SlideShare a Scribd company logo
1 of 54
Download to read offline
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกรอบความร่วมมือในอาเซียน การรวมกลุ่มสินค้าและ
นาร่องประโยชน์จากการเป็นสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การเตรียมตัวของไทยสู่
การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน บทบาทไทยในประชาคมอาเซียน บทบาทของ
อาเซียนต่อประเทศไทย ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน บทบาทอาเซียนในเวทีโลก
บทบาทของอาเซียนในเวทีเศรษฐกิจโลกและอาชีพเสรีในอาเซียน
หน่วยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
1. กรอบความร่วมมือในอาเซียน
2. การรวมกลุ่มสินค้าและนาร่อง
3. ประโยชน์จากการเป็นสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
4. การเตรียมตัวของไทยสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
5. บทบาทไทยในประชาคมอาเซียน
6. บทบาทของอาเซียนต่อประเทศไทย
7. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
8. บทบาทอาเซียนในเวทีโลก
9. บทบาทของอาเซียนในเวทีเศรษฐกิจโลก
10. อาชีพเสรีในอาเซียน
ผลการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้
เวลาที่ใช้
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 2
จานวน 4 ชั่วโมง
แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง ความร่วมมือในอาเซียน
รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
คาชี้แนะนา ข้อสอบมี 10 ข้อ เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูก
ที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X ทับอักษร ก ข ค หรือ ง ในกระดาษคาตอบ
ให้ตรงกับข้อที่นักเรียนเลือกตอบ
1. AFTA เป็นหน่วยงานเกี่ยวข้องกับสิ่งใด
ก. เขตการค้าเสรี
ข. เขตปกครองพิเศษ
ค. เขตส่งเสริมการท่องเทียว
ง. เขตพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ
2. ข้อใดเป็นหน่วยงานที่ทาหน้าที่รับผิดชอบประสานงานเกี่ยวกับอาเซียนในแต่ละ
ประเทศ
ก. กรมอาเซียน
ข. ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน
ค. สานักงานเลขาธิการอาเซียน
ง. คณะมนตรีประสานงานอาเซียน
3. ข้อใดกล่าวถึงความสาคัญของไทยในประชาคมอาเซียน
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 3
ก. เป็นกลุ่มผู้นาอาเซียน
ข. เป็นหนึ่งในประเทศผู้ก่อตั้งอาเซียน
ค. เป็นที่ตั้งของสานักงานเลขาธิการของอาเซียน
ง. เป็นตัวแทนสาคัญในการติดต่อค้าขายกับกลุ่มยุโรป
4. ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดตั้งประชาคมอาเซียน คือข้อใด
ก. ใช้เงินตราสกุลเดียวกัน
ข. ปิดกั้นการไหลบ่าของทุนต่างชาติ
ค. มีอานาจต่อรองกับประเทศนอกภูมิภาคมากขึ้น
ง. ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในการผลิตภาคอุตสาหกรรม
5. แรงงานมีฝีมือที่สามารถเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีในอาเซียนหมายถึงกลุ่มอาชีพใด
ก. ครู พ่อค้า
ข. วิศวกร พยาบาล
ค. แพทย์ นักแสดง
ง. ผู้ใช้แรงงาน นักการเมือง
6. ประเทศที่รับผิดชอบสาขาผลิตภัณฑ์ยางพารา ในการรวมกลุ่มสินค้าและบริการ 11
สาขานาร่องคือประเทศในข้อใด
ก. ไทย
ข. พม่า
ค. มาเลเซีย
ง. อินโดนีเซีย
7. ASEAN Industrial Cooperation-AICO เป็นความร่วมมือด้านใด
ก. ความร่วมมือด้านการลงทุน
ข. ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรม
ค. ความร่วมมือด้านการบริการ
ง. ความร่วมมือด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 4
8. ข้อใดเป็นความร่วมมือด้านสังคมและวัฒนธรรมในอาเซียน
ก. การส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดน
ข. การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน
ค. การจัดตั้งเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน
ง. การอานวยความสะดวกในการจับกุมเครือข่ายค้ายาเสพติดข้ามชาติ
9. เหตุผลในข้อใดที่ทาให้ประเทศสมาชิกอาเซียนร่วมมือกัน
ก. เห็นประโยชน์ร่วมกัน
ข. อยู่ในภูมิภาคเดียวกัน
ค. มีอัตลักษณ์แบบเดียวกัน
ง. ใช้ภาษาราชการแตกต่างกัน
10. บุคคลในข้อใดเตรียมความพร้อมเข้าร่วมประชาคมอาเซียน
ก. ฟ้าเล่นเกมออนไลน์
ข. ดวงใจเตรียมสอบโอเน็ต
ค. จอยไปรับจ้างทางานที่ไต้หวัน
ง. โรงงานผลิตผลไม้กระป๋องจัดอบรมการใช้เทคโนโลยีในการผลิต
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่อง ความร่วมมือในอาเซียน
รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 5
ข้อที่ เฉลย ข้อที่ เฉลย
1 ก 6 ค
2 ก 7 ง
3 ข 8 ค
4 ค 9 ก
5 ข 10 ง
หน่วยที่ 2
ความร่วมมือในอาเซียน
รายวิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 (สาระเพิ่มเติม) มัธยมศึกษาปีที่ 3
เวลา 4 ชั่วโมง จานวน 1 หน่วยกิต รวมเวลา 40 ชั่วโมง
…………………......................………………………
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 6
ตอนที่ 1 กรอบความร่วมมือในอาเซียน
สาหรับกรอบความร่วมมือ ที่ประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษฐกิจอาเซียนเมื่อวันที่
21-22 กันยายน 2547 ที่กรุงเทพฯ สามารถหาข้อสรุปในสาระสาคัญเกี่ยวกับมาตรการร่วม
ที่จะใช้กับการรวมกลุ่มสินค้าและบริการ ได้แก่ การเปิดเสรีการค้าสินค้า การค้าบริการ
การลงทุน การอานวยความสะดวกด้านการค้า และการลงทุนและการส่งเสริมการค้า
และการลงทุน และความร่วมมือในด้านอื่น ๆ ดังนี้
1. การค้าสินค้า - จะเร่งลดภาษีสินค้าใน Priority Sectors (เกษตร/ประมง/
ผลิตภัณฑ์ไม้/ผลิตภัณฑ์ยาง/สิ่งทอ/ยานยนต์ /อิเล็กทรอนิกส์/เทคโนโลยีสารสนเทศ/สาขา
สุขภาพ) เป็น 0% เร็วขึ้นจากกรอบ AFTA เดิม 3 ปี คือ จาก 2010 เป็นปี 2007 สาหรับ
สมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ และ ปี 2015 เป็น 2012 สาหรับประเทศ CLMV โดยได้
กาหนดเพดานสาหรับสินค้าทั้งหมดใน Priority Sectors ไม่ต้องการเร่งลดภาษี (Negative
List) ไว้ที่ 15%
2. การค้าบริการ - จะเร่งเปิดเสรีสาขาบริการใน Priority Sectors (สาขาสุขภาพ,
e-ASEAN, ท่องเที่ยวและการขนส่งทางอากาศ) ภายในปี ค.ศ. 2010 ทั้งนี้ ให้ใช้ ASEAN-X
formula ได้
3. การลงทุน - จะเร่งเปิดการลงทุนในรายการสงวน (Sensitive List) ภายในปี
2010 สาหรับอาเซียนเดิม 6 ประเทศ ปี ค.ศ. 2013 สาหรับเวียดนามและ 2015 สาหรับ
กัมพูชา ลาว และพม่า ทั้งนี้ ให้ใช้ ASEAN-X formula ได้ และส่งเสริมการผลิตในอาเซียน
โดยการจัดตั้งเครือข่าย ASEAN free trade zones เพื่อส่งเสริมการซื้อวัตถุดิบและชิ้นส่วน
ที่ผลิตในอาเซียน (outsourcing) และดาเนินมาตรการร่วมเพื่อดึงดูด FDI
4. การอานวยความสะดวกด้านการค้าและการลงทุน – ซึ่งประกอบด้วย
เรื่องต่างๆ คือ กฎว่าด้วยแหล่งกาเนิดสินค้า พิธีการศุลกากร มาตรฐาน (standard and
conformance) การอานวยความสะดวกด้านการขนส่ง และ logistics service สาหรับ
การขนส่ง การอานวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยวในอาเซียน และ การเคลื่อนย้าย
ของนักธุรกิจ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ประกอบวิชาชีพ และ แรงงานมีฝีมือ
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 7
5. การส่งเสริมการค้าและการลงทุน และความร่วมมือในด้านอื่น ๆ เช่น ทรัพย์สิน
ทางปัญญา ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรม และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ พิธีสารว่าด้วย
การรวมกลุ่มรายสาขาของอาเซียน 11 สาขากาหนดมาตรการร่วม ซึ่งคาบเกี่ยวกับทุกสาขา
เช่นเดียวกับในกรอบความตกลงฯ และมาตรการเฉพาะสาหรับการรวมกลุ่มแต่ละสาขา
นั้นๆ โดยรวมอยู่ในแผนการรวมกลุ่ม (Road map) ซึ่งผนวกอยู่กับพิธีสารฯ
ขณะที่ เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ผู้นาอาเซียนได้ลงนามในกรอบ
ความตกลงว่าด้วยการรวมกลุ่มสาขาสาคัญของอาเซียน (Framework Agreement for
the Integration of the Priority Sectors) และรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนได้ลงนาม
ในพิธีสารว่าด้วยการรวมกลุ่มรายสาขาของ อาเซียน 11 ฉบับ (ASEAN Sectoral
Integration Protocol) ในวันที่ 29 พฤศจิกายน 2547 ในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียน
ครั้งที่ 10 ที่เวียงจันทน์ ระหว่างวันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2547
ทั้งนี้ ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 ทุกประเทศย้าความสาคัญ
ของการดาเนินการต่างๆ เพื่อนาไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนภายในปี 2563
(ค.ศ. 2020) ซึ่ง ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ได้ชี้ให้เห็นถึงความจาเป็นที่จะต้องเร่งรัด
การรวมตัวของอาเซียนให้เร็ว ขึ้น โดยอาจให้สาเร็จภายในปี 2555 (ค.ศ. 2012) และได้
เสนอแนวทางต่างๆ เพื่อช่วยเร่งรัดการรวมตัว เช่น การใช้วิธีการ Two plus X
ซึ่ง ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีได้เคยเสนอความจาเป็น และแนวทางนี้มาแล้วเมื่อวันที่ 7
ตุลาคม 2546 ระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ที่บาหลี สาธารณรัฐอินโดนีเซีย
ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์ ก็ได้สนับสนุนข้อเสนอแนะของ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีของไทย
ที่ให้เร่งรัดการจัดตั้ง AEC ด้วย
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 8
ตอนที่ 2 การรวมกลุ่มสินค้าและบริการนาร่อง
การรวมกลุ่มสินค้าและบริการ 11 สาขานาร่อง ถือว่าเป็นการเปิดเสรีด้าน
การค้าและบริการ เพื่อส่งเสริมการแบ่งงานกันผลิตสินค้าและบริการภายในอาเซียนด้วยกัน
โดยจะเน้นใช้วัตถุดิบภายในอาเซียนเป็นหลัก ตามความถนัด เนื่องจากแต่ละประเทศ
มีวัตถุดิบที่ไม่เหมือนกัน ถ้าจะให้ผลิตทุกอย่าง จะเป็นการเพิ่มต้นทุนสินค้าแบบเสีย
เปล่า สาหรับ 11 สาขานาร่องมีดังนี้
1. สาขาผลิตภัณฑ์เกษตร
2. สาขาประมง
3. สาขาผลิตภัณฑ์ยาง
4. สาขาสิ่งทอ
5. สาขายานยนต์
6. สาขาผลิตภัณฑ์ไม้
7. สาขาอิเล็กทรอนิกส์
8. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
9. สาขาสุขภาพ
10. สาขาท่องเที่ยว
11. สาขาการบิน
อย่างไรก็ตาม ภายหลังได้เพิ่มสาขาที่ 12 ได้แก่ สาขาโลจิสติกส์ เพื่อทาให้การขนส่ง
วัตถุดิบต่าง ๆ ทาได้สะดวกมากขึ้น เมื่อแบ่งทั้ง 12 สาขา ตามประเทศที่รับผิดชอบ
สามารถแบ่งได้ ดังนี้
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 9
1. พม่า สาขาผลิตภัณฑ์เกษตร และสาขาประมง
2. มาเลเซีย สาขาผลิตภัณฑ์ยาง และสาขาสิ่งทอ
3. อินโดนีเซีย สาขายานยนต์ และสาขาผลิตภัณฑ์ไม้
4. ฟิลิปปินส์ สาขาอิเล็กทรอนิกส์
5. สิงคโปร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาสุขภาพ
6. ไทย สาขาการท่องเที่ยวและสาขาการบิน
7. เวียดนาม สาขาโลจิสติกส์
ตอนที่ 3 ประโยชน์จากการเป็นสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ประโยชน์ที่ประเทศไทยจะได้รับจากการเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ
AEC ดังนี้
1. ขยายการส่งออกและโอกาสทางการค้า จาการยกเลิกอุปสรรคภาษีและที่มิใช่
ภาษีจะเปิดโอกาสให้สินค้า เคลื่อนย้ายเสรี
2. คาดว่า การส่งออกไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัวได้ไม่ต่ากว่า 18 - 20%
ต่อปี
3. เปิดโอกาสการค้าบริการ ในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง เช่น ท่องเที่ยว
โรงแรมและร้านอาหาร สุขภาพ ทาให้ไทยมีรายได้จากการค้าบริการไปต่างประเทศเพิ่มขึ้น
4. สร้างเสริมโอกาสการลงทุน เมื่อมีการเคลื่อนย้ายเงินทุนได้เสรียิ่งขึ้น อุปสรรค
การลงทุนระหว่างอาเซียน จะลดลง อาเซียนจะเป็นเขตการลงทุนที่น่าสนใจทัดเทียมจีน
และอินเดีย
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 10
5. เพิ่มพูนขีดความสามารถของผู้ประกอบการไทย เมื่อมีการใช้ทรัพยากรการ
ผลิตร่วมกัน/เป็นพันธมิตรทางธุรกิจร่วมกับอาเซียน อื่น ทาให้เกิดความได้เปรียบเชิง
แข่งขัน (Comparative Advantage) และลดต้นทุนการผลิต
6. เพิ่มอานาจการต่อรองของไทยในเวทีการค้าโลก สร้างความเชื่อมั่นให้
ประชาคมโลก
7. ยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศ ผลการศึกษา แสดงว่า AEC
จะทาให้รายได้ที่แท้จริงของอาเซียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.3 หรือคิดเป็นมูลค่า 69 พันล้าน
เหรียญสหรัฐฯ
ตอนที่ 4 การเตรียมตัวของไทยสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
แนวทางที่ประเทศไทยควรเตรียมพร้อมเพื่อรองรับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น
หากมีการรวมตัวเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC คือ ภาครัฐเองไม่ได้นิ่งนอนใจ
ต่อผลกระทบที่จะเกิดขึ้น โดยเฉพาะกิจการ/อุตสาหกรรมที่ไม่มีความพร้อมในการแข่งขัน
โดยแผนงานรองรับผลกระทบที่ได้มีการดาเนินงานมาแล้วได้แก่
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 11
1. การจัดตั้งกองทุนเพื่อการปรับตัวของภาคการผลิตและบริการที่ได้รับ
ผลกระทบจากการเปิดเสรี ทางการค้า (ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม
พ.ศ. 2550) เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ผลิตและผู้ประกอบการสินค้าเกษตรแปรรูปสินค้า
อุตสาหกรรม และบริการ ที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าให้สามารถปรับตัว
หรือปรับเปลี่ยนให้ สามารถแข่งขันได้
2. มาตรการป้องกันผลกระทบก่อนหน้านี้กระทรวงพาณิชย์ได้เสนอจัดทา
กฎหมายซึ่งได้ผ่านสภานิติบัญญัติออกมาเป็น พรบ. มาตรการปกป้องการนาเข้าที่เพิ่มขึ้น
(Safeguard Measure) ซึ่งหากการดาเนินการตาม AEC Blueprint ก่อให้เกิด
ผลกระทบก็สามารถนากฎหมายนี้มาใช้ได้
3. การจัดตั้งคณะอนุกรรมการดาเนินการตามแผนงานไปสู่การเป็นประชาคม
เศรษฐกิจอาเซียน (ตาม คาสั่ง กนศ. ที่ 1/2550 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2550)
เพื่อขับเคลื่อนการดาเนินงานตามแผนงานและเตรียมการรองรับผลกระทบที่จะเกิด
ขึ้นในการดาเนินงานไปสู่การเป็น AEC โดยมีปลัดกระทรวงพาณิชย์เป็นประธานผลกระทบ
ของประเทศไทยจากการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือ AEC คือ
1. การเปิดตลาดเสรีการค้าและบริการย่อมจะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรม
และผู้ประกอบการในประเทศที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันต่า
2. อุตสาหกรรมและผู้ประกอบการในประเทศต้องเร่งปรับตัว
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 12
ตอนที่ 5 บทบาทไทยในประชาคมอาเซียน
ประเทศไทยมีบทบาทเข้มแข็งเสมอมาในการผลักดันให้สมาคมอาเซียนปรับเปลี่ยน
โครงสร้างและการดาเนินการให้สอดคล้องกับเงื่อนไขและสภาพการณ์ของความเป็นจริง
และข้อเท็จจริงด้านเศรษฐกิจการเมืองที่ปรากฏทั้งระดับภูมิภาคและระดับโลก ทั้งนี้
โดยมีเป้าประสงค์เพื่อความเจริญก้าวหน้า ความมั่นคง และความวัฒนาถาวรของประชาคม
อาเซียนเป็นสาคัญบทบาทของประเทศไทยในด้านต่างๆ มีดังนี้
1. ด้านการเมืองและความมั่นคงอาเซียนมีความร่วมมือเพื่อธารงรักษาสันติภาพ
และความมั่นคงของภูมิภาค เช่น การจัดทาปฏิญญากาหนดให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้เป็นเขตแห่งสันติภาพ เสรีภาพ และความเป็นกลางหรือ Zone of Peace,
Freedom and Neutrality (ZOPFAN) ในปี 2514 การจัดทาสนธิสัญญาไมตรีและ
ความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ Treaty of Amity and
Cooperation (TAC) ในปี 2519 สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ (SEANWFZ) และการริเริ่มการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้าน
การเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก หรือ ASEAN Regional Forum (ARF)
เพื่อเสริมสร้างความไว้วางใจกันระหว่างประเทศในเอเชียแปซิฟิกซึ่งไทยได้เป็นเจ้าภาพ
จัดการประชุมครั้งแรกในปี2537 ไทยได้เสนอแนวคิดเรื่อง ASEAN Troika หรือ กลุ่มผู้
ประสานงานของอาเซียน เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ
ณ กรุงมะนิลา เมื่อ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นาประเทศ
สมาชิกอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียน
สามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทันท่วงที และใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น
ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่า
มีแนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค
2. ด้านเศรษฐกิจ อดีตนายกรัฐมนตรีของไทย นายอานันท์ ปันยารชุน ได้เสนอให้
จัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน หรือ ASEAN Free Trade Area (AFTA) ในปี 2535
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 13
เพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกัน อันจะช่วยส่งเสริมการค้าภายในอาเซียนให้มีปริมาณ
เพิ่มขึ้น ลดต้นทุนการผลิตสินค้าและดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ ต่อมา อาเซียนได้
ขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจเพิ่มเติมเพื่อให้การรวมตัวทางเศรษฐกิจสมบูรณ์แบบ
