SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
 
โปรแกรม  Microsoft Excel 2003     เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับการคำนวณ โดยมีเครื่องมือให้ใช้มากมาย ทั้งในรูปของสูตรหรือฟังก์ชันสามารถใช้ในรูปแบบอัตโนมัติ หรือสามารถกำหนดให้ด้วยตนเอง โดยที่สูตรเราจะหมายถึงการคำนวณทางคณิตศาสตร์  ซึ่งประกอบด้วยเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ เครื่องหมายในการเปรียบเทียบ  เชื่อมข้อความและการอ้างอิง เช่น การบวก ลบ คูณ หาร  เป็นต้น ส่วนฟังก์ชัน เราจะหมายถึง คำสั่งสำเร็จรูปที่ใช้ในการคำนวณ เช่น   Sum Average Min Max  ฯลฯ
ชนิดของสูตร    โปรแกรม  Microsoft Excel 2003  แบ่งชนิดของสูตรออกเป็น  4  ชนิด คือ 1. สูตรในการคำนวณทางคณิตศาสตร์  ( Arithmetic Formula) เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่างสูตร + บวก =40 + 10   จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ  50 - ลบ = 40 – 10   จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ   30 * คูณ =40*2         จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ   80 / หาร =  40/2        จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ    20 % เปอร์เซ็นต์ =  40%        จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ   0.4  ^ ยกกำลัง =40^2         จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ  1600
2.  สูตรในการเปรียบเทียบ  ( Comparision Formula) เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่างสูตร = เท่ากับ = 40=30    จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ  False > มากกว่า =40>30     จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ   True < น้อยกว่า =40<30      จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ  False >= มากกว่าหรือเท่ากับ =40>=30    จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ  True <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ =40<=30    จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ  False < > ไม่เท่ากับ 40< >40     จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ  False 3. เครื่องหมายในการเชื่อมข้อความสองข้อความหรือมากกว่านั้น  ( Text Formula)
3. เครื่องหมายในการเชื่อมข้อความสองข้อความหรือมากกว่านั้น  ( Text Formula) เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่างสูตร & เชื่อมหรือนำคำสองคำมาต่อกันให้เกิดค่า ข้อความต่อเนื่องที่เป็นค่าเดียวกัน =STORY&BOARD  จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ   STORYBOARD
4. สูตรในการอ้างอิง  ( Text Formula) เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่างสูตร : (Colon) เว้นวรรค  ( Insection) , (Comma) บอกช่วงของข้อมูล กำหนดพื้นที่ทับกัน  2  ช่วงเอาข้อมูลทั้ง  2  ช่วงมาเชื่อมต่อกัน =(B1:B5) =SUM(B1:C1 D1:E5) =Sum(C1:C5,D7:D8)
ขั้นตอนการคำนวณด้วยตาราง       1.   การกำหนดเซลล์สำหรับเก็บผลลัพธ์โดยการเลื่อนตัวชี้เซลล์นั้นแล้วคลิก          2.   ใส่สูตรเข้าในเซลล์สำหรับเก็บผลลัพธ์สูตรจะต้องเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย  =              ลำดับความสำคัญของเครื่องหมายการคำนวณ หมายเหตุ    การทำงานที่อยู่ในระดับเดียวกัน จะคำนวณจากซ้ายไปขวาตามลำดับ ลำดับ เครื่องหมาย รายละเอียด 1 (  ) วงเล็บ 2 ^ ยกกำลัง 3 *  และ  / คูณและหาร 4 +   และ   - บวกและลบ 5 & ตัวเชื่อม 6 =,<,<= เท่ากับ น้อยกว่า น้อยกว่าหรือเท่ากับ 7 > ,>=, < > มากกว่า มากกว่าหรือเท่ากับ    ไม่เท่ากับ
