SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ลดขยะลดมลพิษภายในโรงเรียน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ นางสาวปรมพร แดงสากล เลขที่ 47 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวปรมพร แดงสากล เลขที่ 47
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ลดขยะลดมลพิษภายในโรงเรียน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Reduce waste, reduce pollution in school
ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวปรมพร แดงสากล
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันในพื้นที่ที่มีการขยายตัวของชุมชนจะมีจานวนประชากรเพิ่มมากขึ้น ปริมาณขยะต่างๆก็เพิ่มขึ้น
เป็นเงาตามตัว มีปัญหาเกิดขึ้นมากมายจากการที่ขยะมูลฝอยมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น และการจัดเก็บหรือการจัดการ
ขยะมูลฝอย ไม่สามารถรับมือกับจานวนขยะมูลฝอยที่ตกค้างได้ เช่น ขยะเน่าเหม็น น้าเน่าเสีย ก่อให้เกิดมลพิษทาง
อากาศ เป็นต้น เพราะยิ่งนานเข้าขยะก็มากขึ้นซึ่งส่งผลให้เกิดปัญหาที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งสภาพภูมิทัศน์
(ดินเสียและน้าเสีย) และสุขภาพอนามัยของประชาชนเป็นเวลาหลายสิบปีที่หน่วยงานต่างๆพยายามช่วยกันแก้ไข
ปัญหาที่เกิดขึ้นจากขยะ แต่คนส่วนใหญ่ก็ละเลยไม่สนใจถึงผลกระทบที่จะตามมา โดยบางที่อาจจะเกิด ปัญหาขยะที่
มากเกินไป ทาให้สุขภาพของประชาชนที่อยู่บริเวณนั้นเป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคมะเร็ง และไม่มีใครที่คิด
อยากจะเก็บเพราะคิดว่าไม่ใช่หน้าที่ของตนจากการศึกษาพบว่าผลกระทบของขยะมูลฝอยต่อสภาวะแวดล้อมนั้น
นับวันจะเพิ่มมากขึ้นตามจานวนของประชากร ถ้าหากไม่มีการกาจัดขยะมูลฝอยให้ถูกต้องและเหมาะสมแล้วปัญหา
ความสกปรกต่าง ๆ ที่เกิดจากขยะมูลฝอยจะต้องเกิดขึ้นอย่างแน่นอน ผู้จัดทา ได้เห็นความสาคัญในด้านการบริหาร
จัดการขยะภายในโรงเรียน จึงได้วิเคราะห์ประเด็นปัญหาการใช้ทรัพยากรและปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็น
แนวทางในการบริหารจัดการปัญหาขยะ ซึ่งจากการวิเคราะห์ปัญหาสิ่งแวดล้อมและได้มีการจัดลาดับปัญหาที่มี
นัยสาคัญพบว่าปัญหาสิ่งแวดล้อมอันดับที่หนึ่งได้แก่ ขยะจากกล่องบรรจุอาหารและเครื่องดื่ม อันดับที่สองคือ
กระดาษที่ใช้แล้วจากการจัดเตรียมเอกสารเพื่อการเรียนการสอน กิจกรรม โครงการ และการอบรมต่างๆ เพื่อให้การ
3
จัดการขยะภายในสังคมเกิดประสิทธิภาพสูงสุดและมีความยั่งยืน ผู้จัดทาจึงได้นาแนวคิดด้าน 7Rs มาประยุกต์ใช้ใน
การจัดการขยะ ได้แก่ RETHINK (การคิดใหม่) REJECT (การปฏิเสธการใช้ทรัพยากรแบบครั้งเดียวทิ้งหรือหารนาเข้า
จากแดนไก) RETURN (การเลือกใช้สินค้าที่สามารถส่งคืนบรรจุภัณฑ์กลับสู่ผู้ผลิตได้) REPAIR (การซ่อมแซมเครื่องใช้
ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้ต่อไป) REUSE (การนาบรรจุภัณฑ์ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่) RECYCLE (การแยกขยะที่ยังใช้
ประโยชน์ได้ให้ง่ายต่อการจัดเก็บและส่งแปรรูป) REDUCE (การลดการบริโภคและหาทางเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน
ของสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ) และอาศัยความร่วมมือของนักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียนในการจัดการขยะมูลฝอย
และการปลูกจิตสานึก ในการมีส่วนร่วมให้แก่นักเรียน โดยการเปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนเข้ามามีส่วนร่วมในการ
ดาเนินการ จัดการขยะ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และเกิดจิตสานึกที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอย ซึ่ง
นักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียนมีอิทธิพลในการกระตุ้นจิตสานึกต่อความรับผิดชอบร่วมกันแก้ไขปัญหา
สิ่งแวดล้อมเรื่อง การลดขยะโดยเริ่มจากการให้นักเรียนแต่ละระดับชั้นได้เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยอย่าง
เป็นระบบ เพื่อรองรับปัญหาขยะมูลฝอยที่เพิ่มมากขึ้นทุกวัน แต่การจัดการขยะมูลฝอยที่ครบวงจรมีต้นทุนสูงมาก
ดังนั้นทุกคนจึงควรมีความตระหนักในการลดปริมาณขยะมูลฝอยมากกว่าการพึ่งพาการกาจัดขยะมูลฝอย เพื่อที่จะ
กาจัดหรือลดปริมาณขยะจึงเป็นสิ่งที่สาคัญและสอดคล้องกับการบริหาร และจัดการสาธารณะแนวใหม่ เพื่อนาไปสู่
การแก้ไขปัญหาขยะล้นโรงเรียนได้อย่างยั่งยืนและเป็นรูปธรรม ปัญหาขยะเป็นปัญหาหนึ่งที่ส่งผลกระทบต่อ
สภาพแวดล้อมในโรงเรียนทาให้เกิดทัศนะ 3 วิสัย และภาพลักษณ์ที่ไม่ดี อันเนื่องมาจากพฤติกรรมของนักเรียนในด้าน
การจัดการขยะมูลฝอย รวมถึงมาตรการต่างๆภายในโรงเรียนที่ส่งผลให้การจัดการขยะภายในโรงเรียนไม่เกิด
ประสิทธิภาพที่ดีนัก ผู้จัดทาจึงสนใจที่จะพัฒนา และหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไขด้านพฤติกรรมการจัดการขยะของ
นักเรียนในโรงเรียนยุพราช เพื่อนาไปสู่การจัดการขยะที่ดีภายในโรงเรียน ดังนั้นงานวิจัยในหัวข้อ “ลดขยะลดมลพิษ
ภายในโรงเรียน” ผู้จัดทาจึงมุ่งเน้นไปที่พฤติกรรมของมนุษย์ และแนวคิดเกี่ยวกับความร่วมมือของนักเรียนและ
บุคลากรในการจัดการขยะมูลฝอยว่าจะเกิดขึ้นได้อย่างไร และจะมีแนวทางใดบ้างที่จะทาให้มนุษย์มีพฤติกรรมในการ
จัดการขยะในอาคารเรียน และตามสถานที่ต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อเกิดการจัดการขยะให้ยั่งยืนต่อไปในอนาคต
และนาขยะที่มีอยู่ภายในโรงเรียนมาทาตามหลักทฤษฎี 7Rs เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
4
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
2.1 เพื่อควบคุมและลดจานวนขยะกระดาษที่เกิดขึ้นภายโรงเรียนReduce)
2.2 เพื่อนากระดาษที่ใช้แล้วหน้าเดียวไปบริจาคเพื่อการใช้ซ้า (Reuse) ในการทาอักษรเบรลล์ให้แก่โรงเรียน
สอนคนตาบอดภาคเหนือ
2.3 เพื่อนากระดาษที่ใช้แล้วสองหน้าไปบริจาคเพื่อนากลับไปใช้ (Recycle)
2.4 เพื่อนาขยะรีไซเคิลประเภทขวดพลาสติก ขวดแก้ว และกระป๋องอลูมิเนียมไปบริจาคให้งาน สิ่งแวดล้อม
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
- ปริมาณขยะในสังคม
- สาเหตุที่มาของขยะ
- วิธีการป้องกันขยะในสังคม
- วิธีการลดปริมาณขยะในสังคม
- ดาเนินการจัดเก็บและคัดแยกขยะกระดาษที่เกิดขึ้นในภาคการศึกษาที่ 1-2 ปีการศึกษา2562
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
การใช้แนวคิด 7Rs
แหล่งที่มา : https://www.greenery.org/articles/7r-campaign/
แนวคิดด้านการจัดการขยะเพื่อการปรับตัวต่อภาวะโลกร้อน คือก่อนจะทิ้งขยะควรหยุดคิดสักนิดว่าจะสามารถ
ลดปริมาณขยะ หรือนาขยะกลับมาใช้ประโยชน์ได้หรือไม่ แนวคิดที่น่าสนใจคือแนวคิด 7R ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้
1. Rethink ( คิดใหม่ )
เป็นการเปลี่ยนความคิดเรื่องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างถูกต้องเหมาะสมไม่ได้ทาตามกระแสแต่อย่าง
เดียว แต่ทาจากใจหรือจากจิตสานึกที่ดี เช่น การซื้อสินค้าที่ผลิตจากวัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
2. Reduce ( ลดการใช้ )
เป็นการลดใช้ทรัพยากรให้เหลือเท่าที่จาเป็นหรือนามาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เช่น ใช้ถุงผ้าหรือตะกร้า
หวายเลิกง้อถุงพลาสติก ใช้กล่องข้าวหรือปิ่นโตลดการใช้โฟม
5
3. Reuse ( ใช้ซ้า )
เป็นการนากลับมาใช้ใหม่ หรือใช้อีกครั้ง หรือหลายๆครั้ง เช่น แยกประเภทกระดาษที่ใช้แล้วเพื่อนากลับมาใช้
ใหม่อย่างเหมาะสมกระดาษดีนามาใช้พิมพ์ใหม่เป็นกระดาษ 2 หน้าสาหรับเอกสารร่าง กระดาษยับนามาตัดเป็น
