมาได้ง่ายขึ้นเมื่อได้รับความร้อน
และเมื่อเย็นตัวลงก็จะแข็งตัว ซึ่งการหลอมเหลวและเย็นตัวนี้ สามารถเกิดกลับไปกลับมาได้โดยไม่ทาให้สมบัติทางเคมี
และทางกายภาพ หรือโครงสร้างของโพลิเมอร์เปลี่ยนไปมากนัก พลาสติกประเภทนี้สามารถขึ้นรูปโดยการฉีดขณะที่
พลาสติกถูกทาให้อ่อนตัวและไหลได้ด้วยความร้อนและความดัน เข้าไปในแม่แบบที่มีช่องว่างเป็นรูปร่างตามต้องการ
ภายหลังจากที่พลาสติกไหลเข้าจนเต็มแม่พิมพ์จะถูกทาให้เย็นตัว และถอดออกจากแม่พิมพ์ ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีรูปร่าง
ตามต้องการ สามารถนาไปใช้งานได้ เมื่อใช้เสร็จแล้วสามารถนากลับมารีไซเคิลได้โดยการบด และหลอมด้วยความ
ร้อนเพื่อขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ได้อีก แต่พลาสติกประเภทนี้มีข้อเสียและขีดจากัดของการใช้งาน คือไม่สามารถใช้
งานที่อุณหภูมิสูงได้ เพราะอาจเกิดการบิดเบี้ยวหรือเสียรูปทรงไป ตัวอย่างเช่น ขวดน้าดื่มไม่เหมาะสาหรับใช้บรรจุน้า
ร้อนจัดหรือเดือด
-เทอร์โมเซตติ้ง (Thermosetting) โพลิเมอร์ประเภทนี้จะมีโครงสร้างเป็นแบบร่างแห ซึ่งจะหลอมเหลวได้ในขั้นตอน
การขึ้นรูปครั้งแรกเท่านั้น ซึ่งในขั้นตอนนี้จะมีปฏิกิกริยาเคมีเกิดขึ้นทาให้เกิดพันธะเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลทาให้โพลิ
เมอร์มีรูปร่างที่ถาวร ไม่สามารถหลอมเหลวได้อีกเมื่อได้รับความร้อน และหากได้รับความร้อนสูงเกินไป จะทาให้
พันธะระหว่างอะตอมในโมเลกุลแตกออก ได้สารที่ไม่มีสมบัติของความเป็นโพลิเมอร์ต่อไป
พลาสติกที่ใช้มากในปัจจุบัน
1.โพลิเอทธิลีนเทเรฟทาเลต (Poly (ethylene terephthalate), PET) PET ทนแรงกระแทก ไม่เปราะแตกง่าย
สามารถทาให้ใสมาก มองเห็นสิ่งที่บรรจุอยู่ภายในจึงนิยมใช้บรรจุน้าดื่ม น้ามันพืช และเครื่องสาอาง สามารถ
4
น ากลับมารีไซเคิลใช้ใหม่ได้ โดยนิยมนามาผลิตเป็นเส้นใยสาหรับทาเสื้อกันหนาว พรม และเส้นใยสังเคราะห์สาหรับ
ยัดหมอน หรือเสื้อสาหรับเล่นสกี
2.โพลิเอทธิลีนความหนาแน่นสูง (High density polyethylene, HDPE) HDPE โพลิเอทธิลีนชนิดหนาแน่นสูงมี
โครงสร้างโมเลกุลเป็นสายตรงค่อนข้างแข็งแต่ยืดได้มาก ไม่แตกง่าย ส่วนใหญ่ทาให้มีสีสันสวยงาม ยกเว้น ขวดที่ใช้
บรรจุน้าดื่ม ซึ่งจะขุ่นกว่าขวด PET ราคาถูกขึ้นรูปได้ง่าย ทนสารเคมีจึงนิยมใช้ทาบรรจุภัณฑ์สาหรับน้ายาทาความ
สะอาด แชมพูสระผมแป้งเด็ก และถุงหูหิ้ว
3.โพลิไวนิลคลอไรด์ (Poly (vinyl chloride), PVC) PVC เป็นพลาสติกแข็งใช้ทาท่อ เช่น ท่อน้าประปา แต่สามารถ
ทาให้นิ่มโดยใส่สารพลาสติกไซเซอร์ ใช้ทาสายยางใส แผ่นฟิล์มสาหรับห่ออาหาร ม่านในห้องอาบน้า แผ่นกระเบื้อง
ยาง แผ่นพลาสติกปูโต๊ะ ขวดใส่แชมพูสระ สามารถนากลับมารีไซเคิล เพื่อผลิตท่อประปาสาหรับการเกษตร กรวย
จราจร และเฟอร์นิเจอร์หรือม้านั่งพลาสติก
4.โพลิเอทธิลีนความหนาแน่นต่า (Low density polyethylene, LDPE) LDPE เป็นพลาสติกที่นิ่ม สามารถยืดตัวได้
มาก มีความใส นิยมนามาทาเป็นฟิล์มสาหรับห่ออาหารและห่อของ ถุงใส่ขนมปัง และถุงเย็นสาหรับบรรจุอาหาร
LDPE สามารถนากลับมารีไซเคิลใช้ใหม่ได้ โดยใช้ผลิตเป็นถุงดาสาหรับใส่ขยะ ถุงหูหิ้ว หรือถังขยะ
5.โพลิโพรพิลีน (Polypropylene, PP) PP เป็นพลาสติกที่แข็ง ทนต่อแรงกระแทกได้ดี ทนต่อสารเคมี ความร้อน
และน้ามัน ทาให้มีสีสันสวยงามได้ส่วนใหญ่นิยมนามาทาภาชนะบรรจุอาหาร เช่น กล่อง ชาม จาน ถัง ตะกร้า