ตัวอย่างการคำนวณ
ข้อสังเกตเกี่ยวกับการใส่สูตร 1.   สูตรที่ใส่ในเซลล์จะปรากฏให้เห็นในแถบสูตร 2.   ค่าที่เป็นผลลัพธ์ของสูตรจะปรากฏในเซลล์สำหรับเก็บผลลัพธ์ 3.   กรณีที่มีนิพจน์หลายเครื่องหมายจะทำงานตามลำดับเครื่องหมาย  
การใช้โปรแกรม  microsoft word  ในการทำจดหมายเวียน
1.  ในบานหน้าต่างงาน  จดหมายเวียน  คลิก  จดหมาย  วิธีการนี้จะ  ช่วยให้คุณสามารถส่งจดหมายไปให้กลุ่มบุคคล และปรับเปลี่ยนจดหมายที่แต่ละคนได้รับในแบบที่คุณต้องการ  2.  คลิก  ถัดไป :  เอกสารที่ใช้เริ่มต้น เลือกชนิดเอกสาร
[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
เลือกผู้รับ เมื่อคุณเปิดหรือสร้างแหล่งข้อมูลโดยใช้ตัวช่วยสร้างจดหมายเวียน คุณกำลังบอกให้  Word  ใช้ชุดเฉพาะของข้อมูลต่างๆ สำหรับการผสานของคุณ ให้ใช้วิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้เพื่อแนบเอกสารหลักเข้ากับแหล่งข้อมูล วิธีที่  1:  ใช้แหล่งข้อมูลที่มีอยู่ เมื่อต้องการใช้แหล่งข้อมูลที่มีอยู่ ให้ทำตามขั้นตอนเหล่านี้ :  1. ในบานหน้าต่างงาน  จดหมายเวียน  คลิก  ใช้รายการที่มีอยู่   2. ในส่วน  ใช้รายการที่มีอยู่  คลิก  เรียกดู
3. ในกล่องโต้ตอบ  เลือกแหล่งข้อมูล  เลือกแฟ้มที่มีข้อมูลต่างๆ ที่คุณต้องการใช้ แล้วคลิก  เปิด   หมายเหตุ  ถ้าแหล่งข้อมูลไม่ได้แสดงอยู่ในรายการของแฟ้ม ให้เลือกไดรฟ์และโฟลเดอร์ที่เหมาะสม หากจำเป็น ให้เลือกตัวเลือกที่เหมาะสมในรายการ  แหล่งข้อมูลทั้งหมด  เลือกแฟ้ม แล้วคลิก  เปิด Word  แสดงกล่องโต้ตอบ  ผู้รับจดหมายเวียน  คุณสามารถจัดเรียงและแก้ไขข้อมูลของคุณได้หากต้องการ  4. คลิก  ตกลง  เพื่อกลับไปสู่เอกสารหลัก  5. บันทึกเอกสารหลัก  เมื่อคุณบันทึกเอกสารหลักที่จุดนี้ คุณจะบันทึกแหล่งข้อมูลด้วย รวมทั้งแนบแหล่งข้อมูลเข้ากับเอกสารหลัก  6. พิมพ์ชื่อที่คุณต้องการตั้งให้กับเอกสารหลัก แล้วคลิก  บันทึก
วิธีที่  2:  ใช้ชื่อจากรายการที่ติดต่อของ  Microsoft Outlook เมื่อต้องการใช้รายการที่ติดต่อของ  Outlook  ให้ทำตามขั้นตอนเหล่านี้ :  1. ในบานหน้าต่างงาน จดหมายเวียน คลิก  ถัดไป :  เลือกผู้รับ   2. คลิก  เลือกจากที่ติดต่อ  Outlook   3. ในส่วน  เลือกจากที่ติดต่อ  Outlook   คลิก  เลือกโฟลเดอร์ที่ติดต่อ   4. ในกล่องโต้ตอบ  เลือกโฟลเดอร์รายการที่ติดต่อ  เลือกโฟลเดอร์ที่ติดต่อของ  Outlook  ที่คุณต้องการ แล้วคลิก  ตกลง Word  แสดงกล่องโต้ตอบ  ผู้รับจดหมายเวียน  คุณสามารถจัดเรียงและแก้ไขข้อมูลของคุณได้หากต้องการ  5. คลิก  ตกลง  เพื่อกลับไปสู่เอกสารหลัก
วิธีที่  3:  สร้างฐานข้อมูลของชื่อและที่อยู่  เมื่อต้องการสร้างฐานข้อมูลใหม่ ให้ทำตามขั้นตอนเหล่านี้ :  1. ในบานหน้าต่างงาน จดหมายเวียน คลิก  ถัดไป :  เลือกผู้รับ   2. คลิก  พิมพ์รายการใหม่   3. คลิก  สร้าง   กล่องโต้ตอบ  รายการที่อยู่ใหม่  จะปรากฏขึ้น ในกล่องโต้ตอบนี้ ป้อนข้อมูลที่อยู่สำหรับแต่ละระเบียน ปล่อยให้กล่องเว้นว่างไว้ หากไม่มีข้อมูลสำหรับเขตข้อมูลเฉพาะ  โดยค่าเริ่มต้นแล้ว  Word  จะข้ามเขตข้อมูลที่ว่างไป ดังนั้น การผสานข้อมูลจะไม่ได้รับผลกระทบถ้ารายการที่ว่างอยู่ในฟอร์มข้อมูล ชุดของข้อมูลในแต่ละฟอร์มจะสร้างระเบียนข้อมูลขึ้นมาหนึ่งระเบียน