และมีทิศทางชัดเจน โดยจัดตั้งเขตลงทุนอาเซียน หรือ ASEAN Investment Area (AIA)
ในปี 2541 เพื่อส่งเสริมการลงทุนทั้งภายในและภายนอกภูมิภาค ส่งเสริมการเปิดการค้า
เสรี การท่องเที่ยว การเงิน การเกษตร และสนับสนุนการเชื่อมโยงด้านคมนาคมขนส่ง โดย
ไทยได้เสนอให้จัดทาความตกลงว่าด้วยการอานวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน
และข้ามแดน นโยบายของไทยต่อความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ คือ ผลักดันให้อาเซียนมุ่ง
ปรับโครงสร้างด้านเศรษฐกิจให้มีความโปร่งใส มีประสิทธิภาพ สามารถแข่งขันกับนานา
ประเทศ. ด้านสังคมและความร่วมมือเฉพาะด้านเป็นความร่วมมือในด้านอื่นที่มิใช่ด้าน
การเมืองและด้านเศรษฐกิจ ซึ่งประกอบด้วยความร่วมมือด้านต่างๆ ได้แก่ แรงงาน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาธารณสุข วัฒนธรรมและสารสนเทศ การศึกษา การขจัด
ความยากจน การพัฒนาสตรี เด็กและเยาวชน การพัฒนาชนบท การพัฒนาและส่งเสริม
สวัสดิการสังคม การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม และการจัดการด้านภัยพิบัติ เป็นต้น
3. อาเซียน หรือ ASEAN University Network (AUN) เพื่อเป็นแกนหลัก
ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของภูมิภาค ได้เสนอให้ตั้ง "มูลนิธิอาเซียน" หรือ ASEAN
Foundation เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและนักวิชาการ ตลอดจน การมีส่วน
ร่วมของประชาชนเพื่อสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนรวมทั้ง ยังได้สนับสนุนการ
จัดทาโครงข่ายรองรับทางสังคม หรือ Social safety nets เพื่อบรรเทาผลกระทบทาง
สังคมจากวิกฤตเศรษฐกิจปี พ.ศ. 2544 ไทยผลักดันให้อาเซียนมีมติรับรองการจัดให้มีปี
แห่งการปลูกจิตสานึกในการต่อต้านยาเสพติดในอาเซียน ระหว่างปี 2545-2546 และ
สนับสนุนให้ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 7 รับรองปฏิญญาว่าด้วยเชื้อ HIV เนื่องจาก
ไทยสูญเสียทรัพยากรจานวนมากในการแก้ไขปัญหายาเสพติดและปัญหาโรคเอดส์ไทย
จาเป็นต้องได้รับความร่วมมือระดับภูมิภาค
4. ด้านความร่วมมือกับประเทศภายนอกอาเซียนไทยมีบทบาทสนับสนุนให้อาเซียน
มีความร่วมมือกับประเทศภายนอกอาเซียน เพื่อเสริมสร้างการเชื่อมโยงกับภูมิภาคอื่นดัง
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 14
ปรากฏในรูปของความร่วมมืออาเซียน+3 (ASEAN plus 3) คือ ความร่วมมือระหว่าง
อาเซียนกับญี่ปุ่น จีน และสาธารณรัฐเกาหลี รวมทั้ง ได้ทาการสถาปนาความสัมพันธ์ใน
ลักษณะของประเทศคู่เจรจากับอีก 9 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย แคนาดา นิวซีแลนด์
สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น จีน สาธารณรัฐเกาหลี อินเดีย และรัสเซีย และมีความร่วมมือกับหนึ่ง
กลุ่มประเทศ ได้แก่ สหภาพยุโรป นอกจากนี้ อาเซียนยังมีความร่วมมือกับองค์การระหว่าง
ประเทศ คือ โครงการเพื่อการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) มีความสัมพันธ์เฉพาะ
ด้าน (sectoral dialogue) กับปากีสถาน และมีสถานะเป็นผู้สังเกตการณ์ขององค์การ
สหประชาชาติด้วย
ตอนที่ 6 บทบาทของอาเซียนต่อประเทศไทย
อาเซียนมีบทบาทสาคัญต่อประเทศไทยทั้งด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ
สังคม และวัฒนธรรมสิทธิมนุษยชน และสิ่งแวดล้อม
ด้านการเมืองการปกครอง
อาเซียนพยายามจะทาให้ภูมิภาคนี้มีความมั่นคงและเสถียรภาพ ปราศจากการ
แทรกแซงจากภายนอก เช่น การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน การประชุมอาเซียนว่าด้วย
ความร่วมมือความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ใน
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ขณะเดียวกันอาเซียนก็มีความสาคัญต่อประเทศไทยโดยได้
เสนอแนวคิดเรื่อง กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียน (ASEAN Troika) ในช่วงที่ประเทศไทยเป็น
ประธานอาเซียนเมื่อ พ.ศ. 2552 ในการประชุมสุดยอดอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ ซึ่งไทย
ได้เสนอให้มีการจัดตั้งกลุ่มผู้ประสานงานอาเซียน ประกอบด้วยรัฐมนตรีต่างประเทศของ
ประเทศที่เป็นประธานอาเซียน ประเทศที่เป็นประธานอาเซียนก่อนหน้านั้น และประเทศที่
จะเป็นประธานอาเซียนคนต่อไป เพื่อแก้ไขสถานการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นในภูมิภาค และจะ
ไม่ก้าวก่ายกิจการภายในของประเทศสมาชิก
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 15
อาเซียนได้เข้ามามีบทบาทในการไกล่เกลี่ยชายแดนไทย-กัมพูชา โดยการพยายาม
ลดความขัดแย้งลงและลดการเผชิญหน้ากัน พยายามทาความเข้าใจกันเพื่อให้เกิดการอยู่
ร่วมกันอย่างสงบสุข
จะเห็นได้ว่า อาเซียนมีความสาคัญต่อประเทศไทยหลายด้าน กล่าวคือ นอกจากจะ
สร้างพันธมิตรและความเป็นปึกแผ่น ตลอดจนเสถียรภาพและสันติภาพในภูมิภาคแล้ว ยัง
ช่วยเพิ่มอานาจในการต่อรองในการเจรจาระหว่างประเทศ และร่วมกันในการแก้ไขปัญหา
ข้ามชาติ และการพัฒนาขั้นพื้นฐานต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรม
ด้านเศรษฐกิจ
การที่ประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นประเทศสมาชิกของอาเซียน นับว่าเป็นผลดีต่อ
นโยบายด้านเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากสามารถต่อรองทางการค้ากับ
ประเทศสมาชิกได้ ประเทศไทยมีบทบาทที่สาคัญในการผลักดันให้มีความร่วมมือด้าน
เศรษฐกิจของอาเซียน โดยมีเป้าหมายที่ชัดเจนซึ่งนาไปสู่การรวมตัวทางเศรษฐกิจของ
ประเทศสมาชิก ดังเช่น การประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 19 ณ เมืองโดฮา ประเทศ
อินโดนีเซีย นายกรัฐมนตรีของไทยประสบความสาเร็จเป็นอย่างมาก ในการผลักดัน
นโยบายของรัฐบาลให้อยู่ในกรอบการเจรจาของผู้นาอาเซียน โดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจ
กล่าวคือ ผลักดันความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการเงิน เพื่อรองรับการลงทุนที่จะเพิ่มขึ้น
เมื่อเปิดการค้าเสรีในประชาคมอาเซียน โดยมีการจัดทากลไกอานวยความสะดวกที่จะช่วย
ส่งเสริมการลงทุน นอกจากนี้นายกรัฐมนตรียังได้แสดงวิสัยทัศน์สนับสนุนให้อาเซียนมี
บทบาทที่เข้มแข็งขึ้นในเวทีโลก เพื่อรับมือผลกระทบต่างๆ จากความท้าทายระดับโลก
โดยเฉพาะในเรื่องเศรษฐกิจ อาเซียนควรพึ่งพาการเจริญเติบโตในภูมิภาค ดังนั้นควร
ส่งเสริมการรวมตัวทางเศรษฐกิจในอาเซียน และการสร้างความเป็นหุ้นส่วนกับประเทศ
ภายนอก อีกทั้งนายกรัฐมนตรีขอให้อาเซียนสนับสนุนการสมัครเป็นสมาชิกคณะมนตรี
ความมั่นคงแห่งสหประชาชาติของไทยสาหรับวาระ พ.ศ. 2560-2561 รวมทั้งได้แสดงการ
สนับสนุนต่อการเป็นประธานอาเซียนของพม่า พ.ศ. 2560 ด้วย นอกจากนี้ไทยยังได้รับ
สิทธิพิเศษในด้านภาษีศุลกากรและด้านการลงทุนร่วมกัน ซึ่งมีอยู่หลายโครงการ เช่น
โครงการผลิตปุ๋ย โครงการด้านปศุสัตว์ โครงการด้านการประมง
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 16
จากการที่อาเซียนมีบทบาทต่อไทยทาให้ไทยได้รับประโยชน์หลายประการที่สาคัญ
ได้แก่ ด้านช่วยเอื้ออานวยต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ได้รับสิทธิพิเศษทางการค้าด้วยการ
ได้ลดหย่อนอัตราภาษีศุลกากร
หลังจากหลายปีที่ผ่านมาความร่วมมือด้านเศรษฐกิจได้ขยายครอบคลุมในทุกสาขา
หลัก เช่น การค้า การบริการ การเกษตร การลงทุน ความลงมือด้านอุตสาหกรรม การเงิน
การคลัง การขนส่ง และพลังงาน โดยมีการกาหนดทิศทาง แผนความร่วมมือ รวมทั้ง
ระยะเวลาในการบรรลุเป้าหมายภายใต้วิสัยทัศน์อาเซียน ค.ศ.2020 และแผนปฏิบัติการ
ฮานอย ซึ่งกาหนดเป้าหมายให้อาเซียนเป็นเขตเศรษฐกิจที่มีการไหลเวียนของสินค้า การ
บริการ และการลงทุนอย่างเสรี และได้มีการจัดทาความตกลงหลักเพื่อส่งเสริมการพัฒนา
และการรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน เช่น กรอบความตกลงว่าด้วยการค้าบริการของ
อาเซียน ข้อตกลงแม่บทว่าด้วยความร่วมมือด้านทรัพย์สินทางปัญญาอาเซียน ความตกลง
พื้นฐานว่าด้วยโครงการความร่วมมือทางอุตสาหกรรมของอาเซียนกรอบความตกลงว่าด้วย
เขตการลงทุนอาเซียน กรอบความตกลงว่าด้วยการอานวยความสะดวกในการขนส่งผ่าน
แดน กรอบความตกลงด้านอิเล็กทรอนิกส์ของอาเซียน
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
อาเซียนมีความร่วมมืออันดีกับประเทศไทยในด้านสังคมและวัฒนธรรม โดยไทยได้มี
การแลกเปลี่ยนความคิดทางด้านขนบธรรมเนียมประเพณีและสังคมวัฒนธรรม เพื่อความ
เข้าใจอันดีกับประเทศสมาชิก ซึ่งได้ดาเนินการผ่านโครงการต่างๆ เช่น โครงการสตรี
อาเซียน โครงการมหกรรมเยาวชนอาเซียน โครงการเรือเยาวชนอาเซียน โครงการดนตรี
และศิลปะอาเซียนและการแสดงอาเซียน
นอกจากนี้ไทยยังได้มีบทบาทสาคัญในด้านของความร่วมมือด้านสังคม เพื่อความ
สันติสุขในภูมิภาค โดยการสนับสนุนให้อาเซียนกระชับความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา
อาชญากรรมข้ามชาติ เช่น การค้ายาเสพติด การค้ามนุษย์ การก่อการร้าย การค้าอาวุธ
อาชญากรรมทางด้านเศรษฐกิจและคอมพิวเตอร์ รวมทั้งให้ความสาคัญกับการพัฒนาด้าน
ทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเป็นกลไกลดช่องว่างระหว่างประเทศสมาชิกเก่าและใหม่ของอาเซียน
ซึ่งมีส่วนช่วยสนับสนุนการรวมตัวของอาเซียน
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 17
ประโยชน์ที่ไทยได้รับจากความร่วมมือกับอาเซียน ทาให้ไทยสามารถแก้ไขปัญหาที่มี
ผลกระทบต่อสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น โรคระบาด โรคเอดส์ ยาเสพติด
สิ่งแวดล้อม และอาชญากรรมข้ามชาติ อันเป็นผลมาจากการมีความร่วมมือทางด้านสังคม
และวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งหากไม่มีแล้วก็คงเป็นการยากที่ประเทศไทยจะแก้ไขปัญหา
เหล่านี้ได้โดยตรง
ด้านสิทธิมนุษยชน
สิทธิมนุษยชน หมายถึง สิทธิของความเป็นมนุษย์ เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่มนุษย์ทุกคน
มี เพื่อให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอ
ภาคที่เท่าเทียมกัน หากมีการละเมิดสิทธิดังกล่าวย่อมได้รับความคุ้มครองจากกฎหมาย
ภาคประชาสังคมได้มีการรณรงค์กับคณะทางานระดับสูง ว่าด้วยองค์กรสิทธิมนุษย์มี
อานาจหน้าที่ตามหลักสากล เพื่อคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในภูมิภาคได้
บทบาทตามสิทธิมนุษยชนของอาเซียนต่อประเทศไทย กล่าวคือ ได้มีการร่วมมือกัน
ช่วยเหลือผู้ประสบภัยในประเทศเมียนมาร์มาจากพายุไซโคลนนาร์กีส ไทยและอาเซียนได้
ช่วยเหลือและฟื้นฟูบูรณพื้นที่ที่ประสบภัย โดยไทยยินดีให้ความร่วมมือและช่วยเหลือเมียน
มาร์ในการสร้างที่พักพิงแก่ผู้ประสบภัย รวมทั้งการสร้างศูนย์อนามัยและศูนย์บริการโลหิต
แห่งชาติ ที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานความช่วยเหลือ
แก่ประชาชนเมียนมาร์ผ่านสภากาชาดไทยด้วย และประเทศไทยยังได้มีการสนับสนุนให้มี
การจัดตั้งกลไกสิทธิมนุษยชนของอาเซียนในหลักการ เนื่องจากสอดคล้องและส่งเสริมแนว
การปฏิรูปทางการเมืองของไทย นอกจากนี้ไทยยังสนับสนุนกลไกเฉพาะด้าน โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งเรื่องสิทธิสตรี สิทธิเด็ก ซึ่งไทยให้ความสาคัญและเห็นว่าประเทศสมาชิกน่าจะ
พร้อมและยอมรับได้
อาเซียนยังมีบทบาทด้านสิทธิมนุษยชนต่อประเทศไทยรวมทั้งประเทศสมาชิกอื่น
โดยจัดตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนอาเซียนขึ้นมาทาหน้าที่ดาเนินการคุ้มครองสิทธิ
มนุษยชน เช่น อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนที่สาคัญ มีดังนี้
เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจด้านสิทธิมนุษยชน
ส่งเสริมความรู้และประสานความร่วมมือด้านสิทธิมนุษยชนกับองค์กรอื่นๆ
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 18
ให้การคุ้มครองและดาเนินการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน
เสนอแนะนโยบาย การปรับปรุงกฎหมาย และมาตรการต่างๆ แก่รัฐสภา รัฐบาล
และหน่วยงานของรัฐ เพื่อให้เกิดการเคารพและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน
จะเห็นได้ว่า ปัญหาที่ทาให้อาเซียนยังไม่ใช่องค์กรของประชาชนอย่างแท้จริง คือ
ปัญหาด้านการละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ่งตามกฎบัตรอาเซียนได้กาหนดให้มีการจัดตั้งกลไก
สิทธิมนุษยชนของอาเซียนขึ้น กล่าวคือ บทบาทอาเซียนยังคงยึดหลักการไม่ยุ่งเกี่ยวกับ
กิจการภายในของประเทศสมาชิก และเป็นกฎเหล็กของอาเซียนต่อไป ทั้งๆ ที่หลายปีที่
ผ่านมาได้มีการถกเถียงกันอย่างมากว่าหลักการดังกล่าวควรจะมีการยืดหยุ่น และอาเซียน
ควรจะมีสิทธิ์เข้าไปยุ่งกิจการภายในของสมาชิกได้ หากเรื่องที่ถือว่าเป็นเรื่องภายในส่งผล
กระทบต่ออาเซียนโดยรวม เช่น การละเมิดสิทธิมนุษยชนในเมียนมาร์ เป็นต้น
ด้านสิ่งแวดล้อม
อาเซียนเริ่มมีความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมมาตั้งแต่ พ.ศ. 2520 ซึ่งอาเซียนได้ร่าง
โครงการสิ่งแวดล้อมของอนุภูมิภาคอาเซียน และได้รับความร่วมมือจากโครงการ
สิ่งแวดล้อมของสหประชาชาติ ต่อมาคณะกรรมการอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ขณะดูแลงานด้านสิ่งแวดล้อมด้วย ได้เสนอให้มีการประชุมกลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้าน
สิ่งแวดล้อมขึ้นที่กรุงจาการ์ตา ในการประชุมครั้งนั้นประเทศไทยได้เข้ามามีบทบาทสาคัญ
ในการริเริ่มและผลักดันให้ประเทศสมาชิกอาเซียนร่วมก่อตั้งเครือข่ายปราบปรามการ
ลักลอบค้าสัตว์ป่าและพันธุ์พืชที่ผิดกฎหมายในภูมิภาคอาเซียน
อาเซียนได้กระตุ้นให้มีการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อม
ในระดับภูมิภาค สาหรับประเทศไทยได้มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อมวลชนทุก
แขนง การประกวดคาขวัญภาษาไทยเพื่อใช้ในการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ในประเทศไทย
การดาเนินงานสอดแทรกในแผนงานประจาหน่วยงาน เช่น กิจกรรมเยาวชน การฝึกอบรม
การจัดนิทรรศการ การจัดกิจกรรมให้มีการรณรงค์ในโอกาสต่างๆ เช่น วันสิ่งแวดล้อมโลก
วันสิ่งแวดล้อมไทย การจักกิจกรรมการเที่ยวแบบ Eco-tourism ทั้งในประเทศและภูมิภาค
อาเซีย
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 19
ต่อมาคณะกรรมการอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งขณะนั้นดูและงาน
ด้านสิ่งแวดล้อม ได้เสนอให้มีการประชุมกลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อม จนเมื่อ พ.ศ.
2542 ไทยได้รับหน้าที่เป็นประธานอาเซียนได้พยายามปรับโครงสร้างขององค์กร เพื่อให้
สอดคล้องและสามารถติดตามสถานการณ์สิ่งแวดล้อมในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไปอย่าง
รวดเร็วได้อย่างมีประสิทธิภา
ตอนที่ 7 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน
อาเซียนมีเป้าหมายหลักที่จะได้รับประโยชน์จากการรวมตัวกันเป็นประชาคมสังคม
และวัฒนธรรมอาเซียน โดยมุ่งหวังให้เป็นประชาคมสังคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มี
สังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน มีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ประชาชนกินดี อยู่ดี
ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บมีสิ่งแวดล้อมที่ดี มีการพัฒนาในทุกด้าน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต
ของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมอัตลักษณ์
อาเซียน (ASEAN Identity) อาเซียนได้จัดทาแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและ
วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Social cultural community Blueprint) เพื่อรองรับสู่การ
เป็นประชาคมสังคมและวัฒนะธรรมอาเซียน โดยกาหนดให้มีการร่วมมือกันใน 6 ด้าน
ได้แก่
1. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Development) โดยเน้นด้านการศึกษา
และการสร้างสังคมความรู้
2. การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection) โดยจะ
ส่งเสริมด้านความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน ด้วยการลดความยากจนและ
ส่งเสริมการคุ้มครองและสวัสดิการสังคม
3. สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Right) โดยเน้นการ
ปกป้องสิทธิและผลประโยชน์ของประชาชน รวมทั้งส่งเสริมโอกาสและยกระดับคุณภาพ
ชีวิตของประชาชน
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 20
4. ความยั่งยืนทางด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Sustainability) โดยอาเซียน
จะส่งเสริมสิ่งแวดล้อมสีเขียวและสะอาด โดยการปกป้องและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
ต่างๆ
5. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน (Building an ASEAN Identity) โดยจะเน้นการ
สร้างความรู้สึกถึงการอยู่ร่วมกัน และเสริมสร้างความเป็นเอกภาพในความแตกต่างๆ
ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิกเกี่ยวกับวัฒนธรรม เพื่อให้ประชาชนเข้าใจ
เกี่ยวกับเอกลักษณ์ของภูมิภาค
6. การลดช่องว่างทางการพัฒนา (Narrowing the Development Gap) เน้นการ