หรือกระบอกสาหรับใส่น้าแช่เย็น โดยสามารถนากลับมารีไซเคิลใช้ใหม่ได้โดยนิยมผลิตเป็นกล่องแบตเตอรี่รถยนต์
ชิ้นส่วนรถยนต์ เช่น กันชน และกรวยสาหรับน้ามัน
6.โพลิสไตรีน (Polystyrene, PS) PS เป็นพลาสติกที่แข็ง ใส แต่เปราะและแตกง่าย ราคาถูก นิยมนามาทาเป็น
ภาชนะบรรจุของใช้ เช่น เทปเพลงสาลี เนื่องจาก PS เปราะและแตกง่าย จึงไม่นิยมนาพลาสติกประเภทนี้มาบรรจุน้า
ดื่มหรือแชมพูสระผม เนื่องจากอาจลื่นตกแตกได้ มีการนาพลาสติกประเภทนี้มาใช้ทาภาชนะหรือถาดโฟมสาหรับ
บรรจุอาหาร ซึ่งสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ โดยนิยมผลิตเป็นไม้แขวนเสื้อ กล่องวีดีโอ ไม้บรรทัด หรือของใช้อื่นๆ
7.พลาสติกอื่นๆ ที่ไม่ใช่ 6 ชนิดแรก หรือไม่ทราบว่าเป็นพลาสติกชนิดใด
ผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อม
- -ด้านบวกต่อสภาวะแวดล้อม
1. คอมโพสท์ที่ได้จากการย่อยสลายพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพร่วมกับขยะอินทรีย์อื่นๆ สามารถนามาใช้ในการ
ปรับปรุงคุณภาพดินโดยช่วยเพิ่มสารอินทรีย์ ความชื้น และสารอาหารให้แก่ดิน พร้อมทั้งช่วยลดปริมาณการใช้ปุ๋ยและ
ลดการเกิดโรคในพืช การหมักพลาสติกย่อยสลายได้ทาให้เกิดการหมุนเวียนของธาตุ ในขณะที่การใช้พลาสติกมักต้อง
กาจัดด้วยการฝังกลบหรือเผา
2. ลดเนื้อที่การใช้งานของบ่อฝังกลบขยะ โดยการใช้พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ และถุงที่ย่อยสลายได้ทาให้เพิ่ม
ศักยภาพในการย่อยสลายของเศษอาหารหรือขยะอินทรีย์ในบ่อฝังกลบ และเพิ่มศักยภาพในการผลิตแก๊สมีเทนสาหรับ
ใช้เป็นเชื้อเพลิง
3. การใช้พลังงานในการสังเคราะห์ และผลิตพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพน้อยกว่าการผลิตพลาสติกทั่วไป
4. การปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกเป็นผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่สาคัญพบว่า พลาสติกย่อยสลายได้ก่อให้เกิดการ
ปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกในปริมาณที่ต่ากว่าพอลิเอทิลีน ซึ่งเห็นได้ชัดเจนในกรณีที่เป็นพลาสติกที่มีแป้งเป็น
องค์ประกอบพื้นฐาน ซึ่งแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้นจากการย่อยสลายของพลาสติกจะถูกใช้ไปในการเติบโตของ
พืชที่จะปลูกขึ้นมาใหม่ทาให้เกิดการหมุนเวียนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในธรรมชาติซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวัฏจักร
คาร์บอน ทาให้เกิดความสมดุลของปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ
-ด้านลบต่อสภาวะแวดล้อม
1. ก่อให้เกิดมลภาวะทางน้าจากการเพิ่มของค่าความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี (biological oxygen demand,
BOD) และค่าความต้องการออกซิเจนทางเคมี (chemical oxygen demand, COD) อันเนื่องมาจากการมีปริมาณ
5
สารอินทรีย์ หรือสารอาหารในแหล่งน้าในปริมาณสูง ทาให้จุลินทรีย์มีความต้องการใช้ออกซิเจนในน้าสูงขึ้นด้วย
ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศน์ทางน้า
2. เกิดการปนเปื้อนของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการย่อยสลายของพลาสติกย่อยสลายได้ในสภาวะแวดล้อม
3. เกิดมลภาวะจากขยะอันเนื่องมาจากการใช้พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพที่ถูกทิ้งหรือตกลงในสิ่งแวดล้อมที่มี