กระดาษโน้ต กระดาษ 2 หน้าทาเป็นถุงใส่ของ บริจาคสิ่งของที่เลิกใช้แล้วแต่มีสภาพดีให้กับผู้ที่ขาดแคลน และ
ประกวดนวัตกรรมนาขยะกลับมาใช้ซ้า เช่น การนากระดาษมาเป็นซองใส่ยา ฯลฯ
4. Recycle ( นากลับมาใช้ใหม่ )
เป็นการนาวัสดุที่หมดที่หมดสภาพแล้วหรือที่ใช้แล้วมาแปรสภาพด้วยกระบวนการต่าง ๆ เพื่อนากลับมาใช้หรือ
แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น คิดก่อนทิ้งว่าขยะช่วยกันแยกประเภทขยะเพื่อให้ได้ขยะรีไซเคิลมากที่สุดและเพื่อช่วย
ลดขั้นตอนและลดพลังงานในการกาจัดขยะ เนื่องจากขยะแต่ละชนิดมีวิธีการกาจัดที่ไม่เหมือนกัน สร้างธนาคารขยะ
ที่ทุกคนเป็นเจ้าของร่วมกัน เพื่อการหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด คัดแยกขยะประเภท
กระดาษ แก้ว โลหะเพื่อการนากลับไปรีไซเคิลได้ไม่รู้จบ และคัดแยกขยะประเภทกล่องนมเพื่อบริจาคนาไปผลิตแผ่น
กรีนบอร์ด
5. Repair ( ซ่อมแซม )
เป็นการซ่อมแซมให้ใช้การได้ใหม่ เช่น กระป๋องพลาสติก ที่แตกร้าวหรือเป็นรูใช้กาวประสานหรืออุดรูเหล่านั้น
มันก็ยังใช้ได้เหมือนเดิมทาให้อายุการใช้งานนานขึ้น การกลายเป็นขยะก็ยืดเวลาออกไป
6. Reject ( ปฏิเสธ )
เป็นการปฏิเสธการใช้ทรัพยากรแบบครั้งเดียวทิ้งหรือหารนาเข้าจากแดนไกล หรือการปฏิเสธใช้สินค้าหรือ
ผลิตภัณฑ์ที่ทาลายโลก เช่น พลาสติก กล่องโฟมบรรจุอาหาร
7. Return ( ตอบแทน )
เป็นการตอบแทนสิ่งที่พวกเราได้ทาลายไปคืนสู่โลก เช่น ปลูกต้นไม้กันเยอะ ๆ เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวคืนแก่โลก
ช่วยโลกสดใส ลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ลดปัญหาโลกร้อน
แหล่งที่มา : https://www.pinterest.com/pin/690176711618766627/
6
การคัดแยก เก็บรวบรวมและขนส่งขยะมูลฝอย
1. ถังขยะ
แหล่งที่มา http://library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf
ในการจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจร จาเป็นต้องจัดให้มีระบบการคัดแยกขยะมูลฝอยประเภทต่างๆ ตามแต่
ลักษณะองค์ประกอบโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ สามารถดาเนินการได้ตั้งแต่แหล่งกาเนิด โดย
จัดวางภาชนะให้เหมาะสม ตลอดจนวางระบบการเก็บรวบรวมมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับระบบ
การคัดแยกขยะมูลฝอย พร้อมทั้งพิจารณาควรจาเป็นของสถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยและระบบขนส่งขยะมูลฝอยไป
กาจัดต่อไป ถังขยะทั้งหมดมีอยู่ 4 ถัง แต่ละถังนั้นก็รับขยะต่างประเภทกัน แต่ในปัจจุบันนั้น คนมักจะทิ้งขยะไม่ถูกถัง
กัน เช่น ถุงพลาสติกก็ ทิ้งถังเขียวบ้าง ถังสีแดงบ้าง ซึ่งคนแบบนี้มักจะเป็นคนที่มักง่าย ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม
เป็นคนเห็นแก่ตัว คิดว่าใกล้ถังไหนก็ทิ้งถังนั้น ดังนั้นเราควรทิ้งขยะให้ถูกต้อง ตามสีของถังขยะก็คือ
1.ถังขยะ สีเขียว คือ ถังขยะที่ย่อยสลายได้ เช่น เศษอาหาร กิ่งไม้ ใบไม้ ผัก
2.ถังขยะ สีเหลือง คือ ถังขยะที่สามารถนากลับมาใช้ได้ เช่น กระดาษ ขวดน้า แก้วน้า เศษเหล็ก
3.ถังขยะ สีน้าเงิน คือ ถังขยะที่ไม่สามารถนากลับมาใช้ได้ เช่น โฟม ถุงขนม พลาสติก
4.ถังขยะ สีแดง คือ ถังขยะที่เป็นพิษ เช่น กระป๋องสี สีสเปรย์ แบตเตอรี่ ยาฆ่าแมลง และอื่นๆ ที่เป็นพิษ
นอกจากนี้ยังมีถุงพลาสติกสาหรับรองรับขยะมูลฝอยในแต่ละถัง โดยมัดปากถุงสีเดียวกับถังที่รองรับมูลฝอย
ตามประเภทดังกล่าวข้างต้น ในกรณีที่สถานที่มีพื้นที่จากัดในการจัดวางภาชนะรองรับขยะมูลฝอยและมีจานวนคนที่
ค่อนข้างมากในบริเวณพื้นที่นั้น เช่น ศูนย์การประชุมสนามบิน ควรมีถังที่สามารถรองรับขยะมูลฝอยได้ทั้ง 4 ประเภท
ในถังเดียวกัน โดยแบ่งพื้นที่ของถังขยะมูลฝอยออกเป็น 4 ช่อง และตัวถังรองรับขยะมูลฝอยทาด้วยสแตนเลส มีฝาปิด
แยกเป็น 4 สี ในแต่ละช่องตามประเภทของขยะมูลฝอยที่รองรับ ดังนี้
 ฝาสีเขียว รองรับขยะมูลฝอยที่เน่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว
 ฝาสีเหลือง รองรับขยะมูลฝอยที่สามารถนารีไซเคิล หรือขายได้
 ฝาสีแดงรองรับขยะมูลฝอยที่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 ฝาสีฟ้ารองรับขยะมูลฝอย ที่ย่อยสลายไม่ได้ ไม่เป็นพิษและไม่คุ้มค่าการรีไซเคิลและมีสัญลักษณ์ข้างถัง
7
สาหรับสถานที่บางแห่งควรมีคอนเทรนเนอร์ขนาดใหญ่ตั้งไว้ สาหรับให้ประชาชนทิ้งขยะมูลฝอย
แยกประเภทด้วย รายละเอียดดังตาราง
ประเภท/ขนาด สถานที่รวบรวม หมายเหตุ
1. ถังคอนเทรนเนอร์ ความจุ
4,000 - 5,000 ลิตร
ห้างสรรพสินค้า สวนสาธารณะ
ตลาด ภัตตาคาร สนามกีฬา
มี 4 ตอน สาหรับใส่ขยะมูล
ฝอย 4 ประเภท
2. ถังขนาดความจุ 120 - 150
ลิตร
ห้างสรรพสินค้าสถานศึกษา
สนามกีฬา โรงแรม
โรงพยาบาล สถานีบริการ
น้ามันทางเข้าหมู่บ้าน
ถังสีเขียว เหลือง เทาผ่าส้ม ฟ้า
หรือถัง เทาหรือครีมคาดสีเขียว
เหลือง ส้ม ฟ้า
3. ถังพลาสติกความจุ 50 - 60
ลิตร
จุดที่กลุ่มชนส่วนใหญ่มี
กิจกรรมร่วมกันเป็นโครงการ
โรงภาพยนตร์ ฯลฯ
ถังสีเขียว เหลือง เทาฝาสีส้ม
ฟ้า
4.ถุงพลาสติก ครัวเรือน ถุงสีเขียว เหลือง แดง ฟ้า หรือ
ถุงดา คาดปากถุงด้วยเชือกสี
เขียว เหลือง แดง ฟ้า
2. ถุงขยะ
สาหรับคัดแยกขยะมูลฝอยฝนครัวเรือนและจะต้องมีการคัดแยกรวบรวมใส่ถุงขยะมูลฝอยตามสีต่าง ๆ
ดังต่อไปนี้
 ถุงสีเขียว รวบรวมขยะมูลฝอยที่เน่าเสีย และย่อยสลายได้เร็วสามารถนามาหมักทาปุ๋ยได้ เช่น ผัก ผลไม้
 ถุงสีเหลือง รวบรวมขยะมูลฝอยที่สามารถนามารีไซเคิลหรือขายได้ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ
 ถุงสีแดง รวบรวมขยะมูลฝอยที่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ ขวดยา
ถ่านไฟฉาย กระป๋องสีสเปรย์ กระป๋องสารฆ่าแมลง ภาชนะบรรจุสารอันตรายต่าง ๆ
 ถุงสีฟ้า รวบรวมขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายไม่ได้ไม่เป็นพิษและไม่คุ้มค่าการรีไซเคิล เช่น พลาสติกห่อลูกอม ซอง
บะหมี่สาเร็จรูป ถุงพลาสติก โฟมและฟรอยด์ที่เปื้อนอาหาร
แหล่งที่มา : http://tbjgroup.lnwshop.com/
8
การกาจัดขยะจาพวกสารเคมีและของเสีย
ในด้านการจัดการขยะสารเคมีและของเสียอันตราย มหาวิทยาลัยพะเยา ได้ดาเนินการจ้างเหมาบริษัท อัคคี
ปราการ จากัด เป็นผู้รับไปกาจัดตามหลักวิชาการเป็นประจาทุกปี โดยมีปริมาณสารเคมีและของเสียอันตราย ดัง
แสดงในภาพที่ 12 และการดาเนินการเก็บขนสารเคมีและของเสียอันตรายไปกาจัด ดังแสดงในภาพที่ 13
ภาพที่ 12 ปริมาณสารเคมีและของเสียอันตรายของมหาวิทยาลัยพะเยา ที่ได้รับการกาจัด
แหล่งที่มา : http://www.sustainability.up.ac.th/G_Waste.aspx
ภาพที่ 13 การเก็บขนสารเคมีและของเสียอันตรายของมหาวิทยาลัยพะเยา เพื่อนาไปกาจัด
แหล่งที่มา : http://www.sustainability.up.ac.th/G_Waste.aspx
โดยมีวิธีการกาจัดดังนี้
2. การฝังกลบอย่างปลอดภัย
ใช้สาหรับฝังกลบกากของเสียอันตรายที่ผ่านการทาลายฤทธิ์โดยปรับเสถียรแล้ว ซึ่งขั้นตอนในการกาจัดขยะ
แบบฝังกลบเป็นการนาขยะมากองรวมกันไว้ในบ่อดินแล้วเกลี่ยและบดอัดทับขยะให้แน่นโดยรถแทรกเตอร์ หลังจาก
นั้นนาดินมากลบทับหน้าขยะพร้อมบดอัดทับให้แน่นอีกครั้ง ชั้นบนสุดจะต้องกลบดินบดทับให้แน่น ทาเป็นชั้นๆ จน
สามารถปรับระดับพื้นดินได้ตามต้องการ แล้วปล่อยให้ขยะสลายตัว ซึ่งระหว่างการรอเวลาสลายตัวนั้นจะต้องทาการ
ตรวจสอบและกั้นรั้วบริเวณปฏิบัติการเพื่อป้องกันการบุกรุกอื่นๆ และขณะที่ขยะกาลังสลายตัวจะก่อให้เกิดน้าจาก
การหมักของขยะ ซึ่งน้าดังกล่าวจะถูกนาเข้าสู่กระบวนการบาบัดน้าเสียก่อนปล่อยทิ้งลงสู่แหล่งน้าหรือก่อนนาน้าที่ได้
บาบัดนั้นกลับมาใช้ใหม่
9
2. การฝังกลบตามหลักสุขาภิบาล
ใช้สาหรับฝังกลบขยะมูลฝอยหรือของเสียที่ไม่เป็นอันตราย โดยแบ่งวิธีฝังกลบแบ่งออกเป็น 2 แบบดังนี้
แบบถม
พื้นดิน