พัฒนาประเทศสมาชิกให้มีการพัฒนาที่เสมอภาคกันมากยิ่งขึ้น
ตอนที่ 8 บทบาทอาเซียนในเวทีโลก
ความสาคัญของอาเซียนในเวทีโลก
อาเซียนเป็นกลุ่มประเทศที่มีความสาคัญจากการที่ประชากรรวมกันแล้ว
เกือบ 600 ล้านคน ซึ่งเป็นทั้งตลาดที่มีกาลังสูงมีแนวโน้มขยายตัวได้มากและเป็นตลาด
แรงงานราคาถูกซึ่งนักลงทุนต่างชาติโดยเฉพาะญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกาเข้ามาลงทุนนาน
แล้ว ดังนั้นกล่าวโดยสรุปอาเซียนมีความสาคัญในเวทีโลก ดังนี้
1. ความสาคัญทางด้านเศรษฐกิจ อาเซียนเป็นแหล่งเกษตรกรรมที่สาคัญ
ของโลก โดยมีการผลิตอาหารและสินค้าเกษตรจานวนมาก เช่น ข้าวหอมมะลิ น้ามันปาล์ม
มะพร้าว เป็นต้น และยังเป็นแหล่งทรัพยากรที่สาคัญ โดยเฉพาะทรัพยากรเชื้อเพลิงซึ่งมี
มากในประเทศบรูไนและมาเลเซีย ส่งผลให้ประเทศมีฐานะทางเศรษฐกิจดี และไม่ได้รับ
ผลกระทบจากการขึ้นราคาน้ามันของโลกมากนัก ในพม่ามีแหล่งน้ามันและแก็สธรรมชาติ
จานวนมาก ซึ่งหลายประเทศ เช่น จีน อังกฤษ ไทย รวมถึงสหรัฐอเมริกา ได้เข้าไปลงทุน
โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกานั้นพยายามลงทุนในพม่าเพิ่มมากขึ้น แม้ในอดีตสหรัฐอเมริกา
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 21
และอังกฤษได้คว่าบาตรทหารพม่า แต่เพราะผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจมหาศาล ทาให้
สหรัฐอเมริกาไม่ใช้ข้ออ้างด้านการเมืองในการคว่าบาตรพม่าอีก พม่าจึงเป็นประเทศใน
อาเซียนที่กาลังได้รับความสนใจจากภายนอก และเปิดรับการลงทุนจากภายนอก
นอกจากนี้อาเซียนยังมีประเทศสิงคโปร์ที่มีเศรษฐกิจที่มั่นคงและเป็นศูนย์กลาง
ทางการเงินการลงทุนของภูมิภาค มีประเทศที่มีแรงงานมีคุณภาพ ค่าแรงไม่สูง เช่น
ไทย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ มีประเทศอินโดนีเซียเป็นประเทศมุสลิมที่ใหญ่ที่สุดของโลก
และมีความใกล้ชิดกับประทศมุสลิมอื่นๆ ในโลกซึ่งเป็นผลดีต่อการขยายตลาดของ
อาเซียนในประเทศมุสลิมทั่วโลก
2. ความสาคัญทางการเมือง อาเซียนมีบทบาทด้านการเมืองในระดับโลกใน
การสนับสนุนการดาเนินงานเพื่อสร้างสันติภาพของสหภาพของสหประชาชาติ เช่น
การเข้าร่วมกับกองกาลังสหประชาชาติในปฏิบัติการต่างๆ การให้ความร่วมมือช่วยเหลือ
ผู้อพยพจากการขัดแย้งทางการเมือง เช่น ในสงครามเวียดนาม ในสงครามการเมืองกัมพูชา
ผู้อพยพที่เป็นชนกลุ่มน้อยในพม่า เป็นต้น
ตอนที่ 9 บทบาทของอาเซียนในเวทีเศรษฐกิจโลก
ในปัจจุบันอาเซียนเป็นกลุ่มประเทศที่มีความโดดเด่นทางด้านการเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกิจ ทั้งการเป็นตลาดขนานใหญ่ที่เป็นทั้งแหล่งผลิตสินค้าของนักลงทุนภายในและ
ภายนอกภูมิภาค และเป็นตลาดที่มีกาลังซื้อสูงเหตุการณ์ที่สะท้อนความสาคัญของ
เศรษฐกิจอาเซียนต่อเศรษฐกิจโลก คือ เหตุการณ์อุทกภัยครั้งใหญ่ในปลาย พ.ศ. 2554
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 22
ในภาคกลางของประเทศไทย ทาให้น้าท่วมนิคมอุตสาหกรรมหลายแห่งในจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา ซึ่งมีโรงงานนักลงทุนต่างชาติจานวนมาก ทาให้การผลิตสินค้า
หยุดชะงัก กระทบถึงสินค้าในตลาดโลก เช่น โรงงานผลิตรถยนต์ในไทยถูกน้าท่วมส่งผลให้
ไม่มีรถยนต์เพียงพอต่อยอดสั่งจองทั้งในยุโรปและสหรัฐอเมริกา โรงงานผลิตชิ้นส่วน
คอมพิวเตอร์และชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้าถูกน้าท่วม ทาให้ไม่มีชิ้นส่วนส่งโรงงานในประเทศ
ฟิลิปปินส์จนทาให้โรงงานฟิลิปปินส์ต้องปิดชั่วคราว คนงานชาวฟิลิปปินส์ในโรงงานหลาย
แห่งไม่มีงานทา และไม่มีสินค้าส่งขายไปยังประเทศอื่นๆ ส่งผลให้สินค้าขาดตลาด
ในปัจจุบันอาเซียนมีบทบาทสาคัญในเวทีโลกโดยได้ดาเนินการเสริมสร้างความ
ร่วมมือกับประเทศสมาชิก และกลุ่มประเทศนอกประเทศอาเซียน ดังนี้
1. การสร้างความร่วมมือในประเทศสมาชิกอาเซียน
บทบาทของอาเซียนที่โดดเด่นในเวทีการค้าโลก คือ การเสริมสร้างความร่วมมือทาง
เศรษฐกิจในหมู่ประเทศสมาชิกอย่างต่อเนื่อง โดยมีเป้าหมายหลัก คือ เพื่อให้เกิดการรวม
เป็นตลาดเดียวกัน โดยการเริ่มก่อตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียนหรืออาฟตา เมื่อ พ.ศ. 2535 ซึง
มีส่วนช่วยพัฒนาเศรษฐกิจและอานาจต่อรองของอาเซียน แต่อาเซียนมีเป้าหมายสูงสุด คือ
การเป็นประชาคมเศรษฐกิจ ทางการเงิน และการคลัง ซึ่งจะนาไปสู่การเปิดเสรีทาง
เศรษฐกิจ เพื่อรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจภายในอาเซียน และสร้างความเข้มแข็งแก่อาเซียนใน
เวทีเศรษฐกิจโลก นอกจาการตั้งอาฟตาแล้ว อาเซียนได้ร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจของ
ประเทศกลุ่มน้าโขง คือ จีน พม่า เวียดนาม ลาว กัมพูชา และไทย โดยรณรงค์ระหว่าง
พ.ศ. 2543-2553 เป็นทศวรรษแห่งความร่วมมือเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจในประเทศลุ่มน้าโขง
เพื่อยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน และเพื่อสนับสนุนการรวมตัวทางเศรษฐกิจ
ของประเทศเหล่านี้ ให้สอดคล้องกับตลาดอาเซียน
อย่างไรก็ตาม ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการขยายตัวทางการค้าในกลุ่มแม่น้าโขง คือ
ปัญหาลักลอบค้ายาเสพติด สินค้าหนีภาษี และปัญหาอาชญากรรมจากความขัดแย้งของผู้มี
อิทธิพล หรือพ่อค้าสิ่งเสพติด ซึ่งในระยะแรกที่การค้าขยายตัว ทางการจีนและอาเซียนยัง
ไม่ค่อยให้ความสาคัญต่อการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมเหล่านี้ แต่ปัจจุบัน
ประเทศลุ่มแม่น้าโขงได้เพิ่มมาตรการการรักษาความปลอดภัยในเส้นทางเดินเรือ
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 23
การปราบปรามสิ่งเสพติดและสินค้าเถื่อนเพื่อทาให้การค้าในเส้นทางนั้นปลอดภัยและถูก
กฎหมาย
การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะเพิ่มบทบาทด้านเศรษฐกิจของอาเซียนในเวที
เศรษฐกิจโลก เพราะจะช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันและต่อรองในเวทีการค้าโลก
ขยายเศรษฐกิจของอาเซียน เพราะอาเซียนมีตลาดขนาดใหญ่ มีกาลังซื้อสูง ซึ่งทาให้
เศรษฐกิจและนักลงทุนจากภายนอกภูมิภาคสนใจเข้ามาทาการค้าลงทุนกับอาเซียนมากขึ้น
2. การสร้างความร่วมมือกับประเทศหรือกลุ่มประเทศนอกอาเซียน
อาเซียนมีการร่วมมือทางเศรษฐกิจกับภายนอกกลุ่มมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อขยายการ
เชื่อมโยงกับประเทศหรือกลุ่มประเทศนอกอาเซียน เช่น
ความร่วมมืออาเซียน+3 (ASEAN plus three) คือ ความร่วมมือระหว่างประเทศ
สมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ร่วมกับ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้
ความร่วมมืออาเซียน+6 (เพิ่มอีก 3 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และ
อินเดีย) ซึ่งจะส่งผลให้มีขนาดผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP) ใหญ่เป็น 1 ใน 4 ของ
โลก มีจานวนประชากรมากเป็นครึ่งหนึ่งของโลก
ความสัมพันธ์ในลักษณะของประเทศคู่เจรจากับอีก 9 ประเทศ คือ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี
ใต้ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย อินเดีย และรัสเซีย และมีความสาคัญร่วมมือกับ
กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป การร่วมมือทางการค้ากับประเทศนอกกลุ่มอาเซียน จะทาให้
เศรษฐกิจของอาเซียนมีความแข็งแกร่ง เมื่อเปรียบเทียบกับเศรษฐกิจโลก ดังนี้
กลุ่ม รายละเอียด
อาเซียน สมาชิก 10 ประเทศ ประชากร 583 ล้านคน (9 % ของประชากรโลก)
GDP 1,275 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2 % ของ GDP โลก)
ASEAN+3 ประชากร 2,068 ล้านคน (31 % ของประชากรโลก) GDP 9,901
พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ( 18 % ของ GDP โลก)
ASEAN+6 ประชากร 3,284 ล้านคน (50 % ของประชากรโลก) GDP 12,250
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 24
พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (22 % ของ GDP โลก)
ตอนที่ 10 อาชีพเสรีในอาเซียน
จากผลจากการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย
ที่เพิ่งผ่านไปหมาด ๆ นั้น ได้มีการทาข้อตกลงยอมรับร่วมกัน เกี่ยวกับการเคลื่อนย้าย
การบริการ สินค้า แรงงาน การลงทุนอย่างเสรี โดยกาหนดให้ผู้มีคุณสมบัติในสาขาวิชาชีพ
หรือแรงงานที่มีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ 7 สาขาสามารถเคลื่อนย้ายไปทางานที่ประเทศ
อื่น ๆ ในอาเซียนได้อย่างเสรีและถูกกฎหมาย เพื่อเป็นการเพิ่มอัตราการแข่งขันทาง
เศรษฐกิจในภูมิภาคโลก ส่งเสริมอาเซียนให้เป็นตลาดเดียวและมีฐานการผลิตร่วมกัน โดย
จะเริ่มในปี พ.ศ.2558 (ค.ศ.2015) ในเบื้องต้นนี้ประเทศสมาชิกอาเซียนได้จัดทาข้อตกลง
ยอมรับร่วมกัน ใน 7 สาขาวิชาชีพแรก ดังนี้
1. งานวิศวกรรม
2. งานพยาบาล
3. งานสถาปัตยกรรม
4. งานการสารวจ
5. งานแพทย์
6. งานทันตแพทย์
7. งานบัญชี
การสามารถเคลื่อนย้ายแรงงานที่มีทักษะได้อย่างเสรีในภูมิภาคอาเซียนเหล่านี้ จะ
ทาให้ตลาดแรงงานใหญ่ขึ้น และมีการแข่งขันสูงขึ้นในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ดังนั้น
หากไทยเรามุ่งหวังจะแข่งขันในระดับสากล เราต้องมีการพัฒนาในด้านหลักสูตรวิชาชีพให้
เข้มข้นขึ้น รวมทั้งส่งเสริมการพัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศที่จาเป็นควบคู่กันไป อาทิ
ภาษาอังกฤษและภาษาจีน นอกจากนี้ยังต้องเปิดหูเปิดตาทาความรู้จักกับอาเซียนมากขึ้น
เพื่อให้รู้ทันและสามารถสู้กับประเทศอื่น ๆ ได้อย่างสมศักดิ์ศรี
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 25
แบบฝึกหัดที่ 1
เรื่อง กรอบความร่วมมือในอาเซียน
รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชื่อ-สกุล .....................................................................................เลขที่....................
คาแนะนา เมื่อนักเรียนศึกษาเรื่อง กรอบความร่วมมือในอาเซียนแล้ว จงตอบคาถาม
ต่อไปนี้
1. จงบอกรายการสินค้าใน Priority Sectors ที่จะลดภาษีเป็น 0% เร็วขึ้น
จากกรอบ AFTA
ตอบ .......................................................................................................................
...........................................................................................................................................
2. การจัดตั้งเครือข่าย ASEAN free trade zones มีลักษณะอย่างไร
ตอบ .......................................................................................................................
...........................................................................................................................................
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 26
...........................................................................................................................................
3. จงอธิบายถึงการอานวยความสะดวกด้านการขนส่งและ logistics service ในอาเซียน
ตอบ .......................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
4. การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 ที่เวียงจันทน์ ระหว่างวันที่ 29-30 พฤศจิกายน
2547 มีข้อสรุปสาคัญอย่างไร
ตอบ .......................................................................................................................
...........................................................................................................................................
...........................................................................................................................................
5. การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 ที่เวียงจันทน์ ระหว่างวันที่ 29-30 พฤศจิกายน
2547 มีข้อสรุปสาคัญอย่างไร
ตอบ .......................................................................................................................
...........................................................................................................................................
แนวคาตอบแบบฝึกหัดที่ 1
เรื่อง ประวัติการก่อตั้งอาเซียน
รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แนวทางการตอบคาถาม
1. จงบอกรายการสินค้าใน Priority Sectors ที่จะลดภาษีเป็น 0% เร็วขึ้น
จากกรอบ AFTA
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 27
ตอบ เกษตร/ประมง/ผลิตภัณฑ์ไม้/ผลิตภัณฑ์ยาง/สิ่งทอ/ยานยนต์/อิเล็กทรอนิกส์/
เทคโนโลยีสารสนเทศ/สาขาสุขภาพ
2. การจัดตั้งเครือข่าย ASEAN free trade zones มีลักษณะอย่างไร
ตอบ เพื่อส่งเสริมการซื้อวัตถุดิบและชิ้นส่วนที่ผลิตในอาเซียน (outsourcing) และดาเนิน
มาตรการร่วมเพื่อดึงดูด
3. จงอธิบายถึงการอานวยความสะดวกด้านการขนส่งและ logistics service ในอาเซียน
ตอบ สาหรับการขนส่ง การอานวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยวในอาเซียน และ การ
เคลื่อนย้ายของนักธุรกิจ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ประกอบวิชาชีพ และ แรงงานมีฝีมือ
4. แผนการรวมกลุ่ม (Road map) มีข้อสรุปสาคัญอย่างไร
ตอบ การส่งเสริมการค้าและการลงทุน และความร่วมมือในด้านอื่น ๆ เช่น ทรัพย์สินทาง
ปัญญา ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรม และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ พิธีสารว่าด้วยการ
รวมกลุ่มรายสาขาของอาเซียน 11 สาขากาหนดมาตรการร่วม ซึ่งคาบเกี่ยวกับทุกสาขา
5. การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 ที่เวียงจันทน์ ระหว่างวันที่ 29-30 พฤศจิกายน
2547 มีข้อสรุปสาคัญอย่างไร
ตอบ ทุกประเทศย้าความสาคัญของการดาเนินการต่างๆ เพื่อนาไปสู่การเป็นประชาคม
อาเซียนภายในปี 2563 (ค.ศ. 2020) ซึ่ง ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ได้ชี้ให้เห็นถึงความจาเป็น
ที่จะต้องเร่งรัดการรวมตัวของอาเซียนให้เร็ว ขึ้น โดยอาจให้สาเร็จภายในปี 2555 (ค.ศ.
2012)
แบบฝึกหัดที่ 2
เรื่อง การรวมกลุ่มสินค้าและบริการนาร่อง
รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 28
ชื่อ-สกุล .....................................................................................เลขที่....................
คาแนะนา ให้นักเรียนพิจารณาว่าข้อใดคือสินค้าและบริการ 11 สาขานาร่องแล้วทา
เครื่องหมายถูกหรือผิดหน้าข้อ
( ) 1. สาขาสิ่งทอ
( ) 2. สาขาประมง
( ) 3. สาขาโลจิสติกส์
( ) 4. สาขายานยนต์
( ) 5. สาขาโลหะหนัก
( ) 6. สาขาการก่อสร้าง
( ) 7. สาขาสุขภาพ
( ) 8. สาขาท่องเที่ยว
( ) 9. สาขาการบิน
( ) 10. สาขาผลิตภัณฑ์ไม้
( ) 11. สาขาอิเล็กทรอนิกส์
( ) 12. สาขาผลิตภัณฑ์ยาง
( ) 13. สาขาเครื่องใช้ในครัวเรือน
( ) 14. สาขาผลิตภัณฑ์เกษตร
( ) 15. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 29
แนวคาตอบแบบฝึกหัดที่ 2
เรื่อง ประวัติการก่อตั้งอาเซียน
รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
แนวทางการตอบคาถาม
( ) 1. สาขาสิ่งทอ
( ) 2. สาขาประมง
(√ ) 3. สาขาโลจิสติกส์
( ) 4. สาขายานยนต์
(√ ) 5. สาขาโลหะหนัก
(√ ) 6. สาขาการก่อสร้าง
( ) 7. สาขาสุขภาพ
( ) 8. สาขาท่องเที่ยว
( ) 9. สาขาการบิน
( ) 10. สาขาผลิตภัณฑ์ไม้
( ) 11. สาขาอิเล็กทรอนิกส์
( ) 12. สาขาผลิตภัณฑ์ยาง
(√ ) 13. สาขาเครื่องใช้ในครัวเรือน
( ) 14. สาขาผลิตภัณฑ์เกษตร
( ) 15. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 30
แบบฝึกหัดที่ 3
เรื่อง ประโยชน์จากการเป็นสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชื่อ-สกุล .....................................................................................เลขที่....................
คาแนะนา จากการศึกษาประโยชน์ที่ประเทศสมาชิกจะได้รับจากการเป็นสมาชิก
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือ AEC ทั้ง 7 ประการ นั้น นักเรียนคิดว่าข้อใด
เป็นผลประโยชน์ที่ประเทศไทยจะได้รับมากที่สุด
( ) 1. ขยายการส่งออกและโอกาสทางการค้า จาการยกเลิกอุปสรรคภาษีและที่มิใช่
ภาษีจะเปิดโอกาสให้สินค้าเคลื่อนย้ายเสรี
( ) 2. การส่งออกไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัวได้ไม่ต่ากว่า18-20% ต่อปี
( ) 3. เปิดโอกาสการค้าบริการ ในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง
( ) 4. สร้างเสริมโอกาสการลงทุน
( ) 5. เพิ่มพูนขีดความสามารถของผู้ประกอบการ
( ) 6. เพิ่มอานาจการต่อรองของไทยในเวทีการค้าโลก
( ) 7. ยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศ
จงให้เหตุผลประกอบ
...............................................................................................................................................
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน

More Related Content

What's hot

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพProud N. Boonrak
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBarber
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBarberตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBarber
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBarberNattakorn Sunkdon
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2LeoBlack1017
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษาครูแชมป์ ฟักอ่อน
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planinnoobecgoth
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecreamตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecreamNattakorn Sunkdon
 
แบบทดสอบวัดความรู้
แบบทดสอบวัดความรู้แบบทดสอบวัดความรู้
แบบทดสอบวัดความรู้Khanatsanan Jitnum
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อKruthai Kidsdee
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003Thidarat Termphon
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)Nattakorn Sunkdon
 
Robkongfire
RobkongfireRobkongfire
Robkongfirepoomarin
 
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกรSamorn Tara
 

What's hot (20)

แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง อาชีพ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1แผนการจัดการเรียนรู้  หน้าที่พลเมือง ม.1
แผนการจัดการเรียนรู้ หน้าที่พลเมือง ม.1
 
แบบทดสอบ
แบบทดสอบแบบทดสอบ
แบบทดสอบ
 
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrixการวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
การวิเคราะห์ SWOT & TOWS Matrix
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBarber
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBarberตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBarber
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำBarber
 
โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2โครงงานวิชา Is2
โครงงานวิชา Is2
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษานวัตกรรม  การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
นวัตกรรม การจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม ตามระบอบประชาธิปไตยในสถานศึกษา
 
ใบงานยุโรป 3
ใบงานยุโรป  3ใบงานยุโรป  3
ใบงานยุโรป 3
 
แผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Planแผนธุรกิจ Business Plan
แผนธุรกิจ Business Plan
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecreamตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำHerbiesicecream
 
แบบทดสอบวัดความรู้
แบบทดสอบวัดความรู้แบบทดสอบวัดความรู้
แบบทดสอบวัดความรู้
 
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อแบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
แบบทดสอบอาเซียน 30 ข้อ
 
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
การพัฒนาตนอง ชุมชน สังคม ม.ปลาย สค31003
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
ตัวอย่างแผนธุรกิจการทำน้ำดื่ม(Water)
 
Robkongfire
RobkongfireRobkongfire
Robkongfire
 
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
003 ใบความรู้ที่3.8-เมื่อฉันเป็นพิธีกร
 
ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์
ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์
ใบงาน เครื่องมือภูมิศาสตร์
 
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
ข้อสอบปลายภาคสังคม ม.1
 

Similar to เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน

เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554TISA
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall aseani_cavalry
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
AEC Project: ฟาร์มโชคชัย
AEC Project: ฟาร์มโชคชัยAEC Project: ฟาร์มโชคชัย
AEC Project: ฟาร์มโชคชัยSMEfriend
 
Asean thai readiness
Asean thai readinessAsean thai readiness
Asean thai readinessi_cavalry
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8Chuta Tharachai
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4Nopporn Thepsithar
 
58210401207 งานที่2 ss
58210401207 งานที่2 ss58210401207 งานที่2 ss
58210401207 งานที่2 ssonouma kaewoun
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมjeabjeabloei
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Kamolkan Thippaboon
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Kamolkan Thippaboon
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunitysiripon25
 
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdfทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdfkittithaithana
 

Similar to เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน (20)

เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554
 
Overall asean
Overall aseanOverall asean
Overall asean
 
ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียนประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
AEC Project: ฟาร์มโชคชัย
AEC Project: ฟาร์มโชคชัยAEC Project: ฟาร์มโชคชัย
AEC Project: ฟาร์มโชคชัย
 
Bm 739 asian chokchai farm
Bm 739 asian chokchai farmBm 739 asian chokchai farm
Bm 739 asian chokchai farm
 
Asean thai readiness
Asean thai readinessAsean thai readiness
Asean thai readiness
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8141104 intro to mice for dusit college nov 8
141104 intro to mice for dusit college nov 8
 
Asean...pongsak
Asean...pongsakAsean...pongsak
Asean...pongsak
 
Ict asean presentation
Ict asean presentationIct asean presentation
Ict asean presentation
 
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
พินิจ AEC และการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของไทย ภายใต้การค้าไร้พรมแดน ตอนที่ 4
 
58210401207 งานที่2 ss
58210401207 งานที่2 ss58210401207 งานที่2 ss
58210401207 งานที่2 ss
 
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคมการรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
การรู้สารสนเทศเพื่อการก้าวสู่ประชาคม
 
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมคณะกรรมการอาเซียน mar 29
 
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
Ppt ประชุมอาเซียน mar 29
 
Ed building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunityEd building-asea ncommunity
Ed building-asea ncommunity
 
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdfทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
ทิศทางอุตสาหกรรม4.0.pdf
 
Asean
AseanAsean
Asean
 

More from หรร 'ษๅ

แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน หรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1หรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนเล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนหรร 'ษๅ
 
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนหรร 'ษๅ
 
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นเล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นหรร 'ษๅ
 

More from หรร 'ษๅ (20)

แบบทดสอบ 100 ข้อ
แบบทดสอบ 100  ข้อแบบทดสอบ 100  ข้อ
แบบทดสอบ 100 ข้อ
 
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 9 ผู้นำและการปกครองของประเทศในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบฝึกหัดที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1แบบฝึกหัดที่ 1
แบบฝึกหัดที่ 1
 