สภาวะไม่เหมาะสมต่อการย่อยสลาย เช่น ถูกลมพัด และติดค้างอยู่บนกิ่งไม้ ซึ่งมีปริมาณจุลินทรีย์ไม่มากพอก็จะไม่
สามารถย่อยสลายได้ดี
4.การใช้พลาสติกย่อยสลายได้อาจทาให้ผู้บริโภคเข้าใจผิดว่า จะสามารถกาจัดได้ง่ายและรวดเร็วทาให้มีการใช้งาน
เพิ่มขึ้น และพลาสติกย่อยสลายได้บางชนิดอาจใช้เวลานานหลายปีในการย่อยสลายทางชีวภาพอย่างสมบูรณ์ และ
ก่อให้เกิดอันตรายต่อสัตว์ที่กลืนกินพลาสติกเข้าไป เนื่องจากไม่สามารถย่อยสลายได้ภายในกระเพาะของสัตว์
5. ความเป็นพิษของคอมโพสท์ที่ได้จากการหมักพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ เนื่องจากการมีสารตกค้าง หรือใช้
สารเติมแต่งที่มีความเป็นพิษ และส่งผลกระทบต่อพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ในดิน
6. เกิดสารประกอบที่ไม่ย่อยสลาย เช่น สารประกอบประเภทแอโรแมติกจากการย่อยสลายของพลาสติกบางชนิด เช่น
AACs โดยส่วนที่เป็นวงแหวนแอโรแมติกในพอลิเมอร์ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นสารประกอบขนาดเล็ก เช่นกรด
เทเรฟทาลิค (terephthalic acid (TPA) ซึ่งย่อยสลายทางชีวภาพได้ไม่ดีนัก
7. การตกค้างของสารเติมแต่งที่เติมลงในพลาสติกย่อยสลายได้ เพื่อปรับสมบัติให้เหมาะสมกับการใช้งาน เช่นเดียวกับ
พลาสติกทั่วไป เมื่อพลาสติกเกิดการย่อยสลาย สารเติมแต่งเหล่านี้อาจปนเปื้อนอยู่ในสภาวะแวดล้อมได้
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-คิดหัวข้อโครงงาน
-ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
-จัดทาโครงร่างโครงงาน
-ปฏิบัติการทาโครงงาน
-ทาเอกสารรายงาน
-ประเมินผลงาน
-นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเตอร์เน็ต
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
-สมุดจด
-ปากกา
งบประมาณ
0 บาท
6
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลา
ดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด
ชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน จิณณ์
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
จิณณ์
3 จัดทาโครงร่างงาน จิณณ์
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
จิณณ์
5 ปรับปรุงทดสอบ จิณณ์
6 การทา
เอกสารรายงาน
จิณณ์
7 ประเมินผลงาน จิณณ์
8 นาเสนอโครงงาน จิณณ์
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.เข้าใจเกี่ยวกับพลาสติกแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง
2.ผลกระทบของพลาสติกที่มีการใช้จานวนมาก
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
-กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
-กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
-ประเภทและการใช้งาน.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก https://www.mtec.or.th/bio-plastic/what-is-
plastic/plastic-usage.html (วันที่สืบค้น 18 กันยายน 2562)
-ผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อม.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก https://www.mtec.or.th/bio-
plastic/plastics-degradation/environment-effect.html (วันที่สืบค้น 18 กันยายน 2562)
-กระบวนการผลิตพลาสติก.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก https://www.mtec.or.th/bio-plastic/what-
is-plastic/plastic-production.html (วันที่สืบค้น 18 กันยายน 2562)