ได้แก่ การฝังกลบขยะในพื้นที่ที่เป็นหลุมเป็นบ่อหรือเป็นพื้นที่ที่ต่าและต้องการถม ให้พื้นที่นั้นสูงขึ้นกว่าระดับ
เดิม อาทิ บริเวณบ่อดินลูกรัง ริมตลิ่ง หรือบริเวณ ที่ถูกขุดดินเพื่อออกไปทาประโยชน์อย่างอื่น เป็นต้น โดยการ
ฝังกลบพื้นที่แบบนี้ จะดาเนินการเทขยะลงไปในหลุมแล้วเกลี่ยขยะให้กระจายโดยรอบพร้อมกับบดอัด ให้แน่น
หลังจากนั้นก็ใช้ดินกลบแล้วบดอัดให้แน่นอีกครั้ง
แบบขุด
เป็นร่อง
ได้แก่ การกาจัดขยะแบบฝังกลบในพื้นที่ราบซึ่งต้องดาเนินการขุดให้เป็นร่องก่อน โดยจะต้องมีความกว้างอย่าง
น้อยประมาณ 2 เท่าของขนาดเครื่องจักรกลที่ใช้ เพื่อให้เกิดความสะดวกในการทางานของเครื่องจักร ส่วน
ความลึกของร่องจะขึ้นอยู่กับระดับของน้าใต้ดิน ซึ่งโดยส่วนใหญ่ร่องจะมีความลึกประมาณ 2 - 3 เมตร และทา
ให้ ลาดเอียงไปด้านใดด้านหนึ่งเพื่อไม่ให้น้าขังในบ่อเมื่อเกิดฝนตก โดยดินที่ขุดเพื่อทาบ่อจะถูกวางกองไว้เพื่อใช้
เป็นดินกลบต่อไป ต่อจากนั้นจึงนาขยะเทลงในบ่อแล้วเกลี่ยให้กระจายและบดทับให้แน่นอีกครั้ง
3. การผลิตเชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel: RDF)
การใช้ขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมได้เพื่อการเผาไหม้โดยตรงมักก่อให้เกิดความยุ่งยากในการใช้งาน เนื่องจาก
ความไม่แน่นอนและไม่สม่าเสมอในองค์ประกอบต่างๆ ประกอบกันขึ้นเป็นขยะมูลฝอย ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามชุมชน
และตามฤดูกาล อีกทั้งขยะมูลฝอยเหล่านี้มีค่าความร้อนต่า มีปริมาณเถ้าและความชื้นสูง สิ่งเหล่านี้ก่อความยุ่งยาก
ให้กับผู้ออกแบบโรงเผาและผู้ปฏิบัติ และยังควบคุมการเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้ยาก การแปรรูปขยะมูลฝอย
โดยผ่านกระบวนการจัดการต่างๆ เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพและคุณสมบัติทางเคมีของขยะมูลฝอย เพื่อทา
ให้กลายเป็นเชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel : RDF) จะสามารถแก้ปัญหาดังกล่าวมาข้างต้นได้ ซึ่งเชื้อเพลิงที่ได้
นั้นสามารถนาไปใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อผลิตพลังงานได้ เชื้อเพลิงขยะ (RDF) เป็นการปรับปรุง และแปลงสภาพของขยะ
มูลฝอย ให้เป็นเชื้อเพลิงแข็งที่มีคุณสมบัติค่าความร้อน (Heating Value) ความชื้น ขนาด และความหนาแน่น
เหมาะสมในการใช้เป็นเชื้อเพลิงป้อนหม้อไอน้า เพื่อผลิตไฟฟ้าหรือความร้อน และมีองค์ประกอบทั้งทางเคมีและ
กายภาพสม่าเสมอ
คุณลักษณะทั่วไปของเชื้อเพลิงขยะประกอบด้วย
• ปลอดเชื้อโรคจากการอบด้วยความร้อน ลดความเสี่ยงต่อการสัมผัสเชื้อโรค
• ไม่มีกลิ่น
• มีขนาดเหมาะสมต่อการป้อนเตาเผา - หม้อไอน้า
• มีความหนาแน่นมากกว่าขยะมูลฝอยและชีวมวลทั่วไป เหมาะสมต่อการจัดเก็บ และขนส่ง
• มีค่าความร้อนสูงเทียบเท่ากับชีวมวล และมีความชื้นต่า
• ลดปัญหามลภาวะจากการเผาไหม้
หลักการทางานของเทคโนโลยีนี้ เริ่มจากการคัดแยกขยะที่ไม่สามารถเผาไหม้ได้ เช่น โลหะ แก้ว เศษหิน ขยะ
อันตราย และขยะรีไซเคิลออกจากขยะรวม ในบางกรณีจะมีการใช้เครื่องคัดแยกแม่เหล็กเพื่อคัดแยกมูลฝอยที่มีเหล็ก
เป็นส่วนประกอบ และใช้เครื่อง Eddy Current Separator เพื่อคัดแยกอลูมิเนียมออกจากมูลฝอย จากนั้นจึงป้อน
10
ขยะมูลฝอยไปเข้าเครื่องสับ - ย่อยเพื่อลดขนาด และป้อนเข้าเตาอบเพื่อลดความชื้นของมูลฝอย โดยการใช้ความร้อน
จากไอน้าหรือลมร้อนเพื่ออบขยะให้แห้ง ซึ่งจะทาให้น้าหนักลดลง และสุดท้ายจะส่งไปเข้าเครื่องอัดเม็ด เพื่อทาให้ได้
เชื้อเพลิงขยะอัดเม็ดที่มีขนาดและความหนาแน่นเหมาะสมต่อการขนส่งไปจาหน่ายเป็นเชื้อเพลิง ซึ่งในบางกรณีจะมี
การเติมหินปูนเข้าไปกับมูลฝอยระหว่างการอัดเป็นเม็ด เพื่อควบคุมและลดปริมาณก๊าซพิษที่เกิดขึ้นจากการเผาไหม้
การออกแบบขั้นตอนต่างๆ ในการแปรรูปขยะเป็นเชื้อเพลิง ขึ้นอยู่กับสถานการณ์การจัดการขยะมูลฝอยในปัจจุบัน
ในกระบวนการลดปริมาณของเสียหรือกาจัดของเสียที่แหล่งกาเนิด (SourceReduction)
มีขั้นตอนต่างๆ ดังแสดงในรูปที่ 1 ซึ่งประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ได้แก่การควบคุมแหล่งกาเนิดของวัสดุและการ
เปลี่ยนแปลงวิธีการผลิต
แหล่งที่มา : http://www.healthcarethai.com/
ด้วยการขยายตัวของประชากรโลกทา ให้มีความต้องการสิ่งที่จา เป็นในการดา รงชีวิตเพิ่ม มากขึ้นเช่นอาหาร
และที่อยู่อาศัยเป็นตัวแปรตามการเจริญเติบโตด้านอุตสาหกรรมการก่อสร้าง เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วซึ่งผลที่ตามมาคือ
ขยะก่อสร้างที่เพิ่มมากขึ้นก่อปัญหาด้านการจัดการขยะตาม เมืองต่าง ๆ ดังนั้น แนวทางการจัดการขยะคือ การ
ป้องกันไม่ให้เกิดขยะหรือการลดปริมาณขยะ ให้น้อยลงโดยการพัฒนาแนวคิดในการลดปริมาณเศษวัสดุที่แหล่งกาเนิด
(Source Reduction) ซึ่งประสิทธิภาพมากกว่าการนาขยะกลับมาใช้ใหม่การแก้ปัญหาของขยะก่อสร้างเนื่องจากขยะ
ก่อสร้างส่วนมากเป็นวัสดุที่คงทนถาวรและยากที่จะย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ ดังตัวอย่างรูปที่ 2 จึงจาเป็นต้อง มี
แนวทางในการจัดการเศษวัสดุก่อสร้างเพื่อช่วยลดผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยมีกรอบ แนวคิดในการจัดการขยะก่อสร้างใน
โครงการดังภาพประกอบนี้
11
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
-ปรึกษาเลือกหัวข้อ
-นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน
-ศึกษารวบรวมข้อมูล
-จัดทารายงาน
-นาเสนอคุณครู
-ปรับปรุงและแก้ไข
-การประชุมออนไลน์เพื่อลดการใช้ กระดาษ (Reduce)
-โครงการกระดาษหน้าเดียวเพื่อน้องๆที่ มองไม่เห็น (Reuse)
-โครงการบริจาคขยะบุญและขวดน น้าดื่ม (Reduce & Recycle)
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-อินเตอร์เน็ต
-หนังสือที่เกี่ยวข้อง
-คอมพิวเตอร์
-โทรศัพท์
-สมุดจด
-ปากกา
งบประมาณ
0 บาท
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
1
7
1 คิดหัวข้อโครงงาน ปรมพร
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ปรมพร
3 จัดทาโครงร่างงาน ปรมพร
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ปรมพร
5 ปรับปรุงทดสอบ ปรมพร
6 การทาเอกสารรายงาน ปรมพร
7 ประเมินผลงาน ปรมพร
8 นาเสนอโครงงาน ปรมพร
12
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. สามารถลดปริมาณขยะ
2. ปริมาณการใช้กระดาษลดลงอย่างเห็นได้ชัดและต่อเนื่อง
3. บุคลากรมีจิตสานึกและตระหนักถึงความสาคัญในการควบคุมการใช้สิ่งต่างๆที่ก่อให้เกิดเป็นขยะ
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
-กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
-กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
-กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
 สถาพร ด่านขุนทด. (2561). “ปัญหาขยะล้นเมือง.” [ออนไลน์]. แหล่งที่มา https://greennews.agency/
(วันที่สืบค้น 17 กันยายน 2562)
 เมริกา ธนานุวัฒน์วัฒนา. (2562). “วิกฤตการณ์ขยะล้นเมือง.” [ออนไลน์].
แหล่งที่มา https://www.ictsilpakorn.com/ (วันที่สืบค้น 17 กันยายน 2562)
 โรงเรียนโพธิ์ไทรพิทยาคาร. (2557). “วิธีลดขยะในโรงเรียน.” [ระบบออนไลน์].
แหล่งที่มา http://howtoreducewasteinschoolis2.blogspot.com/ (วันที่สืบค้น 17 กันยายน 2562)
 ไทยพับลิก้า. (2558). “สถานการณ์ขยะของไทย.” [ออนไลน์].
แหล่งที่มา https://thaipublica.org/2014/09/thailands-garbage-crisis/ (วันที่สืบค้น 17 กันยายน 2562)
 โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์. (2559). “ปัญหาขยะภายในโรงเรียน.” [ออนไลน์].
แหล่งที่มา http://www.kalasinpit.ac.th/vichakarn/index.php/ (วันที่สืบค้น 17 กันยายน 2562)