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 5 สกุลเงินประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เล่มที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียนเล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
เล่มที่ 3 ลักษณะทั่วไปในอาเซียน
 
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียนเล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
เล่มที่ 1 รู้จักอาเซียน
 
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียนเล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
เล่มที่ 6 ชุดประจำชาติอาเซียน
 
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนเล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
เล่มที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 8  เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 8 เมืองหลวงของประเทศในอาเซียน
 
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียนเล่มที่ 10  ภาษาของประเทศในอาเซียน
เล่มที่ 10 ภาษาของประเทศในอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 4 ธงประจำชาติในอาเซียน
 
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนเฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน  ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
เฉลยแบบทดสอบก่อนและหลังเรียน ที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 7 ดอกไม้ประจำชาติในประเทศอาเซียน
 
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียนแบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
แบบทดสอบย่อยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน
 
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่นเล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
เล่มที่ 10ภูมิปัญหาท้องถิ่น
 

เล่มที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน

  • 1. มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกรอบความร่วมมือในอาเซียน การรวมกลุ่มสินค้าและ นาร่องประโยชน์จากการเป็นสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน การเตรียมตัวของไทยสู่ การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน บทบาทไทยในประชาคมอาเซียน บทบาทของ อาเซียนต่อประเทศไทย ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน บทบาทอาเซียนในเวทีโลก บทบาทของอาเซียนในเวทีเศรษฐกิจโลกและอาชีพเสรีในอาเซียน หน่วยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน 1. กรอบความร่วมมือในอาเซียน 2. การรวมกลุ่มสินค้าและนาร่อง 3. ประโยชน์จากการเป็นสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 4. การเตรียมตัวของไทยสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน 5. บทบาทไทยในประชาคมอาเซียน 6. บทบาทของอาเซียนต่อประเทศไทย 7. ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน 8. บทบาทอาเซียนในเวทีโลก 9. บทบาทของอาเซียนในเวทีเศรษฐกิจโลก 10. อาชีพเสรีในอาเซียน ผลการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้ เวลาที่ใช้
  • 2. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 2 จานวน 4 ชั่วโมง แบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ความร่วมมือในอาเซียน รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม คาชี้แนะนา ข้อสอบมี 10 ข้อ เป็นแบบปรนัย 4 ตัวเลือก ให้นักเรียนเลือกคาตอบที่ถูก ที่สุดเพียงคาตอบเดียว แล้วทาเครื่องหมาย X ทับอักษร ก ข ค หรือ ง ในกระดาษคาตอบ ให้ตรงกับข้อที่นักเรียนเลือกตอบ 1. AFTA เป็นหน่วยงานเกี่ยวข้องกับสิ่งใด ก. เขตการค้าเสรี ข. เขตปกครองพิเศษ ค. เขตส่งเสริมการท่องเทียว ง. เขตพื้นที่ปลูกพืชเศรษฐกิจ 2. ข้อใดเป็นหน่วยงานที่ทาหน้าที่รับผิดชอบประสานงานเกี่ยวกับอาเซียนในแต่ละ ประเทศ ก. กรมอาเซียน ข. ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ค. สานักงานเลขาธิการอาเซียน ง. คณะมนตรีประสานงานอาเซียน 3. ข้อใดกล่าวถึงความสาคัญของไทยในประชาคมอาเซียน
  • 3. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 3 ก. เป็นกลุ่มผู้นาอาเซียน ข. เป็นหนึ่งในประเทศผู้ก่อตั้งอาเซียน ค. เป็นที่ตั้งของสานักงานเลขาธิการของอาเซียน ง. เป็นตัวแทนสาคัญในการติดต่อค้าขายกับกลุ่มยุโรป 4. ประโยชน์ที่ได้รับจากการจัดตั้งประชาคมอาเซียน คือข้อใด ก. ใช้เงินตราสกุลเดียวกัน ข. ปิดกั้นการไหลบ่าของทุนต่างชาติ ค. มีอานาจต่อรองกับประเทศนอกภูมิภาคมากขึ้น ง. ลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติในการผลิตภาคอุตสาหกรรม 5. แรงงานมีฝีมือที่สามารถเคลื่อนย้ายได้อย่างเสรีในอาเซียนหมายถึงกลุ่มอาชีพใด ก. ครู พ่อค้า ข. วิศวกร พยาบาล ค. แพทย์ นักแสดง ง. ผู้ใช้แรงงาน นักการเมือง 6. ประเทศที่รับผิดชอบสาขาผลิตภัณฑ์ยางพารา ในการรวมกลุ่มสินค้าและบริการ 11 สาขานาร่องคือประเทศในข้อใด ก. ไทย ข. พม่า ค. มาเลเซีย ง. อินโดนีเซีย 7. ASEAN Industrial Cooperation-AICO เป็นความร่วมมือด้านใด ก. ความร่วมมือด้านการลงทุน ข. ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรม ค. ความร่วมมือด้านการบริการ ง. ความร่วมมือด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 4. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 4 8. ข้อใดเป็นความร่วมมือด้านสังคมและวัฒนธรรมในอาเซียน ก. การส่งตัวผู้ร้ายข้ามแดน ข. การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน ค. การจัดตั้งเครือข่ายมหาวิทยาลัยอาเซียน ง. การอานวยความสะดวกในการจับกุมเครือข่ายค้ายาเสพติดข้ามชาติ 9. เหตุผลในข้อใดที่ทาให้ประเทศสมาชิกอาเซียนร่วมมือกัน ก. เห็นประโยชน์ร่วมกัน ข. อยู่ในภูมิภาคเดียวกัน ค. มีอัตลักษณ์แบบเดียวกัน ง. ใช้ภาษาราชการแตกต่างกัน 10. บุคคลในข้อใดเตรียมความพร้อมเข้าร่วมประชาคมอาเซียน ก. ฟ้าเล่นเกมออนไลน์ ข. ดวงใจเตรียมสอบโอเน็ต ค. จอยไปรับจ้างทางานที่ไต้หวัน ง. โรงงานผลิตผลไม้กระป๋องจัดอบรมการใช้เทคโนโลยีในการผลิต เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน เรื่อง ความร่วมมือในอาเซียน รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
  • 5. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 5 ข้อที่ เฉลย ข้อที่ เฉลย 1 ก 6 ค 2 ก 7 ง 3 ข 8 ค 4 ค 9 ก 5 ข 10 ง หน่วยที่ 2 ความร่วมมือในอาเซียน รายวิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 (สาระเพิ่มเติม) มัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 4 ชั่วโมง จานวน 1 หน่วยกิต รวมเวลา 40 ชั่วโมง …………………......................………………………
  • 6. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 6 ตอนที่ 1 กรอบความร่วมมือในอาเซียน สาหรับกรอบความร่วมมือ ที่ประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสด้านเศรษฐกิจอาเซียนเมื่อวันที่ 21-22 กันยายน 2547 ที่กรุงเทพฯ สามารถหาข้อสรุปในสาระสาคัญเกี่ยวกับมาตรการร่วม ที่จะใช้กับการรวมกลุ่มสินค้าและบริการ ได้แก่ การเปิดเสรีการค้าสินค้า การค้าบริการ การลงทุน การอานวยความสะดวกด้านการค้า และการลงทุนและการส่งเสริมการค้า และการลงทุน และความร่วมมือในด้านอื่น ๆ ดังนี้ 1. การค้าสินค้า - จะเร่งลดภาษีสินค้าใน Priority Sectors (เกษตร/ประมง/ ผลิตภัณฑ์ไม้/ผลิตภัณฑ์ยาง/สิ่งทอ/ยานยนต์ /อิเล็กทรอนิกส์/เทคโนโลยีสารสนเทศ/สาขา สุขภาพ) เป็น 0% เร็วขึ้นจากกรอบ AFTA เดิม 3 ปี คือ จาก 2010 เป็นปี 2007 สาหรับ สมาชิกอาเซียนเดิม 6 ประเทศ และ ปี 2015 เป็น 2012 สาหรับประเทศ CLMV โดยได้ กาหนดเพดานสาหรับสินค้าทั้งหมดใน Priority Sectors ไม่ต้องการเร่งลดภาษี (Negative List) ไว้ที่ 15% 2. การค้าบริการ - จะเร่งเปิดเสรีสาขาบริการใน Priority Sectors (สาขาสุขภาพ, e-ASEAN, ท่องเที่ยวและการขนส่งทางอากาศ) ภายในปี ค.ศ. 2010 ทั้งนี้ ให้ใช้ ASEAN-X formula ได้ 3. การลงทุน - จะเร่งเปิดการลงทุนในรายการสงวน (Sensitive List) ภายในปี 2010 สาหรับอาเซียนเดิม 6 ประเทศ ปี ค.ศ. 2013 สาหรับเวียดนามและ 2015 สาหรับ กัมพูชา ลาว และพม่า ทั้งนี้ ให้ใช้ ASEAN-X formula ได้ และส่งเสริมการผลิตในอาเซียน โดยการจัดตั้งเครือข่าย ASEAN free trade zones เพื่อส่งเสริมการซื้อวัตถุดิบและชิ้นส่วน ที่ผลิตในอาเซียน (outsourcing) และดาเนินมาตรการร่วมเพื่อดึงดูด FDI 4. การอานวยความสะดวกด้านการค้าและการลงทุน – ซึ่งประกอบด้วย เรื่องต่างๆ คือ กฎว่าด้วยแหล่งกาเนิดสินค้า พิธีการศุลกากร มาตรฐาน (standard and conformance) การอานวยความสะดวกด้านการขนส่ง และ logistics service สาหรับ การขนส่ง การอานวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยวในอาเซียน และ การเคลื่อนย้าย ของนักธุรกิจ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ประกอบวิชาชีพ และ แรงงานมีฝีมือ
  • 7. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 7 5. การส่งเสริมการค้าและการลงทุน และความร่วมมือในด้านอื่น ๆ เช่น ทรัพย์สิน ทางปัญญา ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรม และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ พิธีสารว่าด้วย การรวมกลุ่มรายสาขาของอาเซียน 11 สาขากาหนดมาตรการร่วม ซึ่งคาบเกี่ยวกับทุกสาขา เช่นเดียวกับในกรอบความตกลงฯ และมาตรการเฉพาะสาหรับการรวมกลุ่มแต่ละสาขา นั้นๆ โดยรวมอยู่ในแผนการรวมกลุ่ม (Road map) ซึ่งผนวกอยู่กับพิธีสารฯ ขณะที่ เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน พ.ศ. 2547 ผู้นาอาเซียนได้ลงนามในกรอบ ความตกลงว่าด้วยการรวมกลุ่มสาขาสาคัญของอาเซียน (Framework Agreement for the Integration of the Priority Sectors) และรัฐมนตรีเศรษฐกิจอาเซียนได้ลงนาม ในพิธีสารว่าด้วยการรวมกลุ่มรายสาขาของ อาเซียน 11 ฉบับ (ASEAN Sectoral Integration Protocol) ในวันที่ 29 พฤศจิกายน 2547 ในช่วงการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 ที่เวียงจันทน์ ระหว่างวันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2547 ทั้งนี้ ในการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 ทุกประเทศย้าความสาคัญ ของการดาเนินการต่างๆ เพื่อนาไปสู่การเป็นประชาคมอาเซียนภายในปี 2563 (ค.ศ. 2020) ซึ่ง ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ได้ชี้ให้เห็นถึงความจาเป็นที่จะต้องเร่งรัด การรวมตัวของอาเซียนให้เร็ว ขึ้น โดยอาจให้สาเร็จภายในปี 2555 (ค.ศ. 2012) และได้ เสนอแนวทางต่างๆ เพื่อช่วยเร่งรัดการรวมตัว เช่น การใช้วิธีการ Two plus X ซึ่ง ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีได้เคยเสนอความจาเป็น และแนวทางนี้มาแล้วเมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 2546 ระหว่างการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ที่บาหลี สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ทั้งนี้ นายกรัฐมนตรีสิงคโปร์ ก็ได้สนับสนุนข้อเสนอแนะของ ฯพณฯ นายกรัฐมนตรีของไทย ที่ให้เร่งรัดการจัดตั้ง AEC ด้วย
  • 8. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 8 ตอนที่ 2 การรวมกลุ่มสินค้าและบริการนาร่อง การรวมกลุ่มสินค้าและบริการ 11 สาขานาร่อง ถือว่าเป็นการเปิดเสรีด้าน การค้าและบริการ เพื่อส่งเสริมการแบ่งงานกันผลิตสินค้าและบริการภายในอาเซียนด้วยกัน โดยจะเน้นใช้วัตถุดิบภายในอาเซียนเป็นหลัก ตามความถนัด เนื่องจากแต่ละประเทศ มีวัตถุดิบที่ไม่เหมือนกัน ถ้าจะให้ผลิตทุกอย่าง จะเป็นการเพิ่มต้นทุนสินค้าแบบเสีย เปล่า สาหรับ 11 สาขานาร่องมีดังนี้ 1. สาขาผลิตภัณฑ์เกษตร 2. สาขาประมง 3. สาขาผลิตภัณฑ์ยาง 4. สาขาสิ่งทอ 5. สาขายานยนต์ 6. สาขาผลิตภัณฑ์ไม้ 7. สาขาอิเล็กทรอนิกส์ 8. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ 9. สาขาสุขภาพ 10. สาขาท่องเที่ยว 11. สาขาการบิน อย่างไรก็ตาม ภายหลังได้เพิ่มสาขาที่ 12 ได้แก่ สาขาโลจิสติกส์ เพื่อทาให้การขนส่ง วัตถุดิบต่าง ๆ ทาได้สะดวกมากขึ้น เมื่อแบ่งทั้ง 12 สาขา ตามประเทศที่รับผิดชอบ สามารถแบ่งได้ ดังนี้
  • 9. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 9 1. พม่า สาขาผลิตภัณฑ์เกษตร และสาขาประมง 2. มาเลเซีย สาขาผลิตภัณฑ์ยาง และสาขาสิ่งทอ 3. อินโดนีเซีย สาขายานยนต์ และสาขาผลิตภัณฑ์ไม้ 4. ฟิลิปปินส์ สาขาอิเล็กทรอนิกส์ 5. สิงคโปร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ และสาขาสุขภาพ 6. ไทย สาขาการท่องเที่ยวและสาขาการบิน 7. เวียดนาม สาขาโลจิสติกส์ ตอนที่ 3 ประโยชน์จากการเป็นสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ประโยชน์ที่ประเทศไทยจะได้รับจากการเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC ดังนี้ 1. ขยายการส่งออกและโอกาสทางการค้า จาการยกเลิกอุปสรรคภาษีและที่มิใช่ ภาษีจะเปิดโอกาสให้สินค้า เคลื่อนย้ายเสรี 2. คาดว่า การส่งออกไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัวได้ไม่ต่ากว่า 18 - 20% ต่อปี 3. เปิดโอกาสการค้าบริการ ในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง เช่น ท่องเที่ยว โรงแรมและร้านอาหาร สุขภาพ ทาให้ไทยมีรายได้จากการค้าบริการไปต่างประเทศเพิ่มขึ้น 4. สร้างเสริมโอกาสการลงทุน เมื่อมีการเคลื่อนย้ายเงินทุนได้เสรียิ่งขึ้น อุปสรรค การลงทุนระหว่างอาเซียน จะลดลง อาเซียนจะเป็นเขตการลงทุนที่น่าสนใจทัดเทียมจีน และอินเดีย