4. หลังจากคุณพิมพ์ข้อมูลสำหรับระเบียนหนึ่งๆ แล้ว คลิก  รายการใหม่  เพื่อย้ายไปยังระเบียนถัดไป  เมื่อต้องการลบระเบียน คลิก  ลบรายการ  เมื่อต้องการค้นหาระเบียนที่ระบุ คลิก  ค้นหารายการ  เมื่อต้องการกำหนดรายการเอง คลิก  กำหนดเอง  ในกล่องโต้ตอบ  กำหนดรายการที่อยู่เอง  คุณสามารถเพิ่ม ลบ เปลี่ยนชื่อ และจัดลำดับเขตข้อมูลที่ผสานใหม่ได้  5. ในกล่องโต้ตอบ  รายการที่อยู่ใหม่  คลิก  ตกลง  ในกล่องโต้ตอบ  บันทึกรายการที่อยู่  พิมพ์ชื่อที่คุณต้องการตั้งให้แหล่งข้อมูลของคุณในกล่อง  ชื่อแฟ้ม  แล้วคลิก  บันทึก   6. ในกล่องโต้ตอบ  ผู้รับจดหมายเวียน  ทำการเปลี่ยนแปลงตามที่คุณต้องการ แล้วคลิก  ตกลง   7. คลิก  ถัดไป :  เขียนจดหมาย  เพื่อให้การตั้งค่าจดหมายของคุณเสร็จสิ้น  8. บันทึกเอกสารหลัก  เมื่อคุณบันทึกเอกสารหลักที่จุดนี้ คุณจะบันทึกแหล่งข้อมูลด้วย รวมทั้งแนบแหล่งข้อมูลเข้ากับเอกสารหลัก  9. พิมพ์ชื่อที่คุณต้องการตั้งให้กับเอกสารหลัก แล้วคลิก  บันทึก เมื่อต้องการทำขั้นตอนต่อไป คลิก  ถัดไป :  เขียนจดหมาย
เขียนจดหมาย  ในขั้นตอนนี้ คุณจะได้ตั้งค่าเอกสารหลักของคุณ  1. พิมพ์หรือเพิ่มข้อความและกราฟิกใดๆ ที่คุณต้องการรวมไว้ในจดหมาย  2. เพิ่มโค้ดเขตข้อมูลที่คุณต้องการให้ข้อมูลต่างๆ ปรากฏ ในบานหน้าต่างงาน  จดหมายเวียน  คุณมีตัวเลือกอยู่สี่อย่าง :  ,[object Object],[object Object],[object Object],[object Object]
ในกล่องโต้ตอบ  แทรกเขตข้อมูลผสาน  คลิกเขตข้อมูลผสานที่คุณต้องการใช้ แล้วคลิก  แทรก   หมายเหตุ  คุณสามารถแทรกเขตข้อมูลของคุณทั้งหมดได้ จากนั้นกลับไปและเพิ่มช่องว่างหรือเครื่องหมายวรรคตอน หรือคุณจะแทรกทีละเขตข้อมูลก็ได้ โดยปิดกล่องโต้ตอบ  แทรกเขตข้อมูลผสาน  เพิ่มช่องว่างหรือเครื่องหมายวรรคตอนใดๆ ที่ต้องการ จากนั้นทำซ้ำขั้นตอนนี้สำหรับเขตข้อมูลที่ผสานเพิ่มแต่ละอันที่คุณต้องการแทรกเข้าไป นอกจากนี้ คุณยังสามารถจัดรูปแบบ  ( ใช้การจัดรูปแบบตัวหนาหรือตัวเอียง )  เขตข้อมูลที่ผสานได้เช่นเดียวกับข้อความทั่วไปอีกด้วย  3. เมื่อคุณแก้ไขเอกสารหลักเสร็จแล้ว คลิก  บันทึก  หรือ  บันทึกเป็น  บนเมนู  แฟ้ม หมายเหตุ  ใน  Word 2007  คลิก  ปุ่ม  Microsoft Office   แล้วคลิก  บันทึก  หรือ  บันทึกเป็น ตั้งชื่อแฟ้มดังกล่าว แล้วคลิก  บันทึก  เมื่อต้องการทำขั้นตอนต่อไป คลิก  ถัดไป :  แสดงตัวอย่างจดหมาย
แสดงตัวอย่างจดหมาย ขั้นตอนนี้ช่วยให้คุณสามารถแสดงตัวอย่างข้อมูลที่ผสานแล้วหรือแสดงตัวอย่างจดหมายครั้งละหนึ่งฉบับ นอกจากนี้คุณยังสามารถทำการเปลี่ยนแปลงในรายชื่อผู้รับของคุณ หรือปรับเปลี่ยนจดหมายแต่ละฉบับให้เป็นแบบที่คุณต้องการ เมื่อต้องการทำขั้นตอนต่อไป คลิก  ถัดไป :  ทำการผสานให้เสร็จสมบูรณ์
ทำการผสานให้เสร็จสมบูรณ์ ขั้นตอนนี้จะผสานข้อมูลต่างๆ เข้ากับฟอร์มจดหมาย คุณสามารถแสดงผลลัพธ์การผสานโดยใช้ตัวเลือกอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ :  พิมพ์ :  เลือกตัวเลือกนี้เพื่อส่งเอกสารที่ผสานเสร็จแล้วไปยังเครื่องพิมพ์โดยตรง คุณจะไม่สามารถดูเอกสารดังกล่าวบนหน้าจอได้  เมื่อคุณคลิก  พิมพ์  กล่องโต้ตอบ  ผสานไปยังเครื่องพิมพ์  จะปรากฏขึ้น ในกล่องโต้ตอบ  ผสานไปยังเครื่องพิมพ์  คุณสามารถเลือกระเบียนที่จะผสาน เมื่อคุณคลิก  ตกลง  กล่องโต้ตอบ  พิมพ์  จะปรากฏขึ้น คลิก  พิมพ์  เพื่อพิมพ์เอกสารเวียน
แก้ไขจดหมายแต่ละฉบับ :  เลือกตัวเลือกนี้เพื่อแสดงเอกสารที่ผสานบนหน้าจอ  เมื่อคุณคลิก  แก้ไขจดหมายแต่ละฉบับ  กล่องโต้ตอบ  ผสานเป็นเอกสารใหม่  จะปรากฏขึ้น ในกล่องโต้ตอบ  ผสานเป็นเอกสารใหม่  คุณสามารถเลือกระเบียนที่จะผสาน เมื่อคุณคลิก  ตกลง  เอกสารดังกล่าวจะถูกผสานเป็นเอกสาร  Word  ใหม่  เมื่อต้องการพิมพ์แฟ้มดังกล่าว บนเมนู  แฟ้ม  คลิก  พิมพ์ หมายเหตุ  ใน  Word 2007  คลิก  ปุ่ม  Microsoft Office   แล้วคลิก  พิมพ์