More Related Content

What's hot

2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
Plam Preeya
 
งานคอมใหม่
งานคอมใหม่งานคอมใหม่
งานคอมใหม่
Tanadol Intachan
 
ใบงานที่ 9 - 16 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 9 - 16   โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 9 - 16   โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 9 - 16 โครงงานคอมพิวเตอร์
Sirikanya Pota
 
Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]
Assa Bouquet
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
พัน พัน
 

What's hot (17)

1
11
1
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
Bathbomb
BathbombBathbomb
Bathbomb
 
งานคอมใหม่
งานคอมใหม่งานคอมใหม่
งานคอมใหม่
 
ใบงานที่ 9 - 16 โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 9 - 16   โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 9 - 16   โครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 9 - 16 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานท 6
ใบงานท   6ใบงานท   6
ใบงานท 6
 
Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]Projectm6 2-2556[โรบ -]
Projectm6 2-2556[โรบ -]
 
โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1โครงงานคอมพิวเตอร์1
โครงงานคอมพิวเตอร์1
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
กล่องแฟนซีรีไซเคิล (1)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์2
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
Kiki
KikiKiki
Kiki
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 

Similar to At1

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ดวงหทัย ใจมุข
 
โครงร่างถุงกระดาษ
โครงร่างถุงกระดาษโครงร่างถุงกระดาษ
โครงร่างถุงกระดาษ
netjumble
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
Lift Ohm'
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
visuttithep
 
ขยะรีไซเคิลล
ขยะรีไซเคิลลขยะรีไซเคิลล
ขยะรีไซเคิลล
Napassawan Pichai
 

Similar to At1 (20)

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Chuthimon 05 602
Chuthimon 05 602Chuthimon 05 602
Chuthimon 05 602
 