More Related Content

What's hot

2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-projectwaralee29
 
น้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุงน้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุงNitikan2539
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานUmaporn Maneesatjang
 
โครงงานคอมพิวเตอร์พลาสติก
โครงงานคอมพิวเตอร์พลาสติกโครงงานคอมพิวเตอร์พลาสติก
โครงงานคอมพิวเตอร์พลาสติกPanipon Ounkham
 
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)Prapatsorn Chaihuay
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกselenagomezz
 
Project thatsanee ladawan
Project thatsanee ladawanProject thatsanee ladawan
Project thatsanee ladawanLadawan Inta
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Aom Nachanok
 
2562 final-project jiratchaya-32
2562 final-project jiratchaya-322562 final-project jiratchaya-32
2562 final-project jiratchaya-32ssuser8b25961
 
ผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic foodผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic foodbecoolZ
 
ใบโครงงานคอม
ใบโครงงานคอมใบโครงงานคอม
ใบโครงงานคอมyrcnan
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานN'Nat S'Sasitron
 
โครงร่างโครงงาคอม
โครงร่างโครงงาคอมโครงร่างโครงงาคอม
โครงร่างโครงงาคอมChutikarn Sothanapaisan
 
มะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนักมะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนักWi Nit
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project jetaimej_
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานUmaporn Maneesatjang
 

What's hot (20)

2562 final-project
2562 final-project2562 final-project
2562 final-project
 
น้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุงน้ำหอมไล่ยุง
น้ำหอมไล่ยุง
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
คอมเดี่ยว
คอมเดี่ยวคอมเดี่ยว
คอมเดี่ยว
 
โครงงานคอมพิวเตอร์พลาสติก
โครงงานคอมพิวเตอร์พลาสติกโครงงานคอมพิวเตอร์พลาสติก
โครงงานคอมพิวเตอร์พลาสติก
 
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
โครงงานกล่องแฟนซีรีไซเคิล (Recycle Fancy Box)
 
Natnicha 2561-project
Natnicha 2561-projectNatnicha 2561-project
Natnicha 2561-project
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
 
Project thatsanee ladawan
Project thatsanee ladawanProject thatsanee ladawan
Project thatsanee ladawan
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project jiratchaya-32
2562 final-project jiratchaya-322562 final-project jiratchaya-32
2562 final-project jiratchaya-32
 
ผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic foodผักออร์แกนิกOrganic food
ผักออร์แกนิกOrganic food
 
Emperorguydoc
EmperorguydocEmperorguydoc
Emperorguydoc
 
2560 project (2)
2560 project  (2)2560 project  (2)
2560 project (2)
 
ใบโครงงานคอม
ใบโครงงานคอมใบโครงงานคอม
ใบโครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงาคอม
โครงร่างโครงงาคอมโครงร่างโครงงาคอม
โครงร่างโครงงาคอม
 
มะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนักมะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนัก
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 

Similar to At1 (20)

At1
At1At1
At1
 
at1
at1at1
at1
 
at1
at1at1
at1
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
607 NO.8
607 NO.8607 NO.8
607 NO.8
 
Com
ComCom
Com
 
2560 project (4)
2560 project  (4)2560 project  (4)
2560 project (4)
 
2560 project (4)
2560 project  (4)2560 project  (4)
2560 project (4)
 
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project ของวี่
2560 project ของวี่2560 project ของวี่
2560 project ของวี่
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Com
ComCom
Com
 
Comm
CommComm
Comm
 
at1
at1at1
at1
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2559 project paradon
2559 project paradon2559 project paradon
2559 project paradon
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2559 project 15-608
2559 project 15-6082559 project 15-608
2559 project 15-608
 