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงานใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงานMeaw Sukee
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน ExcelLerdrit Dangrathok
 
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007Nicharee Piwjan
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007Th3popeye
 
Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2wuttichat
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelthanakornmaimai
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย ExcelSatapon Yosakonkun
 

What's hot (18)

ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงานใบความรู้ที่  4 การคำนวณในตารางงาน
ใบความรู้ที่ 4 การคำนวณในตารางงาน
 
Lecture excel2007.ppt 11
Lecture excel2007.ppt 11Lecture excel2007.ppt 11
Lecture excel2007.ppt 11
 
53011213054
5301121305453011213054
53011213054
 
53011213075
5301121307553011213075
53011213075
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excelเอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
เอกสารประกอบการเรียนวิชา การใช้โปรแกรมคำนวน Excel
 
Function
FunctionFunction
Function
 
53011213007
5301121300753011213007
53011213007
 
สูตรคำนวน
สูตรคำนวนสูตรคำนวน
สูตรคำนวน
 
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
ใบความรู้ เรื่อง ส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft excel 2007
 
Lecture excel2007
Lecture excel2007Lecture excel2007
Lecture excel2007
 
53011213007
5301121300753011213007
53011213007
 
Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2Aritc excel2013 2
Aritc excel2013 2
 
53011213007
5301121300753011213007
53011213007
 
53011213051
5301121305153011213051
53011213051
 
แบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excelแบบทดสอบ Excel
แบบทดสอบ Excel
 
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excelการจัดการข้อมูลด้วย Excel
การจัดการข้อมูลด้วย Excel
 
53011220073
5301122007353011220073
53011220073
 

Viewers also liked

หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์จูน นะค่ะ
 
Jarod_Green_Amplify 11
Jarod_Green_Amplify 11Jarod_Green_Amplify 11
Jarod_Green_Amplify 11AmplifyFest
 
John_Smart_Amplify11
John_Smart_Amplify11John_Smart_Amplify11
John_Smart_Amplify11AmplifyFest
 
Iveta_Brigis_Amplify11
Iveta_Brigis_Amplify11 Iveta_Brigis_Amplify11
Iveta_Brigis_Amplify11 AmplifyFest
 
Sanjay_Purohit_Amplify 11
Sanjay_Purohit_Amplify 11Sanjay_Purohit_Amplify 11
Sanjay_Purohit_Amplify 11AmplifyFest
 
Vijaya_Deepti_Ananth_Krishnan_Amplify11
Vijaya_Deepti_Ananth_Krishnan_Amplify11Vijaya_Deepti_Ananth_Krishnan_Amplify11
Vijaya_Deepti_Ananth_Krishnan_Amplify11AmplifyFest
 
Ian_Dunlop_Amplify11
Ian_Dunlop_Amplify11Ian_Dunlop_Amplify11
Ian_Dunlop_Amplify11AmplifyFest
 
Peter_Shergold_Amplify11
Peter_Shergold_Amplify11Peter_Shergold_Amplify11
Peter_Shergold_Amplify11AmplifyFest
 
Mark_Zawacki_Amplify11
Mark_Zawacki_Amplify11Mark_Zawacki_Amplify11
Mark_Zawacki_Amplify11AmplifyFest
 
Richard_Binhammer_Amplify_presentation
Richard_Binhammer_Amplify_presentationRichard_Binhammer_Amplify_presentation
Richard_Binhammer_Amplify_presentationAmplifyFest
 
Jarod_Green_Amplify 11
Jarod_Green_Amplify 11Jarod_Green_Amplify 11
Jarod_Green_Amplify 11AmplifyFest
 
Mike_Nelson_Amplify 11
Mike_Nelson_Amplify 11Mike_Nelson_Amplify 11
Mike_Nelson_Amplify 11AmplifyFest
 