At1
At1At1
At1
 
At1
At1At1
At1
 
at1
at1at1
at1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project paradon
2559 project paradon2559 project paradon
2559 project paradon
 
โครงร่างถุงกระดาษ
โครงร่างถุงกระดาษโครงร่างถุงกระดาษ
โครงร่างถุงกระดาษ
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
607 NO.8
607 NO.8607 NO.8
607 NO.8
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
สบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพรสบู่สมุนไพร
สบู่สมุนไพร
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
ขยะรีไซเคิลล
ขยะรีไซเคิลลขยะรีไซเคิลล
ขยะรีไซเคิลล
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
22 2559-project
22 2559-project 22 2559-project
22 2559-project
 
22 2559-project
22 2559-project 22 2559-project
22 2559-project
 

At1

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ลดขยะลดมลพิษภายในโรงเรียน ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ นางสาวปรมพร แดงสากล เลขที่ 47 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาวปรมพร แดงสากล เลขที่ 47 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ลดขยะลดมลพิษภายในโรงเรียน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Reduce waste, reduce pollution in school ประเภทโครงงาน โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวปรมพร แดงสากล ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันในพื้นที่ที่มีการขยายตัวของชุมชนจะมีจานวนประชากรเพิ่มมากขึ้น ปริมาณขยะต่างๆก็เพิ่มขึ้น เป็นเงาตามตัว มีปัญหาเกิดขึ้นมากมายจากการที่ขยะมูลฝอยมีปริมาณเพิ่มมากขึ้น และการจัดเก็บหรือการจัดการ ขยะมูลฝอย ไม่สามารถรับมือกับจานวนขยะมูลฝอยที่ตกค้างได้ เช่น ขยะเน่าเหม็น น้าเน่าเสีย ก่อให้เกิดมลพิษทาง อากาศ เป็นต้น เพราะยิ่งนานเข้าขยะก็มากขึ้นซึ่งส่งผลให้เกิดปัญหาที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งสภาพภูมิทัศน์ (ดินเสียและน้าเสีย) และสุขภาพอนามัยของประชาชนเป็นเวลาหลายสิบปีที่หน่วยงานต่างๆพยายามช่วยกันแก้ไข ปัญหาที่เกิดขึ้นจากขยะ แต่คนส่วนใหญ่ก็ละเลยไม่สนใจถึงผลกระทบที่จะตามมา โดยบางที่อาจจะเกิด ปัญหาขยะที่ มากเกินไป ทาให้สุขภาพของประชาชนที่อยู่บริเวณนั้นเป็นโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคมะเร็ง และไม่มีใครที่คิด อยากจะเก็บเพราะคิดว่าไม่ใช่หน้าที่ของตนจากการศึกษาพบว่าผลกระทบของขยะมูลฝอยต่อสภาวะแวดล้อมนั้น นับวันจะเพิ่มมากขึ้นตามจานวนของประชากร ถ้าหากไม่มีการกาจัดขยะมูลฝอยให้ถูกต้องและเหมาะสมแล้วปัญหา ความสกปรกต่าง ๆ ที่เกิดจากขยะมูลฝอยจะต้องเกิดขึ้นอย่างแน่นอน ผู้จัดทา ได้เห็นความสาคัญในด้านการบริหาร จัดการขยะภายในโรงเรียน จึงได้วิเคราะห์ประเด็นปัญหาการใช้ทรัพยากรและปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม เพื่อเป็น แนวทางในการบริหารจัดการปัญหาขยะ ซึ่งจากการวิเคราะห์ปัญหาสิ่งแวดล้อมและได้มีการจัดลาดับปัญหาที่มี นัยสาคัญพบว่าปัญหาสิ่งแวดล้อมอันดับที่หนึ่งได้แก่ ขยะจากกล่องบรรจุอาหารและเครื่องดื่ม อันดับที่สองคือ กระดาษที่ใช้แล้วจากการจัดเตรียมเอกสารเพื่อการเรียนการสอน กิจกรรม โครงการ และการอบรมต่างๆ เพื่อให้การ
  • 3. 3 จัดการขยะภายในสังคมเกิดประสิทธิภาพสูงสุดและมีความยั่งยืน ผู้จัดทาจึงได้นาแนวคิดด้าน 7Rs มาประยุกต์ใช้ใน การจัดการขยะ ได้แก่ RETHINK (การคิดใหม่) REJECT (การปฏิเสธการใช้ทรัพยากรแบบครั้งเดียวทิ้งหรือหารนาเข้า จากแดนไก) RETURN (การเลือกใช้สินค้าที่สามารถส่งคืนบรรจุภัณฑ์กลับสู่ผู้ผลิตได้) REPAIR (การซ่อมแซมเครื่องใช้ ให้สามารถใช้ประโยชน์ได้ต่อไป) REUSE (การนาบรรจุภัณฑ์ใช้แล้วกลับมาใช้ใหม่) RECYCLE (การแยกขยะที่ยังใช้ ประโยชน์ได้ให้ง่ายต่อการจัดเก็บและส่งแปรรูป) REDUCE (การลดการบริโภคและหาทางเพิ่มประสิทธิภาพการใช้งาน ของสิ่งของเครื่องใช้ต่างๆ) และอาศัยความร่วมมือของนักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียนในการจัดการขยะมูลฝอย และการปลูกจิตสานึก ในการมีส่วนร่วมให้แก่นักเรียน โดยการเปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนเข้ามามีส่วนร่วมในการ ดาเนินการ จัดการขยะ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้และเกิดจิตสานึกที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการจัดการขยะมูลฝอย ซึ่ง นักเรียนและบุคลากรภายในโรงเรียนมีอิทธิพลในการกระตุ้นจิตสานึกต่อความรับผิดชอบร่วมกันแก้ไขปัญหา สิ่งแวดล้อมเรื่อง การลดขยะโดยเริ่มจากการให้นักเรียนแต่ละระดับชั้นได้เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการขยะมูลฝอยอย่าง เป็นระบบ เพื่อรองรับปัญหาขยะมูลฝอยที่เพิ่มมากขึ้นทุกวัน แต่การจัดการขยะมูลฝอยที่ครบวงจรมีต้นทุนสูงมาก ดังนั้นทุกคนจึงควรมีความตระหนักในการลดปริมาณขยะมูลฝอยมากกว่าการพึ่งพาการกาจัดขยะมูลฝอย เพื่อที่จะ กาจัดหรือลดปริมาณขยะจึงเป็นสิ่งที่สาคัญและสอดคล้องกับการบริหาร และจัดการสาธารณะแนวใหม่ เพื่อนาไปสู่ การแก้ไขปัญหาขยะล้นโรงเรียนได้อย่างยั่งยืนและเป็นรูปธรรม ปัญหาขยะเป็นปัญหาหนึ่งที่ส่งผลกระทบต่อ สภาพแวดล้อมในโรงเรียนทาให้เกิดทัศนะ 3 วิสัย และภาพลักษณ์ที่ไม่ดี อันเนื่องมาจากพฤติกรรมของนักเรียนในด้าน การจัดการขยะมูลฝอย รวมถึงมาตรการต่างๆภายในโรงเรียนที่ส่งผลให้การจัดการขยะภายในโรงเรียนไม่เกิด ประสิทธิภาพที่ดีนัก ผู้จัดทาจึงสนใจที่จะพัฒนา และหาแนวทางการปรับปรุงแก้ไขด้านพฤติกรรมการจัดการขยะของ นักเรียนในโรงเรียนยุพราช เพื่อนาไปสู่การจัดการขยะที่ดีภายในโรงเรียน ดังนั้นงานวิจัยในหัวข้อ “ลดขยะลดมลพิษ ภายในโรงเรียน” ผู้จัดทาจึงมุ่งเน้นไปที่พฤติกรรมของมนุษย์ และแนวคิดเกี่ยวกับความร่วมมือของนักเรียนและ บุคลากรในการจัดการขยะมูลฝอยว่าจะเกิดขึ้นได้อย่างไร และจะมีแนวทางใดบ้างที่จะทาให้มนุษย์มีพฤติกรรมในการ จัดการขยะในอาคารเรียน และตามสถานที่ต่างๆ อย่างมีประสิทธิภาพเพื่อเกิดการจัดการขยะให้ยั่งยืนต่อไปในอนาคต และนาขยะที่มีอยู่ภายในโรงเรียนมาทาตามหลักทฤษฎี 7Rs เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด
  • 4. 4 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 2.1 เพื่อควบคุมและลดจานวนขยะกระดาษที่เกิดขึ้นภายโรงเรียนReduce) 2.2 เพื่อนากระดาษที่ใช้แล้วหน้าเดียวไปบริจาคเพื่อการใช้ซ้า (Reuse) ในการทาอักษรเบรลล์ให้แก่โรงเรียน สอนคนตาบอดภาคเหนือ 2.3 เพื่อนากระดาษที่ใช้แล้วสองหน้าไปบริจาคเพื่อนากลับไปใช้ (Recycle) 2.4 เพื่อนาขยะรีไซเคิลประเภทขวดพลาสติก ขวดแก้ว และกระป๋องอลูมิเนียมไปบริจาคให้งาน สิ่งแวดล้อม ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) - ปริมาณขยะในสังคม - สาเหตุที่มาของขยะ - วิธีการป้องกันขยะในสังคม - วิธีการลดปริมาณขยะในสังคม - ดาเนินการจัดเก็บและคัดแยกขยะกระดาษที่เกิดขึ้นในภาคการศึกษาที่ 1-2 ปีการศึกษา2562 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) การใช้แนวคิด 7Rs แหล่งที่มา : https://www.greenery.org/articles/7r-campaign/ แนวคิดด้านการจัดการขยะเพื่อการปรับตัวต่อภาวะโลกร้อน คือก่อนจะทิ้งขยะควรหยุดคิดสักนิดว่าจะสามารถ ลดปริมาณขยะ หรือนาขยะกลับมาใช้ประโยชน์ได้หรือไม่ แนวคิดที่น่าสนใจคือแนวคิด 7R ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 1. Rethink ( คิดใหม่ ) เป็นการเปลี่ยนความคิดเรื่องการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างถูกต้องเหมาะสมไม่ได้ทาตามกระแสแต่อย่าง เดียว แต่ทาจากใจหรือจากจิตสานึกที่ดี เช่น การซื้อสินค้าที่ผลิตจากวัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม 2. Reduce ( ลดการใช้ ) เป็นการลดใช้ทรัพยากรให้เหลือเท่าที่จาเป็นหรือนามาใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด เช่น ใช้ถุงผ้าหรือตะกร้า หวายเลิกง้อถุงพลาสติก ใช้กล่องข้าวหรือปิ่นโตลดการใช้โฟม
  • 5. 5 3. Reuse ( ใช้ซ้า ) เป็นการนากลับมาใช้ใหม่ หรือใช้อีกครั้ง หรือหลายๆครั้ง เช่น แยกประเภทกระดาษที่ใช้แล้วเพื่อนากลับมาใช้ ใหม่อย่างเหมาะสมกระดาษดีนามาใช้พิมพ์ใหม่เป็นกระดาษ 2 หน้าสาหรับเอกสารร่าง กระดาษยับนามาตัดเป็น กระดาษโน้ต กระดาษ 2 หน้าทาเป็นถุงใส่ของ บริจาคสิ่งของที่เลิกใช้แล้วแต่มีสภาพดีให้กับผู้ที่ขาดแคลน และ ประกวดนวัตกรรมนาขยะกลับมาใช้ซ้า เช่น การนากระดาษมาเป็นซองใส่ยา ฯลฯ 4. Recycle ( นากลับมาใช้ใหม่ ) เป็นการนาวัสดุที่หมดที่หมดสภาพแล้วหรือที่ใช้แล้วมาแปรสภาพด้วยกระบวนการต่าง ๆ เพื่อนากลับมาใช้หรือ แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ใหม่ เช่น คิดก่อนทิ้งว่าขยะช่วยกันแยกประเภทขยะเพื่อให้ได้ขยะรีไซเคิลมากที่สุดและเพื่อช่วย ลดขั้นตอนและลดพลังงานในการกาจัดขยะ เนื่องจากขยะแต่ละชนิดมีวิธีการกาจัดที่ไม่เหมือนกัน สร้างธนาคารขยะ ที่ทุกคนเป็นเจ้าของร่วมกัน เพื่อการหมุนเวียนทรัพยากรกลับมาใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด คัดแยกขยะประเภท กระดาษ แก้ว โลหะเพื่อการนากลับไปรีไซเคิลได้ไม่รู้จบ และคัดแยกขยะประเภทกล่องนมเพื่อบริจาคนาไปผลิตแผ่น กรีนบอร์ด 5. Repair ( ซ่อมแซม ) เป็นการซ่อมแซมให้ใช้การได้ใหม่ เช่น กระป๋องพลาสติก ที่แตกร้าวหรือเป็นรูใช้กาวประสานหรืออุดรูเหล่านั้น มันก็ยังใช้ได้เหมือนเดิมทาให้อายุการใช้งานนานขึ้น การกลายเป็นขยะก็ยืดเวลาออกไป 6. Reject ( ปฏิเสธ ) เป็นการปฏิเสธการใช้ทรัพยากรแบบครั้งเดียวทิ้งหรือหารนาเข้าจากแดนไกล หรือการปฏิเสธใช้สินค้าหรือ ผลิตภัณฑ์ที่ทาลายโลก เช่น พลาสติก กล่องโฟมบรรจุอาหาร 7. Return ( ตอบแทน ) เป็นการตอบแทนสิ่งที่พวกเราได้ทาลายไปคืนสู่โลก เช่น ปลูกต้นไม้กันเยอะ ๆ เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวคืนแก่โลก ช่วยโลกสดใส ลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ ลดปัญหาโลกร้อน แหล่งที่มา : https://www.pinterest.com/pin/690176711618766627/
  • 6. 6 การคัดแยก เก็บรวบรวมและขนส่งขยะมูลฝอย 1. ถังขยะ แหล่งที่มา http://library1.nida.ac.th/termpaper6/sd/2555/19774.pdf ในการจัดการขยะมูลฝอยแบบครบวงจร จาเป็นต้องจัดให้มีระบบการคัดแยกขยะมูลฝอยประเภทต่างๆ ตามแต่ ลักษณะองค์ประกอบโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อนากลับไปใช้ประโยชน์ใหม่ สามารถดาเนินการได้ตั้งแต่แหล่งกาเนิด โดย จัดวางภาชนะให้เหมาะสม ตลอดจนวางระบบการเก็บรวบรวมมูลฝอยอย่างมีประสิทธิภาพ และสอดคล้องกับระบบ การคัดแยกขยะมูลฝอย พร้อมทั้งพิจารณาควรจาเป็นของสถานีขนถ่ายขยะมูลฝอยและระบบขนส่งขยะมูลฝอยไป กาจัดต่อไป ถังขยะทั้งหมดมีอยู่ 4 ถัง แต่ละถังนั้นก็รับขยะต่างประเภทกัน แต่ในปัจจุบันนั้น คนมักจะทิ้งขยะไม่ถูกถัง กัน เช่น ถุงพลาสติกก็ ทิ้งถังเขียวบ้าง ถังสีแดงบ้าง ซึ่งคนแบบนี้มักจะเป็นคนที่มักง่าย ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม เป็นคนเห็นแก่ตัว คิดว่าใกล้ถังไหนก็ทิ้งถังนั้น ดังนั้นเราควรทิ้งขยะให้ถูกต้อง ตามสีของถังขยะก็คือ 1.ถังขยะ สีเขียว คือ ถังขยะที่ย่อยสลายได้ เช่น เศษอาหาร กิ่งไม้ ใบไม้ ผัก 2.ถังขยะ สีเหลือง คือ ถังขยะที่สามารถนากลับมาใช้ได้ เช่น กระดาษ ขวดน้า แก้วน้า เศษเหล็ก 3.ถังขยะ สีน้าเงิน คือ ถังขยะที่ไม่สามารถนากลับมาใช้ได้ เช่น โฟม ถุงขนม พลาสติก 4.ถังขยะ สีแดง คือ ถังขยะที่เป็นพิษ เช่น กระป๋องสี สีสเปรย์ แบตเตอรี่ ยาฆ่าแมลง และอื่นๆ ที่เป็นพิษ นอกจากนี้ยังมีถุงพลาสติกสาหรับรองรับขยะมูลฝอยในแต่ละถัง โดยมัดปากถุงสีเดียวกับถังที่รองรับมูลฝอย ตามประเภทดังกล่าวข้างต้น ในกรณีที่สถานที่มีพื้นที่จากัดในการจัดวางภาชนะรองรับขยะมูลฝอยและมีจานวนคนที่ ค่อนข้างมากในบริเวณพื้นที่นั้น เช่น ศูนย์การประชุมสนามบิน ควรมีถังที่สามารถรองรับขยะมูลฝอยได้ทั้ง 4 ประเภท ในถังเดียวกัน โดยแบ่งพื้นที่ของถังขยะมูลฝอยออกเป็น 4 ช่อง และตัวถังรองรับขยะมูลฝอยทาด้วยสแตนเลส มีฝาปิด แยกเป็น 4 สี ในแต่ละช่องตามประเภทของขยะมูลฝอยที่รองรับ ดังนี้  ฝาสีเขียว รองรับขยะมูลฝอยที่เน่าเสียและย่อยสลายได้เร็ว  ฝาสีเหลือง รองรับขยะมูลฝอยที่สามารถนารีไซเคิล หรือขายได้  ฝาสีแดงรองรับขยะมูลฝอยที่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม  ฝาสีฟ้ารองรับขยะมูลฝอย ที่ย่อยสลายไม่ได้ ไม่เป็นพิษและไม่คุ้มค่าการรีไซเคิลและมีสัญลักษณ์ข้างถัง