2559 project 15-608
2559 project 15-6082559 project 15-608
2559 project 15-608
 

At1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน การคัดแยกพลาสติกตามประเภท ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาวจิณณ์ วิสุทธิ์เสรีววัง เลขที่ 21 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาวจิณณ์ วิสุทธิ์เสรีวัง เลขที่ 21 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โครงงานศึกษาประเภทของพลาสติก ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Type of plastic ประเภทโครงงาน ประเภทสารวจ ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวจิณณ์ วิสุทธิ์เสรีวัง ชื่อที่ปรึกษา คุณครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากในปัจจุบันพลาสติกนั้นได้แพร่กระจายไปทั่วและทาให้เกิดปัญหาภาวะโลกร้อนและเป็นสาเหตุใน การตายของสัตว์น้าหลายชนิด เช่น ปลาทู พะยูน เต่า เป็นต้นและย่อยสลายได้ยากใช้เวลาย่อยสลายเป็นหลายร้อยปี เพราะเนื่องจากการใช้ที่สะดวกสบายง่ายต่อการพกพาทาให้เกิดความสนใจที่จะศึกษาว่า ชนิดของพลาสติกใดเป็น อันตรายหรือย่อยสลายยาก พลาสติกมีวิธีการผลิตอย่างไรจากอะไร และมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมอย่างไร เพื่อจะได้ แยกประเภทพลาสติกได้ถูกต้องและสามารถนาพลาสติกเหล่านั้นไปใช้ทาประโยชน์ได้มากขึ้นรวมถึงการลดการใช้ พลาสติกในปัจจุบันนี้ด้วย วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่อทราบชนิดของพลาสติก 2.เพื่อทราบวิธีการผลิต 3.เพื่อทราบถึงผลกระทบที่มีต่อสิ่งแวดล้อม ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) -ขยะในโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย -ประเภทพลาสติดที่ใช้มาก -ดาเนินการศึกษาประเภทของขยะ
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) พลาสติกเป็นโพลิเมอร์ประเภทหนึ่งที่ส่วนใหญ่ได้จากการสังเคราะห์ขึ้น(Synthetic polymer) แต่ก็มี พลาสติกที่เกิดขึ้นจากธรรมชาติเช่นกัน เช่นชะแล็ก พลาสติกเป็นสารอินทรีย์ เป็นไฮโดรคาร์บอน มีไฮโดรเจนและ คาร์บอนเป็นองค์ประกอบหลัก พลาสติกเป็นโพลิเมอร์ที่สามารถนามาหล่อเป็นรูปร่างต่างๆตามแบบ โดยใช้ความร้อน และแรงอัดเพียงเล็กน้อย มีจุดหลอมเหลวระหว่าง 80-350 องศาเซลเซียส ขึ้นอยู่กับชนิดของพลาสติก กระบวนการผลิต การผลิตเม็ดพลาสติกเริ่มต้นจากการน าสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่มีขนาดเล็กซึ่ง ได้จากกลั่นลาดับส่วนน้ามันดิบมาทาปฏิกิริยากันจนได้เป็นสายโซ่ยาว เรียกว่าโพลิเมอร์ ซึ่งโพลิเมอร์แต่ละชนิด สังเคราะห์โดยใช้วัตถุดิบเริ่มต้นที่แตกต่างกันไป ทาให้โพลิเมอร์มีสมบัติที่แตกต่างกันออกไปด้วย โดยโพลิเมอร์ที่ สังเคราะห์ได้นี้ จะถูกนาไปขึ้นรูปเป็นเม็ดพลาสติกและผลิตเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ ต่อไป ตัวอย่างเช่น การผลิตเม็ด พลาสติกโพลิเอทธิลีน (PE) โดยเริ่มต้นจากก๊าซเอทธิลีนซึ่งถูกเก็บในถังปฏิกิริยา เมื่อเติมตัวเร่งปฏิกิริยาที่เหมาะสม จะ เกิดปฏิกิริยาขึ้น โมเลกุลขนาดเล็กๆ จานวนมากจะเข้ามาต่อกันเป็นโมเลกุลที่ยาวมากๆ ได้โพลิเอธิลีนที่มีสมบัติ เหมาะสมสาหรับนาไปขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น ขวด ถุง และของเล่น เป็นต้น ประเภทของพลาสติก(ตามสมบัติทางความร้อน) แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ เทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic)และเทอร์โมเซตติ้ง (Thermosetting) -เทอร์โมพลาสติก(Thermoplastic) โพลิเมอร์ประเภทนี้จะมีโครงสร้างโมเลกุลของสายโซ่โพลิเมอร์เป็นแบบเส้นตรง หรือแบบกิ่งสั้นๆ สามารถละลายได้ดีในตัวทาละลายบางชนิด เมื่อได้รับความร้อนจะอ่อนตัว และหลอมเหลวเป็น ของเหลวหนืดเนื่องจาก โมเลกุลของโพลิเมอร์ที่พันกันอยู่สามารถเคลื่อนที่ผ่านกันไปมาได้ง่ายขึ้นเมื่อได้รับความร้อน และเมื่อเย็นตัวลงก็จะแข็งตัว ซึ่งการหลอมเหลวและเย็นตัวนี้ สามารถเกิดกลับไปกลับมาได้โดยไม่ทาให้สมบัติทางเคมี และทางกายภาพ หรือโครงสร้างของโพลิเมอร์เปลี่ยนไปมากนัก พลาสติกประเภทนี้สามารถขึ้นรูปโดยการฉีดขณะที่ พลาสติกถูกทาให้อ่อนตัวและไหลได้ด้วยความร้อนและความดัน เข้าไปในแม่แบบที่มีช่องว่างเป็นรูปร่างตามต้องการ ภายหลังจากที่พลาสติกไหลเข้าจนเต็มแม่พิมพ์จะถูกทาให้เย็นตัว และถอดออกจากแม่พิมพ์ ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีรูปร่าง ตามต้องการ สามารถนาไปใช้งานได้ เมื่อใช้เสร็จแล้วสามารถนากลับมารีไซเคิลได้โดยการบด และหลอมด้วยความ ร้อนเพื่อขึ้นรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ได้อีก แต่พลาสติกประเภทนี้มีข้อเสียและขีดจากัดของการใช้งาน คือไม่สามารถใช้ งานที่อุณหภูมิสูงได้ เพราะอาจเกิดการบิดเบี้ยวหรือเสียรูปทรงไป ตัวอย่างเช่น ขวดน้าดื่มไม่เหมาะสาหรับใช้บรรจุน้า ร้อนจัดหรือเดือด -เทอร์โมเซตติ้ง (Thermosetting) โพลิเมอร์ประเภทนี้จะมีโครงสร้างเป็นแบบร่างแห ซึ่งจะหลอมเหลวได้ในขั้นตอน การขึ้นรูปครั้งแรกเท่านั้น ซึ่งในขั้นตอนนี้จะมีปฏิกิกริยาเคมีเกิดขึ้นทาให้เกิดพันธะเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลทาให้โพลิ เมอร์มีรูปร่างที่ถาวร ไม่สามารถหลอมเหลวได้อีกเมื่อได้รับความร้อน และหากได้รับความร้อนสูงเกินไป จะทาให้ พันธะระหว่างอะตอมในโมเลกุลแตกออก ได้สารที่ไม่มีสมบัติของความเป็นโพลิเมอร์ต่อไป พลาสติกที่ใช้มากในปัจจุบัน 1.โพลิเอทธิลีนเทเรฟทาเลต (Poly (ethylene terephthalate), PET) PET ทนแรงกระแทก ไม่เปราะแตกง่าย สามารถทาให้ใสมาก มองเห็นสิ่งที่บรรจุอยู่ภายในจึงนิยมใช้บรรจุน้าดื่ม น้ามันพืช และเครื่องสาอาง สามารถ
  • 4. 4 น ากลับมารีไซเคิลใช้ใหม่ได้ โดยนิยมนามาผลิตเป็นเส้นใยสาหรับทาเสื้อกันหนาว พรม และเส้นใยสังเคราะห์สาหรับ ยัดหมอน หรือเสื้อสาหรับเล่นสกี 2.โพลิเอทธิลีนความหนาแน่นสูง (High density polyethylene, HDPE) HDPE โพลิเอทธิลีนชนิดหนาแน่นสูงมี โครงสร้างโมเลกุลเป็นสายตรงค่อนข้างแข็งแต่ยืดได้มาก ไม่แตกง่าย ส่วนใหญ่ทาให้มีสีสันสวยงาม ยกเว้น ขวดที่ใช้ บรรจุน้าดื่ม ซึ่งจะขุ่นกว่าขวด PET ราคาถูกขึ้นรูปได้ง่าย ทนสารเคมีจึงนิยมใช้ทาบรรจุภัณฑ์สาหรับน้ายาทาความ สะอาด แชมพูสระผมแป้งเด็ก และถุงหูหิ้ว 3.โพลิไวนิลคลอไรด์ (Poly (vinyl chloride), PVC) PVC เป็นพลาสติกแข็งใช้ทาท่อ เช่น ท่อน้าประปา แต่สามารถ ทาให้นิ่มโดยใส่สารพลาสติกไซเซอร์ ใช้ทาสายยางใส แผ่นฟิล์มสาหรับห่ออาหาร ม่านในห้องอาบน้า แผ่นกระเบื้อง ยาง แผ่นพลาสติกปูโต๊ะ ขวดใส่แชมพูสระ สามารถนากลับมารีไซเคิล เพื่อผลิตท่อประปาสาหรับการเกษตร กรวย จราจร และเฟอร์นิเจอร์หรือม้านั่งพลาสติก 4.โพลิเอทธิลีนความหนาแน่นต่า (Low density polyethylene, LDPE) LDPE เป็นพลาสติกที่นิ่ม สามารถยืดตัวได้ มาก มีความใส นิยมนามาทาเป็นฟิล์มสาหรับห่ออาหารและห่อของ ถุงใส่ขนมปัง และถุงเย็นสาหรับบรรจุอาหาร LDPE สามารถนากลับมารีไซเคิลใช้ใหม่ได้ โดยใช้ผลิตเป็นถุงดาสาหรับใส่ขยะ ถุงหูหิ้ว หรือถังขยะ 5.