Jeremiah_Owyang_Amplify_presentation
Jeremiah_Owyang_Amplify_presentationJeremiah_Owyang_Amplify_presentation
Jeremiah_Owyang_Amplify_presentationAmplifyFest
 
Jon_Katzenbach_Amplify11
Jon_Katzenbach_Amplify11Jon_Katzenbach_Amplify11
Jon_Katzenbach_Amplify11AmplifyFest
 

Viewers also liked (17)

หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 3 การคำนวณของคอมพิวเตอร์
 
Jarod_Green_Amplify 11
Jarod_Green_Amplify 11Jarod_Green_Amplify 11
Jarod_Green_Amplify 11
 
John_Smart_Amplify11
John_Smart_Amplify11John_Smart_Amplify11
John_Smart_Amplify11
 
Iveta_Brigis_Amplify11
Iveta_Brigis_Amplify11 Iveta_Brigis_Amplify11
Iveta_Brigis_Amplify11
 
Sanjay_Purohit_Amplify 11
Sanjay_Purohit_Amplify 11Sanjay_Purohit_Amplify 11
Sanjay_Purohit_Amplify 11
 
51011212055
5101121205551011212055
51011212055
 
Vijaya_Deepti_Ananth_Krishnan_Amplify11
Vijaya_Deepti_Ananth_Krishnan_Amplify11Vijaya_Deepti_Ananth_Krishnan_Amplify11
Vijaya_Deepti_Ananth_Krishnan_Amplify11
 
Ian_Dunlop_Amplify11
Ian_Dunlop_Amplify11Ian_Dunlop_Amplify11
Ian_Dunlop_Amplify11
 
Peter_Shergold_Amplify11
Peter_Shergold_Amplify11Peter_Shergold_Amplify11
Peter_Shergold_Amplify11
 
Mark_Zawacki_Amplify11
Mark_Zawacki_Amplify11Mark_Zawacki_Amplify11
Mark_Zawacki_Amplify11
 
Richard_Binhammer_Amplify_presentation
Richard_Binhammer_Amplify_presentationRichard_Binhammer_Amplify_presentation
Richard_Binhammer_Amplify_presentation
 
Jarod_Green_Amplify 11
Jarod_Green_Amplify 11Jarod_Green_Amplify 11
Jarod_Green_Amplify 11
 
Chapter 8
Chapter 8Chapter 8
Chapter 8
 
51011212055
5101121205551011212055
51011212055
 
Mike_Nelson_Amplify 11
Mike_Nelson_Amplify 11Mike_Nelson_Amplify 11
Mike_Nelson_Amplify 11
 
Jeremiah_Owyang_Amplify_presentation
Jeremiah_Owyang_Amplify_presentationJeremiah_Owyang_Amplify_presentation
Jeremiah_Owyang_Amplify_presentation
 
Jon_Katzenbach_Amplify11
Jon_Katzenbach_Amplify11Jon_Katzenbach_Amplify11
Jon_Katzenbach_Amplify11
 

Similar to 53011213098 (20)

53011213084
5301121308453011213084
53011213084
 
53011213075
5301121307553011213075
53011213075
 
53011213099
5301121309953011213099
53011213099
 
53011213099
5301121309953011213099
53011213099
 
53011213094
5301121309453011213094
53011213094
 
50011220013 นำโชค บุญเรือง
50011220013 นำโชค บุญเรือง50011220013 นำโชค บุญเรือง
50011220013 นำโชค บุญเรือง
 
50011220013 นำโชค บุญเรือง
50011220013 นำโชค บุญเรือง50011220013 นำโชค บุญเรือง
50011220013 นำโชค บุญเรือง
 
53011213091
5301121309153011213091
53011213091
 
Db4
Db4Db4
Db4
 
53011213029
5301121302953011213029
53011213029
 
53011213029
5301121302953011213029
53011213029
 
51011221071
5101122107151011221071
51011221071
 
51011221063
5101122106351011221063
51011221063
 
Dw ch06 form_and_php
Dw ch06 form_and_phpDw ch06 form_and_php
Dw ch06 form_and_php
 