  • 7. 7 สาหรับสถานที่บางแห่งควรมีคอนเทรนเนอร์ขนาดใหญ่ตั้งไว้ สาหรับให้ประชาชนทิ้งขยะมูลฝอย แยกประเภทด้วย รายละเอียดดังตาราง ประเภท/ขนาด สถานที่รวบรวม หมายเหตุ 1. ถังคอนเทรนเนอร์ ความจุ 4,000 - 5,000 ลิตร ห้างสรรพสินค้า สวนสาธารณะ ตลาด ภัตตาคาร สนามกีฬา มี 4 ตอน สาหรับใส่ขยะมูล ฝอย 4 ประเภท 2. ถังขนาดความจุ 120 - 150 ลิตร ห้างสรรพสินค้าสถานศึกษา สนามกีฬา โรงแรม โรงพยาบาล สถานีบริการ น้ามันทางเข้าหมู่บ้าน ถังสีเขียว เหลือง เทาผ่าส้ม ฟ้า หรือถัง เทาหรือครีมคาดสีเขียว เหลือง ส้ม ฟ้า 3. ถังพลาสติกความจุ 50 - 60 ลิตร จุดที่กลุ่มชนส่วนใหญ่มี กิจกรรมร่วมกันเป็นโครงการ โรงภาพยนตร์ ฯลฯ ถังสีเขียว เหลือง เทาฝาสีส้ม ฟ้า 4.ถุงพลาสติก ครัวเรือน ถุงสีเขียว เหลือง แดง ฟ้า หรือ ถุงดา คาดปากถุงด้วยเชือกสี เขียว เหลือง แดง ฟ้า 2. ถุงขยะ สาหรับคัดแยกขยะมูลฝอยฝนครัวเรือนและจะต้องมีการคัดแยกรวบรวมใส่ถุงขยะมูลฝอยตามสีต่าง ๆ ดังต่อไปนี้  ถุงสีเขียว รวบรวมขยะมูลฝอยที่เน่าเสีย และย่อยสลายได้เร็วสามารถนามาหมักทาปุ๋ยได้ เช่น ผัก ผลไม้  ถุงสีเหลือง รวบรวมขยะมูลฝอยที่สามารถนามารีไซเคิลหรือขายได้ เช่น แก้ว กระดาษ พลาสติก โลหะ  ถุงสีแดง รวบรวมขยะมูลฝอยที่มีอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น หลอดฟลูออเรสเซนต์ ขวดยา ถ่านไฟฉาย กระป๋องสีสเปรย์ กระป๋องสารฆ่าแมลง ภาชนะบรรจุสารอันตรายต่าง ๆ  ถุงสีฟ้า รวบรวมขยะมูลฝอยที่ย่อยสลายไม่ได้ไม่เป็นพิษและไม่คุ้มค่าการรีไซเคิล เช่น พลาสติกห่อลูกอม ซอง บะหมี่สาเร็จรูป ถุงพลาสติก โฟมและฟรอยด์ที่เปื้อนอาหาร แหล่งที่มา : http://tbjgroup.lnwshop.com/
  • 8. 8 การกาจัดขยะจาพวกสารเคมีและของเสีย ในด้านการจัดการขยะสารเคมีและของเสียอันตราย มหาวิทยาลัยพะเยา ได้ดาเนินการจ้างเหมาบริษัท อัคคี ปราการ จากัด เป็นผู้รับไปกาจัดตามหลักวิชาการเป็นประจาทุกปี โดยมีปริมาณสารเคมีและของเสียอันตราย ดัง แสดงในภาพที่ 12 และการดาเนินการเก็บขนสารเคมีและของเสียอันตรายไปกาจัด ดังแสดงในภาพที่ 13 ภาพที่ 12 ปริมาณสารเคมีและของเสียอันตรายของมหาวิทยาลัยพะเยา ที่ได้รับการกาจัด แหล่งที่มา : http://www.sustainability.up.ac.th/G_Waste.aspx ภาพที่ 13 การเก็บขนสารเคมีและของเสียอันตรายของมหาวิทยาลัยพะเยา เพื่อนาไปกาจัด แหล่งที่มา : http://www.sustainability.up.ac.th/G_Waste.aspx โดยมีวิธีการกาจัดดังนี้ 2. การฝังกลบอย่างปลอดภัย ใช้สาหรับฝังกลบกากของเสียอันตรายที่ผ่านการทาลายฤทธิ์โดยปรับเสถียรแล้ว ซึ่งขั้นตอนในการกาจัดขยะ แบบฝังกลบเป็นการนาขยะมากองรวมกันไว้ในบ่อดินแล้วเกลี่ยและบดอัดทับขยะให้แน่นโดยรถแทรกเตอร์ หลังจาก นั้นนาดินมากลบทับหน้าขยะพร้อมบดอัดทับให้แน่นอีกครั้ง ชั้นบนสุดจะต้องกลบดินบดทับให้แน่น ทาเป็นชั้นๆ จน สามารถปรับระดับพื้นดินได้ตามต้องการ แล้วปล่อยให้ขยะสลายตัว ซึ่งระหว่างการรอเวลาสลายตัวนั้นจะต้องทาการ ตรวจสอบและกั้นรั้วบริเวณปฏิบัติการเพื่อป้องกันการบุกรุกอื่นๆ และขณะที่ขยะกาลังสลายตัวจะก่อให้เกิดน้าจาก การหมักของขยะ ซึ่งน้าดังกล่าวจะถูกนาเข้าสู่กระบวนการบาบัดน้าเสียก่อนปล่อยทิ้งลงสู่แหล่งน้าหรือก่อนนาน้าที่ได้ บาบัดนั้นกลับมาใช้ใหม่
  • 9. 9 2. การฝังกลบตามหลักสุขาภิบาล ใช้สาหรับฝังกลบขยะมูลฝอยหรือของเสียที่ไม่เป็นอันตราย โดยแบ่งวิธีฝังกลบแบ่งออกเป็น 2 แบบดังนี้ แบบถม พื้นดิน ได้แก่ การฝังกลบขยะในพื้นที่ที่เป็นหลุมเป็นบ่อหรือเป็นพื้นที่ที่ต่าและต้องการถม ให้พื้นที่นั้นสูงขึ้นกว่าระดับ เดิม อาทิ บริเวณบ่อดินลูกรัง ริมตลิ่ง หรือบริเวณ ที่ถูกขุดดินเพื่อออกไปทาประโยชน์อย่างอื่น เป็นต้น โดยการ ฝังกลบพื้นที่แบบนี้ จะดาเนินการเทขยะลงไปในหลุมแล้วเกลี่ยขยะให้กระจายโดยรอบพร้อมกับบดอัด ให้แน่น หลังจากนั้นก็ใช้ดินกลบแล้วบดอัดให้แน่นอีกครั้ง แบบขุด เป็นร่อง ได้แก่ การกาจัดขยะแบบฝังกลบในพื้นที่ราบซึ่งต้องดาเนินการขุดให้เป็นร่องก่อน โดยจะต้องมีความกว้างอย่าง น้อยประมาณ 2 เท่าของขนาดเครื่องจักรกลที่ใช้ เพื่อให้เกิดความสะดวกในการทางานของเครื่องจักร ส่วน ความลึกของร่องจะขึ้นอยู่กับระดับของน้าใต้ดิน ซึ่งโดยส่วนใหญ่ร่องจะมีความลึกประมาณ 2 - 3 เมตร และทา ให้ ลาดเอียงไปด้านใดด้านหนึ่งเพื่อไม่ให้น้าขังในบ่อเมื่อเกิดฝนตก โดยดินที่ขุดเพื่อทาบ่อจะถูกวางกองไว้เพื่อใช้ เป็นดินกลบต่อไป ต่อจากนั้นจึงนาขยะเทลงในบ่อแล้วเกลี่ยให้กระจายและบดทับให้แน่นอีกครั้ง 3. การผลิตเชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel: RDF) การใช้ขยะมูลฝอยที่เก็บรวบรวมได้เพื่อการเผาไหม้โดยตรงมักก่อให้เกิดความยุ่งยากในการใช้งาน เนื่องจาก ความไม่แน่นอนและไม่สม่าเสมอในองค์ประกอบต่างๆ ประกอบกันขึ้นเป็นขยะมูลฝอย ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปตามชุมชน และตามฤดูกาล อีกทั้งขยะมูลฝอยเหล่านี้มีค่าความร้อนต่า มีปริมาณเถ้าและความชื้นสูง สิ่งเหล่านี้ก่อความยุ่งยาก ให้กับผู้ออกแบบโรงเผาและผู้ปฏิบัติ และยังควบคุมการเกิดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมได้ยาก การแปรรูปขยะมูลฝอย โดยผ่านกระบวนการจัดการต่างๆ เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพและคุณสมบัติทางเคมีของขยะมูลฝอย เพื่อทา ให้กลายเป็นเชื้อเพลิงขยะ (Refuse Derived Fuel : RDF) จะสามารถแก้ปัญหาดังกล่าวมาข้างต้นได้ ซึ่งเชื้อเพลิงที่ได้ นั้นสามารถนาไปใช้เป็นเชื้อเพลิงเพื่อผลิตพลังงานได้ เชื้อเพลิงขยะ (RDF) เป็นการปรับปรุง และแปลงสภาพของขยะ มูลฝอย ให้เป็นเชื้อเพลิงแข็งที่มีคุณสมบัติค่าความร้อน (Heating Value) ความชื้น ขนาด และความหนาแน่น เหมาะสมในการใช้เป็นเชื้อเพลิงป้อนหม้อไอน้า เพื่อผลิตไฟฟ้าหรือความร้อน และมีองค์ประกอบทั้งทางเคมีและ กายภาพสม่าเสมอ คุณลักษณะทั่วไปของเชื้อเพลิงขยะประกอบด้วย • ปลอดเชื้อโรคจากการอบด้วยความร้อน ลดความเสี่ยงต่อการสัมผัสเชื้อโรค • ไม่มีกลิ่น • มีขนาดเหมาะสมต่อการป้อนเตาเผา - หม้อไอน้า • มีความหนาแน่นมากกว่าขยะมูลฝอยและชีวมวลทั่วไป เหมาะสมต่อการจัดเก็บ และขนส่ง • มีค่าความร้อนสูงเทียบเท่ากับชีวมวล และมีความชื้นต่า • ลดปัญหามลภาวะจากการเผาไหม้ หลักการทางานของเทคโนโลยีนี้ เริ่มจากการคัดแยกขยะที่ไม่สามารถเผาไหม้ได้ เช่น โลหะ แก้ว เศษหิน ขยะ อันตราย และขยะรีไซเคิลออกจากขยะรวม ในบางกรณีจะมีการใช้เครื่องคัดแยกแม่เหล็กเพื่อคัดแยกมูลฝอยที่มีเหล็ก เป็นส่วนประกอบ และใช้เครื่อง Eddy Current Separator เพื่อคัดแยกอลูมิเนียมออกจากมูลฝอย จากนั้นจึงป้อน
  • 10. 10 ขยะมูลฝอยไปเข้าเครื่องสับ - ย่อยเพื่อลดขนาด และป้อนเข้าเตาอบเพื่อลดความชื้นของมูลฝอย โดยการใช้ความร้อน จากไอน้าหรือลมร้อนเพื่ออบขยะให้แห้ง ซึ่งจะทาให้น้าหนักลดลง และสุดท้ายจะส่งไปเข้าเครื่องอัดเม็ด เพื่อทาให้ได้ เชื้อเพลิงขยะอัดเม็ดที่มีขนาดและความหนาแน่นเหมาะสมต่อการขนส่งไปจาหน่ายเป็นเชื้อเพลิง ซึ่งในบางกรณีจะมี การเติมหินปูนเข้าไปกับมูลฝอยระหว่างการอัดเป็นเม็ด เพื่อควบคุมและลดปริมาณก๊าซพิษที่เกิดขึ้นจากการเผาไหม้ การออกแบบขั้นตอนต่างๆ ในการแปรรูปขยะเป็นเชื้อเพลิง ขึ้นอยู่กับสถานการณ์การจัดการขยะมูลฝอยในปัจจุบัน ในกระบวนการลดปริมาณของเสียหรือกาจัดของเสียที่แหล่งกาเนิด (SourceReduction) มีขั้นตอนต่างๆ ดังแสดงในรูปที่ 1 ซึ่งประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ได้แก่การควบคุมแหล่งกาเนิดของวัสดุและการ เปลี่ยนแปลงวิธีการผลิต แหล่งที่มา : http://www.healthcarethai.com/ ด้วยการขยายตัวของประชากรโลกทา ให้มีความต้องการสิ่งที่จา เป็นในการดา รงชีวิตเพิ่ม มากขึ้นเช่นอาหาร และที่อยู่อาศัยเป็นตัวแปรตามการเจริญเติบโตด้านอุตสาหกรรมการก่อสร้าง เกิดขึ้นอย่างรวดเร็วซึ่งผลที่ตามมาคือ ขยะก่อสร้างที่เพิ่มมากขึ้นก่อปัญหาด้านการจัดการขยะตาม เมืองต่าง ๆ ดังนั้น แนวทางการจัดการขยะคือ การ ป้องกันไม่ให้เกิดขยะหรือการลดปริมาณขยะ ให้น้อยลงโดยการพัฒนาแนวคิดในการลดปริมาณเศษวัสดุที่แหล่งกาเนิด (Source Reduction) ซึ่งประสิทธิภาพมากกว่าการนาขยะกลับมาใช้ใหม่การแก้ปัญหาของขยะก่อสร้างเนื่องจากขยะ ก่อสร้างส่วนมากเป็นวัสดุที่คงทนถาวรและยากที่จะย่อยสลายได้ตามธรรมชาติ ดังตัวอย่างรูปที่ 2 จึงจาเป็นต้อง มี แนวทางในการจัดการเศษวัสดุก่อสร้างเพื่อช่วยลดผลกระทบที่เกิดขึ้นโดยมีกรอบ แนวคิดในการจัดการขยะก่อสร้างใน โครงการดังภาพประกอบนี้
  • 11. 11 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน -ปรึกษาเลือกหัวข้อ -นาเสนอหัวข้อกับครูผู้สอน -ศึกษารวบรวมข้อมูล -จัดทารายงาน -นาเสนอคุณครู -ปรับปรุงและแก้ไข -การประชุมออนไลน์เพื่อลดการใช้ กระดาษ (Reduce) -โครงการกระดาษหน้าเดียวเพื่อน้องๆที่ มองไม่เห็น (Reuse) -โครงการบริจาคขยะบุญและขวดน น้าดื่ม (Reduce & Recycle) เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -อินเตอร์เน็ต -หนังสือที่เกี่ยวข้อง -คอมพิวเตอร์ -โทรศัพท์ -สมุดจด -ปากกา งบประมาณ 0 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 1 7 1 คิดหัวข้อโครงงาน ปรมพร 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล ปรมพร 3 จัดทาโครงร่างงาน ปรมพร 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน ปรมพร 5 ปรับปรุงทดสอบ ปรมพร 6 การทาเอกสารรายงาน ปรมพร 7 ประเมินผลงาน ปรมพร 8 นาเสนอโครงงาน ปรมพร
  • 12. 12 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. สามารถลดปริมาณขยะ 2. ปริมาณการใช้กระดาษลดลงอย่างเห็นได้ชัดและต่อเนื่อง 3. บุคลากรมีจิตสานึกและตระหนักถึงความสาคัญในการควบคุมการใช้สิ่งต่างๆที่ก่อให้เกิดเป็นขยะ สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง -กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา -กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ -กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)  สถาพร ด่านขุนทด. (2561). “ปัญหาขยะล้นเมือง.” [ออนไลน์]. แหล่งที่มา https://greennews.agency/ (วันที่สืบค้น 17 กันยายน 2562)  เมริกา ธนานุวัฒน์วัฒนา. (2562). “วิกฤตการณ์ขยะล้นเมือง.” [ออนไลน์]. แหล่งที่มา https://www.ictsilpakorn.com/ (วันที่สืบค้น 17 กันยายน 2562)  โรงเรียนโพธิ์ไทรพิทยาคาร. (2557). “วิธีลดขยะในโรงเรียน.” [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา http://howtoreducewasteinschoolis2.blogspot.com/ (วันที่สืบค้น 17 กันยายน 2562)  ไทยพับลิก้า. (2558). “สถานการณ์ขยะของไทย.” [ออนไลน์]. แหล่งที่มา https://thaipublica.org/2014/09/thailands-garbage-crisis/ (วันที่สืบค้น 17 กันยายน 2562)  โรงเรียนกาฬสินธุ์พิทยาสรรพ์. (2559). “ปัญหาขยะภายในโรงเรียน.” [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.kalasinpit.ac.th/vichakarn/index.php/ (วันที่สืบค้น 17 กันยายน 2562)