โพลิโพรพิลีน (Polypropylene, PP) PP เป็นพลาสติกที่แข็ง ทนต่อแรงกระแทกได้ดี ทนต่อสารเคมี ความร้อน และน้ามัน ทาให้มีสีสันสวยงามได้ส่วนใหญ่นิยมนามาทาภาชนะบรรจุอาหาร เช่น กล่อง ชาม จาน ถัง ตะกร้า หรือกระบอกสาหรับใส่น้าแช่เย็น โดยสามารถนากลับมารีไซเคิลใช้ใหม่ได้โดยนิยมผลิตเป็นกล่องแบตเตอรี่รถยนต์ ชิ้นส่วนรถยนต์ เช่น กันชน และกรวยสาหรับน้ามัน 6.โพลิสไตรีน (Polystyrene, PS) PS เป็นพลาสติกที่แข็ง ใส แต่เปราะและแตกง่าย ราคาถูก นิยมนามาทาเป็น ภาชนะบรรจุของใช้ เช่น เทปเพลงสาลี เนื่องจาก PS เปราะและแตกง่าย จึงไม่นิยมนาพลาสติกประเภทนี้มาบรรจุน้า ดื่มหรือแชมพูสระผม เนื่องจากอาจลื่นตกแตกได้ มีการนาพลาสติกประเภทนี้มาใช้ทาภาชนะหรือถาดโฟมสาหรับ บรรจุอาหาร ซึ่งสามารถนากลับมาใช้ใหม่ได้ โดยนิยมผลิตเป็นไม้แขวนเสื้อ กล่องวีดีโอ ไม้บรรทัด หรือของใช้อื่นๆ 7.พลาสติกอื่นๆ ที่ไม่ใช่ 6 ชนิดแรก หรือไม่ทราบว่าเป็นพลาสติกชนิดใด ผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อม - -ด้านบวกต่อสภาวะแวดล้อม 1. คอมโพสท์ที่ได้จากการย่อยสลายพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพร่วมกับขยะอินทรีย์อื่นๆ สามารถนามาใช้ในการ ปรับปรุงคุณภาพดินโดยช่วยเพิ่มสารอินทรีย์ ความชื้น และสารอาหารให้แก่ดิน พร้อมทั้งช่วยลดปริมาณการใช้ปุ๋ยและ ลดการเกิดโรคในพืช การหมักพลาสติกย่อยสลายได้ทาให้เกิดการหมุนเวียนของธาตุ ในขณะที่การใช้พลาสติกมักต้อง กาจัดด้วยการฝังกลบหรือเผา 2. ลดเนื้อที่การใช้งานของบ่อฝังกลบขยะ โดยการใช้พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ และถุงที่ย่อยสลายได้ทาให้เพิ่ม ศักยภาพในการย่อยสลายของเศษอาหารหรือขยะอินทรีย์ในบ่อฝังกลบ และเพิ่มศักยภาพในการผลิตแก๊สมีเทนสาหรับ ใช้เป็นเชื้อเพลิง 3. การใช้พลังงานในการสังเคราะห์ และผลิตพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพน้อยกว่าการผลิตพลาสติกทั่วไป 4. การปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกเป็นผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมที่สาคัญพบว่า พลาสติกย่อยสลายได้ก่อให้เกิดการ ปลดปล่อยแก๊สเรือนกระจกในปริมาณที่ต่ากว่าพอลิเอทิลีน ซึ่งเห็นได้ชัดเจนในกรณีที่เป็นพลาสติกที่มีแป้งเป็น องค์ประกอบพื้นฐาน ซึ่งแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่เกิดขึ้นจากการย่อยสลายของพลาสติกจะถูกใช้ไปในการเติบโตของ พืชที่จะปลูกขึ้นมาใหม่ทาให้เกิดการหมุนเวียนแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในธรรมชาติซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของวัฏจักร คาร์บอน ทาให้เกิดความสมดุลของปริมาณแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ในบรรยากาศ -ด้านลบต่อสภาวะแวดล้อม 1. ก่อให้เกิดมลภาวะทางน้าจากการเพิ่มของค่าความต้องการออกซิเจนทางชีวเคมี (biological oxygen demand, BOD) และค่าความต้องการออกซิเจนทางเคมี (chemical oxygen demand, COD) อันเนื่องมาจากการมีปริมาณ