53011213012
5301121301253011213012
53011213012
 
สูตร
สูตรสูตร
สูตร
 
สูตร
สูตรสูตร
สูตร
 
สูตร
สูตรสูตร
สูตร
 
53011220030
5301122003053011220030
53011220030
 
53011220030
5301122003053011220030
53011220030
 

53011213098

  • 1.  
  • 2. โปรแกรม Microsoft Excel 2003     เป็นโปรแกรมที่ใช้สำหรับการคำนวณ โดยมีเครื่องมือให้ใช้มากมาย ทั้งในรูปของสูตรหรือฟังก์ชันสามารถใช้ในรูปแบบอัตโนมัติ หรือสามารถกำหนดให้ด้วยตนเอง โดยที่สูตรเราจะหมายถึงการคำนวณทางคณิตศาสตร์  ซึ่งประกอบด้วยเครื่องหมายทางคณิตศาสตร์ เครื่องหมายในการเปรียบเทียบ  เชื่อมข้อความและการอ้างอิง เช่น การบวก ลบ คูณ หาร  เป็นต้น ส่วนฟังก์ชัน เราจะหมายถึง คำสั่งสำเร็จรูปที่ใช้ในการคำนวณ เช่น  Sum Average Min Max ฯลฯ
  • 3. ชนิดของสูตร   โปรแกรม Microsoft Excel 2003  แบ่งชนิดของสูตรออกเป็น 4 ชนิด คือ 1. สูตรในการคำนวณทางคณิตศาสตร์ ( Arithmetic Formula) เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่างสูตร + บวก =40 + 10  จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 50 - ลบ = 40 – 10  จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ  30 * คูณ =40*2        จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ  80 / หาร =  40/2       จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ   20 % เปอร์เซ็นต์ =  40%       จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ  0.4 ^ ยกกำลัง =40^2        จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ 1600
  • 4. 2. สูตรในการเปรียบเทียบ ( Comparision Formula) เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่างสูตร = เท่ากับ = 40=30   จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ False > มากกว่า =40>30    จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ  True < น้อยกว่า =40<30     จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ False >= มากกว่าหรือเท่ากับ =40>=30   จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ True <= น้อยกว่าหรือเท่ากับ =40<=30   จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ False < > ไม่เท่ากับ 40< >40    จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ False 3. เครื่องหมายในการเชื่อมข้อความสองข้อความหรือมากกว่านั้น ( Text Formula)
  • 5. 3. เครื่องหมายในการเชื่อมข้อความสองข้อความหรือมากกว่านั้น ( Text Formula) เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่างสูตร & เชื่อมหรือนำคำสองคำมาต่อกันให้เกิดค่า ข้อความต่อเนื่องที่เป็นค่าเดียวกัน =STORY&BOARD จะได้ผลลัพธ์เท่ากับ  STORYBOARD
  • 6. 4. สูตรในการอ้างอิง ( Text Formula) เครื่องหมาย ความหมาย ตัวอย่างสูตร : (Colon) เว้นวรรค ( Insection) , (Comma) บอกช่วงของข้อมูล กำหนดพื้นที่ทับกัน 2 ช่วงเอาข้อมูลทั้ง 2 ช่วงมาเชื่อมต่อกัน =(B1:B5) =SUM(B1:C1 D1:E5) =Sum(C1:C5,D7:D8)
  • 7. ขั้นตอนการคำนวณด้วยตาราง      1.   การกำหนดเซลล์สำหรับเก็บผลลัพธ์โดยการเลื่อนตัวชี้เซลล์นั้นแล้วคลิก          2.   ใส่สูตรเข้าในเซลล์สำหรับเก็บผลลัพธ์สูตรจะต้องเริ่มต้นด้วยเครื่องหมาย =              ลำดับความสำคัญของเครื่องหมายการคำนวณ หมายเหตุ   การทำงานที่อยู่ในระดับเดียวกัน จะคำนวณจากซ้ายไปขวาตามลำดับ ลำดับ เครื่องหมาย รายละเอียด 1 (  ) วงเล็บ 2 ^ ยกกำลัง 3 * และ / คูณและหาร 4 +   และ   - บวกและลบ 5 & ตัวเชื่อม 6 =,<,<= เท่ากับ น้อยกว่า น้อยกว่าหรือเท่ากับ 7 > ,>=, < > มากกว่า มากกว่าหรือเท่ากับ   ไม่เท่ากับ