  • 10. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 10 5. เพิ่มพูนขีดความสามารถของผู้ประกอบการไทย เมื่อมีการใช้ทรัพยากรการ ผลิตร่วมกัน/เป็นพันธมิตรทางธุรกิจร่วมกับอาเซียน อื่น ทาให้เกิดความได้เปรียบเชิง แข่งขัน (Comparative Advantage) และลดต้นทุนการผลิต 6. เพิ่มอานาจการต่อรองของไทยในเวทีการค้าโลก สร้างความเชื่อมั่นให้ ประชาคมโลก 7. ยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศ ผลการศึกษา แสดงว่า AEC จะทาให้รายได้ที่แท้จริงของอาเซียนเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.3 หรือคิดเป็นมูลค่า 69 พันล้าน เหรียญสหรัฐฯ ตอนที่ 4 การเตรียมตัวของไทยสู่การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน แนวทางที่ประเทศไทยควรเตรียมพร้อมเพื่อรองรับผลกระทบที่อาจเกิดขึ้น หากมีการรวมตัวเป็น ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน หรือ AEC คือ ภาครัฐเองไม่ได้นิ่งนอนใจ ต่อผลกระทบที่จะเกิดขึ้น โดยเฉพาะกิจการ/อุตสาหกรรมที่ไม่มีความพร้อมในการแข่งขัน โดยแผนงานรองรับผลกระทบที่ได้มีการดาเนินงานมาแล้วได้แก่
  • 11. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 11 1. การจัดตั้งกองทุนเพื่อการปรับตัวของภาคการผลิตและบริการที่ได้รับ ผลกระทบจากการเปิดเสรี ทางการค้า (ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2550) เพื่อให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ผลิตและผู้ประกอบการสินค้าเกษตรแปรรูปสินค้า อุตสาหกรรม และบริการ ที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีการค้าให้สามารถปรับตัว หรือปรับเปลี่ยนให้ สามารถแข่งขันได้ 2. มาตรการป้องกันผลกระทบก่อนหน้านี้กระทรวงพาณิชย์ได้เสนอจัดทา กฎหมายซึ่งได้ผ่านสภานิติบัญญัติออกมาเป็น พรบ. มาตรการปกป้องการนาเข้าที่เพิ่มขึ้น (Safeguard Measure) ซึ่งหากการดาเนินการตาม AEC Blueprint ก่อให้เกิด ผลกระทบก็สามารถนากฎหมายนี้มาใช้ได้ 3. การจัดตั้งคณะอนุกรรมการดาเนินการตามแผนงานไปสู่การเป็นประชาคม เศรษฐกิจอาเซียน (ตาม คาสั่ง กนศ. ที่ 1/2550 ลงวันที่ 14 มิถุนายน 2550) เพื่อขับเคลื่อนการดาเนินงานตามแผนงานและเตรียมการรองรับผลกระทบที่จะเกิด ขึ้นในการดาเนินงานไปสู่การเป็น AEC โดยมีปลัดกระทรวงพาณิชย์เป็นประธานผลกระทบ ของประเทศไทยจากการเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือ AEC คือ 1. การเปิดตลาดเสรีการค้าและบริการย่อมจะส่งผลกระทบต่ออุตสาหกรรม และผู้ประกอบการในประเทศที่มีขีดความสามารถในการแข่งขันต่า 2. อุตสาหกรรมและผู้ประกอบการในประเทศต้องเร่งปรับตัว
  • 12. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 12 ตอนที่ 5 บทบาทไทยในประชาคมอาเซียน ประเทศไทยมีบทบาทเข้มแข็งเสมอมาในการผลักดันให้สมาคมอาเซียนปรับเปลี่ยน โครงสร้างและการดาเนินการให้สอดคล้องกับเงื่อนไขและสภาพการณ์ของความเป็นจริง และข้อเท็จจริงด้านเศรษฐกิจการเมืองที่ปรากฏทั้งระดับภูมิภาคและระดับโลก ทั้งนี้ โดยมีเป้าประสงค์เพื่อความเจริญก้าวหน้า ความมั่นคง และความวัฒนาถาวรของประชาคม อาเซียนเป็นสาคัญบทบาทของประเทศไทยในด้านต่างๆ มีดังนี้ 1. ด้านการเมืองและความมั่นคงอาเซียนมีความร่วมมือเพื่อธารงรักษาสันติภาพ และความมั่นคงของภูมิภาค เช่น การจัดทาปฏิญญากาหนดให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้เป็นเขตแห่งสันติภาพ เสรีภาพ และความเป็นกลางหรือ Zone of Peace, Freedom and Neutrality (ZOPFAN) ในปี 2514 การจัดทาสนธิสัญญาไมตรีและ ความร่วมมือในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ หรือ Treaty of Amity and Cooperation (TAC) ในปี 2519 สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ในภูมิภาคเอเชีย ตะวันออกเฉียงใต้ (SEANWFZ) และการริเริ่มการประชุมอาเซียนว่าด้วยความร่วมมือด้าน การเมืองและความมั่นคงในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก หรือ ASEAN Regional Forum (ARF) เพื่อเสริมสร้างความไว้วางใจกันระหว่างประเทศในเอเชียแปซิฟิกซึ่งไทยได้เป็นเจ้าภาพ จัดการประชุมครั้งแรกในปี2537 ไทยได้เสนอแนวคิดเรื่อง ASEAN Troika หรือ กลุ่มผู้ ประสานงานของอาเซียน เป็นข้อเสนอของไทยในการประชุมสุดยอดอย่างไม่เป็นทางการ ณ กรุงมะนิลา เมื่อ วันที่ 28 พฤศจิกายน 2542 ซึ่งได้รับความเห็นชอบจาก ผู้นาประเทศ สมาชิกอาเซียน เป็นกลไกเฉพาะกิจในระดับรัฐมนตรี มีวัตถุประสงค์เพื่อให้อาเซียน สามารถแก้ไขและร่วมมือกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ ทันท่วงที และใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น ในเรื่องที่ส่งผลกระทบต่อสันติภาพ และในเรื่องที่อาเซียนมีความห่วงกังวลร่วมกันว่า มีแนวโน้มที่จะส่งผลกระทบต่อสันติภาพและเสถียรภาพของภูมิภาค 2. ด้านเศรษฐกิจ อดีตนายกรัฐมนตรีของไทย นายอานันท์ ปันยารชุน ได้เสนอให้ จัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน หรือ ASEAN Free Trade Area (AFTA) ในปี 2535
  • 13. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 13 เพื่อลดภาษีศุลกากรระหว่างกัน อันจะช่วยส่งเสริมการค้าภายในอาเซียนให้มีปริมาณ เพิ่มขึ้น ลดต้นทุนการผลิตสินค้าและดึงดูดการลงทุนจากต่างประเทศ ต่อมา อาเซียนได้ ขยายความร่วมมือด้านเศรษฐกิจเพิ่มเติมเพื่อให้การรวมตัวทางเศรษฐกิจสมบูรณ์แบบ และมีทิศทางชัดเจน โดยจัดตั้งเขตลงทุนอาเซียน หรือ ASEAN Investment Area (AIA) ในปี 2541 เพื่อส่งเสริมการลงทุนทั้งภายในและภายนอกภูมิภาค ส่งเสริมการเปิดการค้า เสรี การท่องเที่ยว การเงิน การเกษตร และสนับสนุนการเชื่อมโยงด้านคมนาคมขนส่ง โดย ไทยได้เสนอให้จัดทาความตกลงว่าด้วยการอานวยความสะดวกในการขนส่งสินค้าผ่านแดน และข้ามแดน นโยบายของไทยต่อความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ คือ ผลักดันให้อาเซียนมุ่ง ปรับโครงสร้างด้านเศรษฐกิจให้มีความโปร่งใส มีประสิทธิภาพ สามารถแข่งขันกับนานา ประเทศ. ด้านสังคมและความร่วมมือเฉพาะด้านเป็นความร่วมมือในด้านอื่นที่มิใช่ด้าน การเมืองและด้านเศรษฐกิจ ซึ่งประกอบด้วยความร่วมมือด้านต่างๆ ได้แก่ แรงงาน วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาธารณสุข วัฒนธรรมและสารสนเทศ การศึกษา การขจัด ความยากจน การพัฒนาสตรี เด็กและเยาวชน การพัฒนาชนบท การพัฒนาและส่งเสริม สวัสดิการสังคม การจัดการด้านสิ่งแวดล้อม และการจัดการด้านภัยพิบัติ เป็นต้น 3. อาเซียน หรือ ASEAN University Network (AUN) เพื่อเป็นแกนหลัก ในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของภูมิภาค ได้เสนอให้ตั้ง "มูลนิธิอาเซียน" หรือ ASEAN Foundation เพื่อส่งเสริมการแลกเปลี่ยนนักศึกษาและนักวิชาการ ตลอดจน การมีส่วน ร่วมของประชาชนเพื่อสร้างความตระหนักรู้เกี่ยวกับอาเซียนรวมทั้ง ยังได้สนับสนุนการ จัดทาโครงข่ายรองรับทางสังคม หรือ Social safety nets เพื่อบรรเทาผลกระทบทาง สังคมจากวิกฤตเศรษฐกิจปี พ.ศ. 2544 ไทยผลักดันให้อาเซียนมีมติรับรองการจัดให้มีปี แห่งการปลูกจิตสานึกในการต่อต้านยาเสพติดในอาเซียน ระหว่างปี 2545-2546 และ สนับสนุนให้ที่ประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 7 รับรองปฏิญญาว่าด้วยเชื้อ HIV เนื่องจาก ไทยสูญเสียทรัพยากรจานวนมากในการแก้ไขปัญหายาเสพติดและปัญหาโรคเอดส์ไทย จาเป็นต้องได้รับความร่วมมือระดับภูมิภาค 4. ด้านความร่วมมือกับประเทศภายนอกอาเซียนไทยมีบทบาทสนับสนุนให้อาเซียน มีความร่วมมือกับประเทศภายนอกอาเซียน เพื่อเสริมสร้างการเชื่อมโยงกับภูมิภาคอื่นดัง
  • 14. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 14 ปรากฏในรูปของความร่วมมืออาเซียน+3 (ASEAN plus 3) คือ ความร่วมมือระหว่าง อาเซียนกับญี่ปุ่น จีน และสาธารณรัฐเกาหลี รวมทั้ง ได้ทาการสถาปนาความสัมพันธ์ใน ลักษณะของประเทศคู่เจรจากับอีก 9 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย แคนาดา นิวซีแลนด์ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุ่น จีน สาธารณรัฐเกาหลี อินเดีย และรัสเซีย และมีความร่วมมือกับหนึ่ง กลุ่มประเทศ ได้แก่ สหภาพยุโรป นอกจากนี้ อาเซียนยังมีความร่วมมือกับองค์การระหว่าง ประเทศ คือ โครงการเพื่อการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ (UNDP) มีความสัมพันธ์เฉพาะ ด้าน (sectoral dialogue) กับปากีสถาน และมีสถานะเป็นผู้สังเกตการณ์ขององค์การ สหประชาชาติด้วย ตอนที่ 6 บทบาทของอาเซียนต่อประเทศไทย อาเซียนมีบทบาทสาคัญต่อประเทศไทยทั้งด้านการเมืองการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมสิทธิมนุษยชน และสิ่งแวดล้อม ด้านการเมืองการปกครอง อาเซียนพยายามจะทาให้ภูมิภาคนี้มีความมั่นคงและเสถียรภาพ ปราศจากการ แทรกแซงจากภายนอก เช่น การจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน การประชุมอาเซียนว่าด้วย ความร่วมมือความมั่นคงในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิก สนธิสัญญาเขตปลอดอาวุธนิวเคลียร์ใน ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ขณะเดียวกันอาเซียนก็มีความสาคัญต่อประเทศไทยโดยได้ เสนอแนวคิดเรื่อง กลุ่มผู้ประสานงานอาเซียน (ASEAN Troika) ในช่วงที่ประเทศไทยเป็น ประธานอาเซียนเมื่อ พ.ศ. 2552 ในการประชุมสุดยอดอาเซียนอย่างไม่เป็นทางการ ซึ่งไทย ได้เสนอให้มีการจัดตั้งกลุ่มผู้ประสานงานอาเซียน ประกอบด้วยรัฐมนตรีต่างประเทศของ ประเทศที่เป็นประธานอาเซียน ประเทศที่เป็นประธานอาเซียนก่อนหน้านั้น และประเทศที่ จะเป็นประธานอาเซียนคนต่อไป เพื่อแก้ไขสถานการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้นในภูมิภาค และจะ ไม่ก้าวก่ายกิจการภายในของประเทศสมาชิก
  • 15. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 15 อาเซียนได้เข้ามามีบทบาทในการไกล่เกลี่ยชายแดนไทย-กัมพูชา โดยการพยายาม ลดความขัดแย้งลงและลดการเผชิญหน้ากัน พยายามทาความเข้าใจกันเพื่อให้เกิดการอยู่ ร่วมกันอย่างสงบสุข จะเห็นได้ว่า อาเซียนมีความสาคัญต่อประเทศไทยหลายด้าน กล่าวคือ นอกจากจะ สร้างพันธมิตรและความเป็นปึกแผ่น ตลอดจนเสถียรภาพและสันติภาพในภูมิภาคแล้ว ยัง ช่วยเพิ่มอานาจในการต่อรองในการเจรจาระหว่างประเทศ และร่วมกันในการแก้ไขปัญหา ข้ามชาติ และการพัฒนาขั้นพื้นฐานต่างๆ อย่างเป็นรูปธรรม ด้านเศรษฐกิจ การที่ประเทศไทยได้เข้าร่วมเป็นประเทศสมาชิกของอาเซียน นับว่าเป็นผลดีต่อ นโยบายด้านเศรษฐกิจของประเทศเป็นอย่างมาก เนื่องจากสามารถต่อรองทางการค้ากับ ประเทศสมาชิกได้ ประเทศไทยมีบทบาทที่สาคัญในการผลักดันให้มีความร่วมมือด้าน เศรษฐกิจของอาเซียน โดยมีเป้าหมายที่ชัดเจนซึ่งนาไปสู่การรวมตัวทางเศรษฐกิจของ ประเทศสมาชิก ดังเช่น การประชุมสุดยอดอาเซียนครั้งที่ 19 ณ เมืองโดฮา ประเทศ อินโดนีเซีย นายกรัฐมนตรีของไทยประสบความสาเร็จเป็นอย่างมาก ในการผลักดัน นโยบายของรัฐบาลให้อยู่ในกรอบการเจรจาของผู้นาอาเซียน โดยเฉพาะทางด้านเศรษฐกิจ กล่าวคือ ผลักดันความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการเงิน เพื่อรองรับการลงทุนที่จะเพิ่มขึ้น เมื่อเปิดการค้าเสรีในประชาคมอาเซียน โดยมีการจัดทากลไกอานวยความสะดวกที่จะช่วย ส่งเสริมการลงทุน นอกจากนี้นายกรัฐมนตรียังได้แสดงวิสัยทัศน์สนับสนุนให้อาเซียนมี บทบาทที่เข้มแข็งขึ้นในเวทีโลก เพื่อรับมือผลกระทบต่างๆ จากความท้าทายระดับโลก โดยเฉพาะในเรื่องเศรษฐกิจ อาเซียนควรพึ่งพาการเจริญเติบโตในภูมิภาค ดังนั้นควร ส่งเสริมการรวมตัวทางเศรษฐกิจในอาเซียน และการสร้างความเป็นหุ้นส่วนกับประเทศ ภายนอก อีกทั้งนายกรัฐมนตรีขอให้อาเซียนสนับสนุนการสมัครเป็นสมาชิกคณะมนตรี ความมั่นคงแห่งสหประชาชาติของไทยสาหรับวาระ พ.ศ. 2560-2561 รวมทั้งได้แสดงการ สนับสนุนต่อการเป็นประธานอาเซียนของพม่า พ.ศ. 2560 ด้วย นอกจากนี้ไทยยังได้รับ สิทธิพิเศษในด้านภาษีศุลกากรและด้านการลงทุนร่วมกัน ซึ่งมีอยู่หลายโครงการ เช่น โครงการผลิตปุ๋ย โครงการด้านปศุสัตว์ โครงการด้านการประมง
  • 16. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 16 จากการที่อาเซียนมีบทบาทต่อไทยทาให้ไทยได้รับประโยชน์หลายประการที่สาคัญ ได้แก่ ด้านช่วยเอื้ออานวยต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ได้รับสิทธิพิเศษทางการค้าด้วยการ ได้ลดหย่อนอัตราภาษีศุลกากร หลังจากหลายปีที่ผ่านมาความร่วมมือด้านเศรษฐกิจได้ขยายครอบคลุมในทุกสาขา หลัก เช่น การค้า การบริการ การเกษตร การลงทุน ความลงมือด้านอุตสาหกรรม การเงิน การคลัง การขนส่ง และพลังงาน โดยมีการกาหนดทิศทาง แผนความร่วมมือ รวมทั้ง ระยะเวลาในการบรรลุเป้าหมายภายใต้วิสัยทัศน์อาเซียน ค.ศ.2020 และแผนปฏิบัติการ ฮานอย ซึ่งกาหนดเป้าหมายให้อาเซียนเป็นเขตเศรษฐกิจที่มีการไหลเวียนของสินค้า การ บริการ และการลงทุนอย่างเสรี และได้มีการจัดทาความตกลงหลักเพื่อส่งเสริมการพัฒนา และการรวมตัวทางเศรษฐกิจของอาเซียน เช่น กรอบความตกลงว่าด้วยการค้าบริการของ อาเซียน ข้อตกลงแม่บทว่าด้วยความร่วมมือด้านทรัพย์สินทางปัญญาอาเซียน ความตกลง พื้นฐานว่าด้วยโครงการความร่วมมือทางอุตสาหกรรมของอาเซียนกรอบความตกลงว่าด้วย เขตการลงทุนอาเซียน กรอบความตกลงว่าด้วยการอานวยความสะดวกในการขนส่งผ่าน แดน กรอบความตกลงด้านอิเล็กทรอนิกส์ของอาเซียน ด้านสังคมและวัฒนธรรม อาเซียนมีความร่วมมืออันดีกับประเทศไทยในด้านสังคมและวัฒนธรรม โดยไทยได้มี การแลกเปลี่ยนความคิดทางด้านขนบธรรมเนียมประเพณีและสังคมวัฒนธรรม เพื่อความ เข้าใจอันดีกับประเทศสมาชิก ซึ่งได้ดาเนินการผ่านโครงการต่างๆ เช่น โครงการสตรี อาเซียน โครงการมหกรรมเยาวชนอาเซียน โครงการเรือเยาวชนอาเซียน โครงการดนตรี และศิลปะอาเซียนและการแสดงอาเซียน นอกจากนี้ไทยยังได้มีบทบาทสาคัญในด้านของความร่วมมือด้านสังคม เพื่อความ สันติสุขในภูมิภาค โดยการสนับสนุนให้อาเซียนกระชับความร่วมมือในการแก้ไขปัญหา อาชญากรรมข้ามชาติ เช่น การค้ายาเสพติด การค้ามนุษย์ การก่อการร้าย การค้าอาวุธ อาชญากรรมทางด้านเศรษฐกิจและคอมพิวเตอร์ รวมทั้งให้ความสาคัญกับการพัฒนาด้าน ทรัพยากรมนุษย์ เพื่อเป็นกลไกลดช่องว่างระหว่างประเทศสมาชิกเก่าและใหม่ของอาเซียน ซึ่งมีส่วนช่วยสนับสนุนการรวมตัวของอาเซียน
  • 17. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 17 ประโยชน์ที่ไทยได้รับจากความร่วมมือกับอาเซียน ทาให้ไทยสามารถแก้ไขปัญหาที่มี ผลกระทบต่อสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น เช่น โรคระบาด โรคเอดส์ ยาเสพติด สิ่งแวดล้อม และอาชญากรรมข้ามชาติ อันเป็นผลมาจากการมีความร่วมมือทางด้านสังคม และวัฒนธรรมของอาเซียน ซึ่งหากไม่มีแล้วก็คงเป็นการยากที่ประเทศไทยจะแก้ไขปัญหา เหล่านี้ได้โดยตรง ด้านสิทธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชน หมายถึง สิทธิของความเป็นมนุษย์ เป็นสิทธิขั้นพื้นฐานที่มนุษย์ทุกคน มี เพื่อให้สามารถใช้ชีวิตได้อย่างสมศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ มีสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอ ภาคที่เท่าเทียมกัน หากมีการละเมิดสิทธิดังกล่าวย่อมได้รับความคุ้มครองจากกฎหมาย ภาคประชาสังคมได้มีการรณรงค์กับคณะทางานระดับสูง ว่าด้วยองค์กรสิทธิมนุษย์มี อานาจหน้าที่ตามหลักสากล เพื่อคุ้มครองสิทธิมนุษยชนในภูมิภาคได้ บทบาทตามสิทธิมนุษยชนของอาเซียนต่อประเทศไทย กล่าวคือ ได้มีการร่วมมือกัน ช่วยเหลือผู้ประสบภัยในประเทศเมียนมาร์มาจากพายุไซโคลนนาร์กีส ไทยและอาเซียนได้ ช่วยเหลือและฟื้นฟูบูรณพื้นที่ที่ประสบภัย โดยไทยยินดีให้ความร่วมมือและช่วยเหลือเมียน มาร์ในการสร้างที่พักพิงแก่ผู้ประสบภัย รวมทั้งการสร้างศูนย์อนามัยและศูนย์บริการโลหิต แห่งชาติ ที่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานความช่วยเหลือ แก่ประชาชนเมียนมาร์ผ่านสภากาชาดไทยด้วย และประเทศไทยยังได้มีการสนับสนุนให้มี การจัดตั้งกลไกสิทธิมนุษยชนของอาเซียนในหลักการ เนื่องจากสอดคล้องและส่งเสริมแนว การปฏิรูปทางการเมืองของไทย นอกจากนี้ไทยยังสนับสนุนกลไกเฉพาะด้าน โดยเฉพาะ อย่างยิ่งเรื่องสิทธิสตรี สิทธิเด็ก ซึ่งไทยให้ความสาคัญและเห็นว่าประเทศสมาชิกน่าจะ พร้อมและยอมรับได้ อาเซียนยังมีบทบาทด้านสิทธิมนุษยชนต่อประเทศไทยรวมทั้งประเทศสมาชิกอื่น โดยจัดตั้งคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนอาเซียนขึ้นมาทาหน้าที่ดาเนินการคุ้มครองสิทธิ มนุษยชน เช่น อานาจหน้าที่ของคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนที่สาคัญ มีดังนี้ เผยแพร่ความรู้ความเข้าใจด้านสิทธิมนุษยชน ส่งเสริมความรู้และประสานความร่วมมือด้านสิทธิมนุษยชนกับองค์กรอื่นๆ
  • 18. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 18 ให้การคุ้มครองและดาเนินการตรวจสอบการละเมิดสิทธิมนุษยชน เสนอแนะนโยบาย การปรับปรุงกฎหมาย และมาตรการต่างๆ แก่รัฐสภา รัฐบาล และหน่วยงานของรัฐ เพื่อให้เกิดการเคารพและคุ้มครองสิทธิมนุษยชน จะเห็นได้ว่า ปัญหาที่ทาให้อาเซียนยังไม่ใช่องค์กรของประชาชนอย่างแท้จริง คือ ปัญหาด้านการละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ่งตามกฎบัตรอาเซียนได้กาหนดให้มีการจัดตั้งกลไก สิทธิมนุษยชนของอาเซียนขึ้น กล่าวคือ บทบาทอาเซียนยังคงยึดหลักการไม่ยุ่งเกี่ยวกับ กิจการภายในของประเทศสมาชิก และเป็นกฎเหล็กของอาเซียนต่อไป ทั้งๆ ที่หลายปีที่ ผ่านมาได้มีการถกเถียงกันอย่างมากว่าหลักการดังกล่าวควรจะมีการยืดหยุ่น และอาเซียน ควรจะมีสิทธิ์เข้าไปยุ่งกิจการภายในของสมาชิกได้ หากเรื่องที่ถือว่าเป็นเรื่องภายในส่งผล กระทบต่ออาเซียนโดยรวม เช่น การละเมิดสิทธิมนุษยชนในเมียนมาร์ เป็นต้น ด้านสิ่งแวดล้อม อาเซียนเริ่มมีความร่วมมือด้านสิ่งแวดล้อมมาตั้งแต่ พ.ศ. 2520 ซึ่งอาเซียนได้ร่าง โครงการสิ่งแวดล้อมของอนุภูมิภาคอาเซียน และได้รับความร่วมมือจากโครงการ สิ่งแวดล้อมของสหประชาชาติ ต่อมาคณะกรรมการอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ขณะดูแลงานด้านสิ่งแวดล้อมด้วย ได้เสนอให้มีการประชุมกลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้าน สิ่งแวดล้อมขึ้นที่กรุงจาการ์ตา ในการประชุมครั้งนั้นประเทศไทยได้เข้ามามีบทบาทสาคัญ ในการริเริ่มและผลักดันให้ประเทศสมาชิกอาเซียนร่วมก่อตั้งเครือข่ายปราบปรามการ ลักลอบค้าสัตว์ป่าและพันธุ์พืชที่ผิดกฎหมายในภูมิภาคอาเซียน อาเซียนได้กระตุ้นให้มีการส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานด้านสิ่งแวดล้อม ในระดับภูมิภาค สาหรับประเทศไทยได้มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อมวลชนทุก แขนง การประกวดคาขวัญภาษาไทยเพื่อใช้ในการรณรงค์ ประชาสัมพันธ์ในประเทศไทย การดาเนินงานสอดแทรกในแผนงานประจาหน่วยงาน เช่น กิจกรรมเยาวชน การฝึกอบรม การจัดนิทรรศการ การจัดกิจกรรมให้มีการรณรงค์ในโอกาสต่างๆ เช่น วันสิ่งแวดล้อมโลก วันสิ่งแวดล้อมไทย การจักกิจกรรมการเที่ยวแบบ Eco-tourism ทั้งในประเทศและภูมิภาค อาเซีย
  • 19. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 19 ต่อมาคณะกรรมการอาเซียนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ซึ่งขณะนั้นดูและงาน ด้านสิ่งแวดล้อม ได้เสนอให้มีการประชุมกลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านสิ่งแวดล้อม จนเมื่อ พ.ศ. 2542 ไทยได้รับหน้าที่เป็นประธานอาเซียนได้พยายามปรับโครงสร้างขององค์กร เพื่อให้ สอดคล้องและสามารถติดตามสถานการณ์สิ่งแวดล้อมในปัจจุบันที่เปลี่ยนแปลงไปอย่าง รวดเร็วได้อย่างมีประสิทธิภา ตอนที่ 7 ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน อาเซียนมีเป้าหมายหลักที่จะได้รับประโยชน์จากการรวมตัวกันเป็นประชาคมสังคม และวัฒนธรรมอาเซียน โดยมุ่งหวังให้เป็นประชาคมสังคมที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง มี สังคมที่เอื้ออาทรและแบ่งปัน มีความรู้สึกเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ประชาชนกินดี อยู่ดี ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บมีสิ่งแวดล้อมที่ดี มีการพัฒนาในทุกด้าน เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ของประชาชน ส่งเสริมการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมอัตลักษณ์ อาเซียน (ASEAN Identity) อาเซียนได้จัดทาแผนงานการจัดตั้งประชาคมสังคมและ วัฒนธรรมอาเซียน (ASEAN Social cultural community Blueprint) เพื่อรองรับสู่การ เป็นประชาคมสังคมและวัฒนะธรรมอาเซียน โดยกาหนดให้มีการร่วมมือกันใน 6 ด้าน ได้แก่ 1. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Development) โดยเน้นด้านการศึกษา และการสร้างสังคมความรู้ 2. การคุ้มครองและสวัสดิการสังคม (Social Welfare and Protection) โดยจะ ส่งเสริมด้านความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดีของประชาชน ด้วยการลดความยากจนและ ส่งเสริมการคุ้มครองและสวัสดิการสังคม 3. สิทธิและความยุติธรรมทางสังคม (Social Justice and Right) โดยเน้นการ ปกป้องสิทธิและผลประโยชน์ของประชาชน รวมทั้งส่งเสริมโอกาสและยกระดับคุณภาพ ชีวิตของประชาชน
  • 20. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 20 4. ความยั่งยืนทางด้านสิ่งแวดล้อม (Environmental Sustainability) โดยอาเซียน จะส่งเสริมสิ่งแวดล้อมสีเขียวและสะอาด โดยการปกป้องและอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ต่างๆ 5. การสร้างอัตลักษณ์อาเซียน (Building an ASEAN Identity) โดยจะเน้นการ สร้างความรู้สึกถึงการอยู่ร่วมกัน และเสริมสร้างความเป็นเอกภาพในความแตกต่างๆ ส่งเสริมความเข้าใจอันดีระหว่างประเทศสมาชิกเกี่ยวกับวัฒนธรรม เพื่อให้ประชาชนเข้าใจ เกี่ยวกับเอกลักษณ์ของภูมิภาค 6. การลดช่องว่างทางการพัฒนา (Narrowing the Development Gap) เน้นการ พัฒนาประเทศสมาชิกให้มีการพัฒนาที่เสมอภาคกันมากยิ่งขึ้น ตอนที่ 8 บทบาทอาเซียนในเวทีโลก ความสาคัญของอาเซียนในเวทีโลก อาเซียนเป็นกลุ่มประเทศที่มีความสาคัญจากการที่ประชากรรวมกันแล้ว เกือบ 600 ล้านคน ซึ่งเป็นทั้งตลาดที่มีกาลังสูงมีแนวโน้มขยายตัวได้มากและเป็นตลาด แรงงานราคาถูกซึ่งนักลงทุนต่างชาติโดยเฉพาะญี่ปุ่นและสหรัฐอเมริกาเข้ามาลงทุนนาน แล้ว ดังนั้นกล่าวโดยสรุปอาเซียนมีความสาคัญในเวทีโลก ดังนี้ 1. ความสาคัญทางด้านเศรษฐกิจ อาเซียนเป็นแหล่งเกษตรกรรมที่สาคัญ ของโลก โดยมีการผลิตอาหารและสินค้าเกษตรจานวนมาก เช่น ข้าวหอมมะลิ น้ามันปาล์ม มะพร้าว เป็นต้น และยังเป็นแหล่งทรัพยากรที่สาคัญ โดยเฉพาะทรัพยากรเชื้อเพลิงซึ่งมี มากในประเทศบรูไนและมาเลเซีย ส่งผลให้ประเทศมีฐานะทางเศรษฐกิจดี และไม่ได้รับ ผลกระทบจากการขึ้นราคาน้ามันของโลกมากนัก ในพม่ามีแหล่งน้ามันและแก็สธรรมชาติ จานวนมาก ซึ่งหลายประเทศ เช่น จีน อังกฤษ ไทย รวมถึงสหรัฐอเมริกา ได้เข้าไปลงทุน โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกานั้นพยายามลงทุนในพม่าเพิ่มมากขึ้น แม้ในอดีตสหรัฐอเมริกา
  • 21. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 21 และอังกฤษได้คว่าบาตรทหารพม่า แต่เพราะผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจมหาศาล ทาให้ สหรัฐอเมริกาไม่ใช้ข้ออ้างด้านการเมืองในการคว่าบาตรพม่าอีก พม่าจึงเป็นประเทศใน อาเซียนที่กาลังได้รับความสนใจจากภายนอก และเปิดรับการลงทุนจากภายนอก นอกจากนี้อาเซียนยังมีประเทศสิงคโปร์ที่มีเศรษฐกิจที่มั่นคงและเป็นศูนย์กลาง ทางการเงินการลงทุนของภูมิภาค มีประเทศที่มีแรงงานมีคุณภาพ ค่าแรงไม่สูง เช่น ไทย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ มีประเทศอินโดนีเซียเป็นประเทศมุสลิมที่ใหญ่ที่สุดของโลก และมีความใกล้ชิดกับประทศมุสลิมอื่นๆ ในโลกซึ่งเป็นผลดีต่อการขยายตลาดของ อาเซียนในประเทศมุสลิมทั่วโลก 2. ความสาคัญทางการเมือง อาเซียนมีบทบาทด้านการเมืองในระดับโลกใน การสนับสนุนการดาเนินงานเพื่อสร้างสันติภาพของสหภาพของสหประชาชาติ เช่น การเข้าร่วมกับกองกาลังสหประชาชาติในปฏิบัติการต่างๆ การให้ความร่วมมือช่วยเหลือ ผู้อพยพจากการขัดแย้งทางการเมือง เช่น ในสงครามเวียดนาม ในสงครามการเมืองกัมพูชา ผู้อพยพที่เป็นชนกลุ่มน้อยในพม่า เป็นต้น ตอนที่ 9 บทบาทของอาเซียนในเวทีเศรษฐกิจโลก ในปัจจุบันอาเซียนเป็นกลุ่มประเทศที่มีความโดดเด่นทางด้านการเจริญเติบโตทาง เศรษฐกิจ ทั้งการเป็นตลาดขนานใหญ่ที่เป็นทั้งแหล่งผลิตสินค้าของนักลงทุนภายในและ ภายนอกภูมิภาค และเป็นตลาดที่มีกาลังซื้อสูงเหตุการณ์ที่สะท้อนความสาคัญของ เศรษฐกิจอาเซียนต่อเศรษฐกิจโลก คือ เหตุการณ์อุทกภัยครั้งใหญ่ในปลาย พ.ศ. 2554