  • 5. 5 สารอินทรีย์ หรือสารอาหารในแหล่งน้าในปริมาณสูง ทาให้จุลินทรีย์มีความต้องการใช้ออกซิเจนในน้าสูงขึ้นด้วย ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศน์ทางน้า 2. เกิดการปนเปื้อนของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการย่อยสลายของพลาสติกย่อยสลายได้ในสภาวะแวดล้อม 3. เกิดมลภาวะจากขยะอันเนื่องมาจากการใช้พลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพที่ถูกทิ้งหรือตกลงในสิ่งแวดล้อมที่มี สภาวะไม่เหมาะสมต่อการย่อยสลาย เช่น ถูกลมพัด และติดค้างอยู่บนกิ่งไม้ ซึ่งมีปริมาณจุลินทรีย์ไม่มากพอก็จะไม่ สามารถย่อยสลายได้ดี 4.การใช้พลาสติกย่อยสลายได้อาจทาให้ผู้บริโภคเข้าใจผิดว่า จะสามารถกาจัดได้ง่ายและรวดเร็วทาให้มีการใช้งาน เพิ่มขึ้น และพลาสติกย่อยสลายได้บางชนิดอาจใช้เวลานานหลายปีในการย่อยสลายทางชีวภาพอย่างสมบูรณ์ และ ก่อให้เกิดอันตรายต่อสัตว์ที่กลืนกินพลาสติกเข้าไป เนื่องจากไม่สามารถย่อยสลายได้ภายในกระเพาะของสัตว์ 5. ความเป็นพิษของคอมโพสท์ที่ได้จากการหมักพลาสติกย่อยสลายได้ทางชีวภาพ เนื่องจากการมีสารตกค้าง หรือใช้ สารเติมแต่งที่มีความเป็นพิษ และส่งผลกระทบต่อพืชและสัตว์ที่อาศัยอยู่ในดิน 6. เกิดสารประกอบที่ไม่ย่อยสลาย เช่น สารประกอบประเภทแอโรแมติกจากการย่อยสลายของพลาสติกบางชนิด เช่น AACs โดยส่วนที่เป็นวงแหวนแอโรแมติกในพอลิเมอร์ จะเกิดการเปลี่ยนแปลงเป็นสารประกอบขนาดเล็ก เช่นกรด เทเรฟทาลิค (terephthalic acid (TPA) ซึ่งย่อยสลายทางชีวภาพได้ไม่ดีนัก 7. การตกค้างของสารเติมแต่งที่เติมลงในพลาสติกย่อยสลายได้ เพื่อปรับสมบัติให้เหมาะสมกับการใช้งาน เช่นเดียวกับ พลาสติกทั่วไป เมื่อพลาสติกเกิดการย่อยสลาย สารเติมแต่งเหล่านี้อาจปนเปื้อนอยู่ในสภาวะแวดล้อมได้ วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -คิดหัวข้อโครงงาน -ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล -จัดทาโครงร่างโครงงาน -ปฏิบัติการทาโครงงาน -ทาเอกสารรายงาน -ประเมินผลงาน -นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเตอร์เน็ต -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์ -สมุดจด -ปากกา งบประมาณ 0 บาท
  • 6. 6 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลา ดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด ชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน จิณณ์ 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล จิณณ์ 3 จัดทาโครงร่างงาน จิณณ์ 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน จิณณ์ 5 ปรับปรุงทดสอบ จิณณ์ 6 การทา เอกสารรายงาน จิณณ์ 7 ประเมินผลงาน จิณณ์ 8 นาเสนอโครงงาน จิณณ์ ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.เข้าใจเกี่ยวกับพลาสติกแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้อง 2.ผลกระทบของพลาสติกที่มีการใช้จานวนมาก สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง -กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ -กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) -ประเภทและการใช้งาน.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก https://www.mtec.or.th/bio-plastic/what-is- plastic/plastic-usage.html (วันที่สืบค้น 18 กันยายน 2562) -ผลกระทบต่อสภาวะแวดล้อม.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก https://www.mtec.or.th/bio- plastic/plastics-degradation/environment-effect.html (วันที่สืบค้น 18 กันยายน 2562) -กระบวนการผลิตพลาสติก.[ออนไลน์].เข้าถึงได้จาก https://www.mtec.or.th/bio-plastic/what- is-plastic/plastic-production.html (วันที่สืบค้น 18 กันยายน 2562)