  • 9. ข้อสังเกตเกี่ยวกับการใส่สูตร 1.   สูตรที่ใส่ในเซลล์จะปรากฏให้เห็นในแถบสูตร 2.   ค่าที่เป็นผลลัพธ์ของสูตรจะปรากฏในเซลล์สำหรับเก็บผลลัพธ์ 3.   กรณีที่มีนิพจน์หลายเครื่องหมายจะทำงานตามลำดับเครื่องหมาย  
  • 10. การใช้โปรแกรม microsoft word ในการทำจดหมายเวียน
  • 11. 1. ในบานหน้าต่างงาน จดหมายเวียน คลิก จดหมาย วิธีการนี้จะ ช่วยให้คุณสามารถส่งจดหมายไปให้กลุ่มบุคคล และปรับเปลี่ยนจดหมายที่แต่ละคนได้รับในแบบที่คุณต้องการ 2. คลิก ถัดไป : เอกสารที่ใช้เริ่มต้น เลือกชนิดเอกสาร
  • 12.
  • 13. เลือกผู้รับ เมื่อคุณเปิดหรือสร้างแหล่งข้อมูลโดยใช้ตัวช่วยสร้างจดหมายเวียน คุณกำลังบอกให้ Word ใช้ชุดเฉพาะของข้อมูลต่างๆ สำหรับการผสานของคุณ ให้ใช้วิธีการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้เพื่อแนบเอกสารหลักเข้ากับแหล่งข้อมูล วิธีที่ 1: ใช้แหล่งข้อมูลที่มีอยู่ เมื่อต้องการใช้แหล่งข้อมูลที่มีอยู่ ให้ทำตามขั้นตอนเหล่านี้ : 1. ในบานหน้าต่างงาน จดหมายเวียน คลิก ใช้รายการที่มีอยู่ 2. ในส่วน ใช้รายการที่มีอยู่ คลิก เรียกดู
  • 14. 3. ในกล่องโต้ตอบ เลือกแหล่งข้อมูล เลือกแฟ้มที่มีข้อมูลต่างๆ ที่คุณต้องการใช้ แล้วคลิก เปิด หมายเหตุ ถ้าแหล่งข้อมูลไม่ได้แสดงอยู่ในรายการของแฟ้ม ให้เลือกไดรฟ์และโฟลเดอร์ที่เหมาะสม หากจำเป็น ให้เลือกตัวเลือกที่เหมาะสมในรายการ แหล่งข้อมูลทั้งหมด เลือกแฟ้ม แล้วคลิก เปิด Word แสดงกล่องโต้ตอบ ผู้รับจดหมายเวียน คุณสามารถจัดเรียงและแก้ไขข้อมูลของคุณได้หากต้องการ 4. คลิก ตกลง เพื่อกลับไปสู่เอกสารหลัก 5. บันทึกเอกสารหลัก เมื่อคุณบันทึกเอกสารหลักที่จุดนี้ คุณจะบันทึกแหล่งข้อมูลด้วย รวมทั้งแนบแหล่งข้อมูลเข้ากับเอกสารหลัก 6. พิมพ์ชื่อที่คุณต้องการตั้งให้กับเอกสารหลัก แล้วคลิก บันทึก
  • 15. วิธีที่ 2: ใช้ชื่อจากรายการที่ติดต่อของ Microsoft Outlook เมื่อต้องการใช้รายการที่ติดต่อของ Outlook ให้ทำตามขั้นตอนเหล่านี้ : 1. ในบานหน้าต่างงาน จดหมายเวียน คลิก ถัดไป : เลือกผู้รับ 2. คลิก เลือกจากที่ติดต่อ Outlook 3. ในส่วน เลือกจากที่ติดต่อ Outlook คลิก เลือกโฟลเดอร์ที่ติดต่อ 4. ในกล่องโต้ตอบ เลือกโฟลเดอร์รายการที่ติดต่อ เลือกโฟลเดอร์ที่ติดต่อของ Outlook ที่คุณต้องการ แล้วคลิก ตกลง Word แสดงกล่องโต้ตอบ ผู้รับจดหมายเวียน คุณสามารถจัดเรียงและแก้ไขข้อมูลของคุณได้หากต้องการ 5. คลิก ตกลง เพื่อกลับไปสู่เอกสารหลัก
  • 16. วิธีที่ 3: สร้างฐานข้อมูลของชื่อและที่อยู่ เมื่อต้องการสร้างฐานข้อมูลใหม่ ให้ทำตามขั้นตอนเหล่านี้ : 1. ในบานหน้าต่างงาน จดหมายเวียน คลิก ถัดไป : เลือกผู้รับ 2. คลิก พิมพ์รายการใหม่ 3. คลิก สร้าง กล่องโต้ตอบ รายการที่อยู่ใหม่ จะปรากฏขึ้น ในกล่องโต้ตอบนี้ ป้อนข้อมูลที่อยู่สำหรับแต่ละระเบียน ปล่อยให้กล่องเว้นว่างไว้ หากไม่มีข้อมูลสำหรับเขตข้อมูลเฉพาะ โดยค่าเริ่มต้นแล้ว Word จะข้ามเขตข้อมูลที่ว่างไป ดังนั้น การผสานข้อมูลจะไม่ได้รับผลกระทบถ้ารายการที่ว่างอยู่ในฟอร์มข้อมูล ชุดของข้อมูลในแต่ละฟอร์มจะสร้างระเบียนข้อมูลขึ้นมาหนึ่งระเบียน