  • 22. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 22 ในภาคกลางของประเทศไทย ทาให้น้าท่วมนิคมอุตสาหกรรมหลายแห่งในจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ซึ่งมีโรงงานนักลงทุนต่างชาติจานวนมาก ทาให้การผลิตสินค้า หยุดชะงัก กระทบถึงสินค้าในตลาดโลก เช่น โรงงานผลิตรถยนต์ในไทยถูกน้าท่วมส่งผลให้ ไม่มีรถยนต์เพียงพอต่อยอดสั่งจองทั้งในยุโรปและสหรัฐอเมริกา โรงงานผลิตชิ้นส่วน คอมพิวเตอร์และชิ้นส่วนเครื่องใช้ไฟฟ้าถูกน้าท่วม ทาให้ไม่มีชิ้นส่วนส่งโรงงานในประเทศ ฟิลิปปินส์จนทาให้โรงงานฟิลิปปินส์ต้องปิดชั่วคราว คนงานชาวฟิลิปปินส์ในโรงงานหลาย แห่งไม่มีงานทา และไม่มีสินค้าส่งขายไปยังประเทศอื่นๆ ส่งผลให้สินค้าขาดตลาด ในปัจจุบันอาเซียนมีบทบาทสาคัญในเวทีโลกโดยได้ดาเนินการเสริมสร้างความ ร่วมมือกับประเทศสมาชิก และกลุ่มประเทศนอกประเทศอาเซียน ดังนี้ 1. การสร้างความร่วมมือในประเทศสมาชิกอาเซียน บทบาทของอาเซียนที่โดดเด่นในเวทีการค้าโลก คือ การเสริมสร้างความร่วมมือทาง เศรษฐกิจในหมู่ประเทศสมาชิกอย่างต่อเนื่อง โดยมีเป้าหมายหลัก คือ เพื่อให้เกิดการรวม เป็นตลาดเดียวกัน โดยการเริ่มก่อตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียนหรืออาฟตา เมื่อ พ.ศ. 2535 ซึง มีส่วนช่วยพัฒนาเศรษฐกิจและอานาจต่อรองของอาเซียน แต่อาเซียนมีเป้าหมายสูงสุด คือ การเป็นประชาคมเศรษฐกิจ ทางการเงิน และการคลัง ซึ่งจะนาไปสู่การเปิดเสรีทาง เศรษฐกิจ เพื่อรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจภายในอาเซียน และสร้างความเข้มแข็งแก่อาเซียนใน เวทีเศรษฐกิจโลก นอกจาการตั้งอาฟตาแล้ว อาเซียนได้ร่วมมือพัฒนาเศรษฐกิจของ ประเทศกลุ่มน้าโขง คือ จีน พม่า เวียดนาม ลาว กัมพูชา และไทย โดยรณรงค์ระหว่าง พ.ศ. 2543-2553 เป็นทศวรรษแห่งความร่วมมือเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจในประเทศลุ่มน้าโขง เพื่อยกระดับชีวิตความเป็นอยู่ของประชาชน และเพื่อสนับสนุนการรวมตัวทางเศรษฐกิจ ของประเทศเหล่านี้ ให้สอดคล้องกับตลาดอาเซียน อย่างไรก็ตาม ปัญหาที่เกิดขึ้นจากการขยายตัวทางการค้าในกลุ่มแม่น้าโขง คือ ปัญหาลักลอบค้ายาเสพติด สินค้าหนีภาษี และปัญหาอาชญากรรมจากความขัดแย้งของผู้มี อิทธิพล หรือพ่อค้าสิ่งเสพติด ซึ่งในระยะแรกที่การค้าขยายตัว ทางการจีนและอาเซียนยัง ไม่ค่อยให้ความสาคัญต่อการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมเหล่านี้ แต่ปัจจุบัน ประเทศลุ่มแม่น้าโขงได้เพิ่มมาตรการการรักษาความปลอดภัยในเส้นทางเดินเรือ
  • 23. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 23 การปราบปรามสิ่งเสพติดและสินค้าเถื่อนเพื่อทาให้การค้าในเส้นทางนั้นปลอดภัยและถูก กฎหมาย การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะเพิ่มบทบาทด้านเศรษฐกิจของอาเซียนในเวที เศรษฐกิจโลก เพราะจะช่วยเพิ่มความสามารถในการแข่งขันและต่อรองในเวทีการค้าโลก ขยายเศรษฐกิจของอาเซียน เพราะอาเซียนมีตลาดขนาดใหญ่ มีกาลังซื้อสูง ซึ่งทาให้ เศรษฐกิจและนักลงทุนจากภายนอกภูมิภาคสนใจเข้ามาทาการค้าลงทุนกับอาเซียนมากขึ้น 2. การสร้างความร่วมมือกับประเทศหรือกลุ่มประเทศนอกอาเซียน อาเซียนมีการร่วมมือทางเศรษฐกิจกับภายนอกกลุ่มมาอย่างต่อเนื่อง เพื่อขยายการ เชื่อมโยงกับประเทศหรือกลุ่มประเทศนอกอาเซียน เช่น ความร่วมมืออาเซียน+3 (ASEAN plus three) คือ ความร่วมมือระหว่างประเทศ สมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ ร่วมกับ จีน ญี่ปุ่น และเกาหลีใต้ ความร่วมมืออาเซียน+6 (เพิ่มอีก 3 ประเทศ ได้แก่ ออสเตรเลีย นิวซีแลนด์ และ อินเดีย) ซึ่งจะส่งผลให้มีขนาดผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (GDP) ใหญ่เป็น 1 ใน 4 ของ โลก มีจานวนประชากรมากเป็นครึ่งหนึ่งของโลก ความสัมพันธ์ในลักษณะของประเทศคู่เจรจากับอีก 9 ประเทศ คือ จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ใต้ สหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย อินเดีย และรัสเซีย และมีความสาคัญร่วมมือกับ กลุ่มประเทศสหภาพยุโรป การร่วมมือทางการค้ากับประเทศนอกกลุ่มอาเซียน จะทาให้ เศรษฐกิจของอาเซียนมีความแข็งแกร่ง เมื่อเปรียบเทียบกับเศรษฐกิจโลก ดังนี้ กลุ่ม รายละเอียด อาเซียน สมาชิก 10 ประเทศ ประชากร 583 ล้านคน (9 % ของประชากรโลก) GDP 1,275 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (2 % ของ GDP โลก) ASEAN+3 ประชากร 2,068 ล้านคน (31 % ของประชากรโลก) GDP 9,901 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ ( 18 % ของ GDP โลก) ASEAN+6 ประชากร 3,284 ล้านคน (50 % ของประชากรโลก) GDP 12,250
  • 24. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 24 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ (22 % ของ GDP โลก) ตอนที่ 10 อาชีพเสรีในอาเซียน จากผลจากการประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 9 ณ เกาะบาหลี ประเทศอินโดนีเซีย ที่เพิ่งผ่านไปหมาด ๆ นั้น ได้มีการทาข้อตกลงยอมรับร่วมกัน เกี่ยวกับการเคลื่อนย้าย การบริการ สินค้า แรงงาน การลงทุนอย่างเสรี โดยกาหนดให้ผู้มีคุณสมบัติในสาขาวิชาชีพ หรือแรงงานที่มีความเชี่ยวชาญในวิชาชีพ 7 สาขาสามารถเคลื่อนย้ายไปทางานที่ประเทศ อื่น ๆ ในอาเซียนได้อย่างเสรีและถูกกฎหมาย เพื่อเป็นการเพิ่มอัตราการแข่งขันทาง เศรษฐกิจในภูมิภาคโลก ส่งเสริมอาเซียนให้เป็นตลาดเดียวและมีฐานการผลิตร่วมกัน โดย จะเริ่มในปี พ.ศ.2558 (ค.ศ.2015) ในเบื้องต้นนี้ประเทศสมาชิกอาเซียนได้จัดทาข้อตกลง ยอมรับร่วมกัน ใน 7 สาขาวิชาชีพแรก ดังนี้ 1. งานวิศวกรรม 2. งานพยาบาล 3. งานสถาปัตยกรรม 4. งานการสารวจ 5. งานแพทย์ 6. งานทันตแพทย์ 7. งานบัญชี การสามารถเคลื่อนย้ายแรงงานที่มีทักษะได้อย่างเสรีในภูมิภาคอาเซียนเหล่านี้ จะ ทาให้ตลาดแรงงานใหญ่ขึ้น และมีการแข่งขันสูงขึ้นในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซียน ดังนั้น หากไทยเรามุ่งหวังจะแข่งขันในระดับสากล เราต้องมีการพัฒนาในด้านหลักสูตรวิชาชีพให้ เข้มข้นขึ้น รวมทั้งส่งเสริมการพัฒนาทักษะภาษาต่างประเทศที่จาเป็นควบคู่กันไป อาทิ ภาษาอังกฤษและภาษาจีน นอกจากนี้ยังต้องเปิดหูเปิดตาทาความรู้จักกับอาเซียนมากขึ้น เพื่อให้รู้ทันและสามารถสู้กับประเทศอื่น ๆ ได้อย่างสมศักดิ์ศรี
  • 25. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 25 แบบฝึกหัดที่ 1 เรื่อง กรอบความร่วมมือในอาเซียน รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชื่อ-สกุล .....................................................................................เลขที่.................... คาแนะนา เมื่อนักเรียนศึกษาเรื่อง กรอบความร่วมมือในอาเซียนแล้ว จงตอบคาถาม ต่อไปนี้ 1. จงบอกรายการสินค้าใน Priority Sectors ที่จะลดภาษีเป็น 0% เร็วขึ้น จากกรอบ AFTA ตอบ ....................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 2. การจัดตั้งเครือข่าย ASEAN free trade zones มีลักษณะอย่างไร ตอบ ....................................................................................................................... ...........................................................................................................................................
  • 26. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 26 ........................................................................................................................................... 3. จงอธิบายถึงการอานวยความสะดวกด้านการขนส่งและ logistics service ในอาเซียน ตอบ ....................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 4. การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 ที่เวียงจันทน์ ระหว่างวันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2547 มีข้อสรุปสาคัญอย่างไร ตอบ ....................................................................................................................... ........................................................................................................................................... ........................................................................................................................................... 5. การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 ที่เวียงจันทน์ ระหว่างวันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2547 มีข้อสรุปสาคัญอย่างไร ตอบ ....................................................................................................................... ........................................................................................................................................... แนวคาตอบแบบฝึกหัดที่ 1 เรื่อง ประวัติการก่อตั้งอาเซียน รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม แนวทางการตอบคาถาม 1. จงบอกรายการสินค้าใน Priority Sectors ที่จะลดภาษีเป็น 0% เร็วขึ้น จากกรอบ AFTA
  • 27. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 27 ตอบ เกษตร/ประมง/ผลิตภัณฑ์ไม้/ผลิตภัณฑ์ยาง/สิ่งทอ/ยานยนต์/อิเล็กทรอนิกส์/ เทคโนโลยีสารสนเทศ/สาขาสุขภาพ 2. การจัดตั้งเครือข่าย ASEAN free trade zones มีลักษณะอย่างไร ตอบ เพื่อส่งเสริมการซื้อวัตถุดิบและชิ้นส่วนที่ผลิตในอาเซียน (outsourcing) และดาเนิน มาตรการร่วมเพื่อดึงดูด 3. จงอธิบายถึงการอานวยความสะดวกด้านการขนส่งและ logistics service ในอาเซียน ตอบ สาหรับการขนส่ง การอานวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยวในอาเซียน และ การ เคลื่อนย้ายของนักธุรกิจ ผู้เชี่ยวชาญ ผู้ประกอบวิชาชีพ และ แรงงานมีฝีมือ 4. แผนการรวมกลุ่ม (Road map) มีข้อสรุปสาคัญอย่างไร ตอบ การส่งเสริมการค้าและการลงทุน และความร่วมมือในด้านอื่น ๆ เช่น ทรัพย์สินทาง ปัญญา ความร่วมมือด้านอุตสาหกรรม และการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ พิธีสารว่าด้วยการ รวมกลุ่มรายสาขาของอาเซียน 11 สาขากาหนดมาตรการร่วม ซึ่งคาบเกี่ยวกับทุกสาขา 5. การประชุมสุดยอดอาเซียน ครั้งที่ 10 ที่เวียงจันทน์ ระหว่างวันที่ 29-30 พฤศจิกายน 2547 มีข้อสรุปสาคัญอย่างไร ตอบ ทุกประเทศย้าความสาคัญของการดาเนินการต่างๆ เพื่อนาไปสู่การเป็นประชาคม อาเซียนภายในปี 2563 (ค.ศ. 2020) ซึ่ง ฯพณฯ นายกรัฐมนตรี ได้ชี้ให้เห็นถึงความจาเป็น ที่จะต้องเร่งรัดการรวมตัวของอาเซียนให้เร็ว ขึ้น โดยอาจให้สาเร็จภายในปี 2555 (ค.ศ. 2012) แบบฝึกหัดที่ 2 เรื่อง การรวมกลุ่มสินค้าและบริการนาร่อง รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
  • 28. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 28 ชื่อ-สกุล .....................................................................................เลขที่.................... คาแนะนา ให้นักเรียนพิจารณาว่าข้อใดคือสินค้าและบริการ 11 สาขานาร่องแล้วทา เครื่องหมายถูกหรือผิดหน้าข้อ ( ) 1. สาขาสิ่งทอ ( ) 2. สาขาประมง ( ) 3. สาขาโลจิสติกส์ ( ) 4. สาขายานยนต์ ( ) 5. สาขาโลหะหนัก ( ) 6. สาขาการก่อสร้าง ( ) 7. สาขาสุขภาพ ( ) 8. สาขาท่องเที่ยว ( ) 9. สาขาการบิน ( ) 10. สาขาผลิตภัณฑ์ไม้ ( ) 11. สาขาอิเล็กทรอนิกส์ ( ) 12. สาขาผลิตภัณฑ์ยาง ( ) 13. สาขาเครื่องใช้ในครัวเรือน ( ) 14. สาขาผลิตภัณฑ์เกษตร ( ) 15. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 29. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 29 แนวคาตอบแบบฝึกหัดที่ 2 เรื่อง ประวัติการก่อตั้งอาเซียน รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม แนวทางการตอบคาถาม ( ) 1. สาขาสิ่งทอ ( ) 2. สาขาประมง (√ ) 3. สาขาโลจิสติกส์ ( ) 4. สาขายานยนต์ (√ ) 5. สาขาโลหะหนัก (√ ) 6. สาขาการก่อสร้าง ( ) 7. สาขาสุขภาพ ( ) 8. สาขาท่องเที่ยว ( ) 9. สาขาการบิน ( ) 10. สาขาผลิตภัณฑ์ไม้ ( ) 11. สาขาอิเล็กทรอนิกส์ ( ) 12. สาขาผลิตภัณฑ์ยาง (√ ) 13. สาขาเครื่องใช้ในครัวเรือน ( ) 14. สาขาผลิตภัณฑ์เกษตร ( ) 15. สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • 30. วิชาอาเซียนศึกษา รหัสวิชา ส23202 30 แบบฝึกหัดที่ 3 เรื่อง ประโยชน์จากการเป็นสมาชิกประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน รายวิชา อาเซียนศึกษา (วิชาเพิ่มเติม) รหัสวิชา ส23202 กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ชื่อ-สกุล .....................................................................................เลขที่.................... คาแนะนา จากการศึกษาประโยชน์ที่ประเทศสมาชิกจะได้รับจากการเป็นสมาชิก ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนหรือ AEC ทั้ง 7 ประการ นั้น นักเรียนคิดว่าข้อใด เป็นผลประโยชน์ที่ประเทศไทยจะได้รับมากที่สุด ( ) 1. ขยายการส่งออกและโอกาสทางการค้า จาการยกเลิกอุปสรรคภาษีและที่มิใช่ ภาษีจะเปิดโอกาสให้สินค้าเคลื่อนย้ายเสรี ( ) 2. การส่งออกไทยไปอาเซียนจะสามารถขยายตัวได้ไม่ต่ากว่า18-20% ต่อปี ( ) 3. เปิดโอกาสการค้าบริการ ในสาขาที่ไทยมีความเข้มแข็ง ( ) 4. สร้างเสริมโอกาสการลงทุน ( ) 5. เพิ่มพูนขีดความสามารถของผู้ประกอบการ ( ) 6. เพิ่มอานาจการต่อรองของไทยในเวทีการค้าโลก ( ) 7. ยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชนในประเทศ จงให้เหตุผลประกอบ ...............................................................................................................................................