  • 17. 4. หลังจากคุณพิมพ์ข้อมูลสำหรับระเบียนหนึ่งๆ แล้ว คลิก รายการใหม่ เพื่อย้ายไปยังระเบียนถัดไป เมื่อต้องการลบระเบียน คลิก ลบรายการ เมื่อต้องการค้นหาระเบียนที่ระบุ คลิก ค้นหารายการ เมื่อต้องการกำหนดรายการเอง คลิก กำหนดเอง ในกล่องโต้ตอบ กำหนดรายการที่อยู่เอง คุณสามารถเพิ่ม ลบ เปลี่ยนชื่อ และจัดลำดับเขตข้อมูลที่ผสานใหม่ได้ 5. ในกล่องโต้ตอบ รายการที่อยู่ใหม่ คลิก ตกลง ในกล่องโต้ตอบ บันทึกรายการที่อยู่ พิมพ์ชื่อที่คุณต้องการตั้งให้แหล่งข้อมูลของคุณในกล่อง ชื่อแฟ้ม แล้วคลิก บันทึก 6. ในกล่องโต้ตอบ ผู้รับจดหมายเวียน ทำการเปลี่ยนแปลงตามที่คุณต้องการ แล้วคลิก ตกลง 7. คลิก ถัดไป : เขียนจดหมาย เพื่อให้การตั้งค่าจดหมายของคุณเสร็จสิ้น 8. บันทึกเอกสารหลัก เมื่อคุณบันทึกเอกสารหลักที่จุดนี้ คุณจะบันทึกแหล่งข้อมูลด้วย รวมทั้งแนบแหล่งข้อมูลเข้ากับเอกสารหลัก 9. พิมพ์ชื่อที่คุณต้องการตั้งให้กับเอกสารหลัก แล้วคลิก บันทึก เมื่อต้องการทำขั้นตอนต่อไป คลิก ถัดไป : เขียนจดหมาย
  • 18.
  • 19. ในกล่องโต้ตอบ แทรกเขตข้อมูลผสาน คลิกเขตข้อมูลผสานที่คุณต้องการใช้ แล้วคลิก แทรก หมายเหตุ คุณสามารถแทรกเขตข้อมูลของคุณทั้งหมดได้ จากนั้นกลับไปและเพิ่มช่องว่างหรือเครื่องหมายวรรคตอน หรือคุณจะแทรกทีละเขตข้อมูลก็ได้ โดยปิดกล่องโต้ตอบ แทรกเขตข้อมูลผสาน เพิ่มช่องว่างหรือเครื่องหมายวรรคตอนใดๆ ที่ต้องการ จากนั้นทำซ้ำขั้นตอนนี้สำหรับเขตข้อมูลที่ผสานเพิ่มแต่ละอันที่คุณต้องการแทรกเข้าไป นอกจากนี้ คุณยังสามารถจัดรูปแบบ ( ใช้การจัดรูปแบบตัวหนาหรือตัวเอียง ) เขตข้อมูลที่ผสานได้เช่นเดียวกับข้อความทั่วไปอีกด้วย 3. เมื่อคุณแก้ไขเอกสารหลักเสร็จแล้ว คลิก บันทึก หรือ บันทึกเป็น บนเมนู แฟ้ม หมายเหตุ ใน Word 2007 คลิก ปุ่ม Microsoft Office แล้วคลิก บันทึก หรือ บันทึกเป็น ตั้งชื่อแฟ้มดังกล่าว แล้วคลิก บันทึก เมื่อต้องการทำขั้นตอนต่อไป คลิก ถัดไป : แสดงตัวอย่างจดหมาย
  • 20. แสดงตัวอย่างจดหมาย ขั้นตอนนี้ช่วยให้คุณสามารถแสดงตัวอย่างข้อมูลที่ผสานแล้วหรือแสดงตัวอย่างจดหมายครั้งละหนึ่งฉบับ นอกจากนี้คุณยังสามารถทำการเปลี่ยนแปลงในรายชื่อผู้รับของคุณ หรือปรับเปลี่ยนจดหมายแต่ละฉบับให้เป็นแบบที่คุณต้องการ เมื่อต้องการทำขั้นตอนต่อไป คลิก ถัดไป : ทำการผสานให้เสร็จสมบูรณ์
  • 21. ทำการผสานให้เสร็จสมบูรณ์ ขั้นตอนนี้จะผสานข้อมูลต่างๆ เข้ากับฟอร์มจดหมาย คุณสามารถแสดงผลลัพธ์การผสานโดยใช้ตัวเลือกอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ : พิมพ์ : เลือกตัวเลือกนี้เพื่อส่งเอกสารที่ผสานเสร็จแล้วไปยังเครื่องพิมพ์โดยตรง คุณจะไม่สามารถดูเอกสารดังกล่าวบนหน้าจอได้ เมื่อคุณคลิก พิมพ์ กล่องโต้ตอบ ผสานไปยังเครื่องพิมพ์ จะปรากฏขึ้น ในกล่องโต้ตอบ ผสานไปยังเครื่องพิมพ์ คุณสามารถเลือกระเบียนที่จะผสาน เมื่อคุณคลิก ตกลง กล่องโต้ตอบ พิมพ์ จะปรากฏขึ้น คลิก พิมพ์ เพื่อพิมพ์เอกสารเวียน
  • 22. แก้ไขจดหมายแต่ละฉบับ : เลือกตัวเลือกนี้เพื่อแสดงเอกสารที่ผสานบนหน้าจอ เมื่อคุณคลิก แก้ไขจดหมายแต่ละฉบับ กล่องโต้ตอบ ผสานเป็นเอกสารใหม่ จะปรากฏขึ้น ในกล่องโต้ตอบ ผสานเป็นเอกสารใหม่ คุณสามารถเลือกระเบียนที่จะผสาน เมื่อคุณคลิก ตกลง เอกสารดังกล่าวจะถูกผสานเป็นเอกสาร Word ใหม่ เมื่อต้องการพิมพ์แฟ้มดังกล่าว บนเมนู แฟ้ม คลิก พิมพ์ หมายเหตุ ใน Word 2007 คลิก ปุ่ม Microsoft Office แล้วคลิก พิมพ์