Successfully reported this slideshow.
Your SlideShare is downloading. ×

Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554

Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
1

                         ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับการคุ้มครองแรงงานในอนาคต
                                            ...
2

จะไม่ถึงกับต้องมีเงินสกุลเดียวกันใช้ใน 10 ประเทศสมาชิก แต่กเ็ ป็ นย่างก้าวสําคัญยิงที่จะช่วยเพิ่มศักยะภาพในการ
        ...
3

             ทั้งนี้ ไทยได้รับเป็ นประเทศผูประสานงานหลักในสาขาการท่องเที่ยวและการบิน ซึ่ งสอดคล้องกับ
                 ...
Advertisement

Check these out next

1 of 6 Ad

More Related Content

Slideshows for you (18)

Advertisement

Similar to Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554 (20)

Advertisement

Afta and labour article 14 tisa pro talk 4-2554

  1. 1. 1 ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนกับการคุ้มครองแรงงานในอนาคต บัญญัติ ศิริปรี ชา กลุ่มงานมาตรฐานแรงงานระหว่างประเทศ ความเป็ นมา อาเซียน (ASEAN) หรื อ สมาคมประชาชาติเอเซียตะวันออกเฉี ยงใต้ (The Association for Southeast Asian Nations) ก่อตั้งเมื่อปี พ.ศ. 2510 (ค.ศ. 1967) หรื อเพิ่งจะครบรอบ 43 ปี เมื่อวันที่ 8 สิ งหาคม 2553 ที่ผานมานี่เอง โดยมีประเทศสมาชิกผูร่วมก่อตั้งครั้งนั้นเพียง 5 ประเทศ คือ ไทย มาเลเซี ย สิ งคโปร์ ่ ้ อินโดนีเซีย และฟิ ลิปปิ นส์ ส่วนอีก 5 ประเทศเข้ามาสมทบในภายหลัง คือ บรู ไน (2527) เวียดนาม (2538) ลาว (2540) พม่า (2540) และกัมพูชา (2542) หากจะเปรี ยบกับวัยของคนเราก็ถือว่าอาเซี ยนเข้าสู่วยกลางคน ั ํ เต็มตัว วัยที่กาลังสร้างฐานะความมันคง เป็ นวัยแห่งความแข็งแกร่ งและมีศกยะภาพ แต่จะเป็ นเช่นนั้นได้หรื อไม่ ่ ั เพราะมีปัจจัยแวดล้อมมากมายที่ตองบริ หารจัดการให้เป็ นหนึ่งเดียวให้ได้ ให้สมกับวิสยทัศน์ “One Vision, One ้ ั Identity, One Community” ภายใต้การบริ หารองค์กรโดยคนไทย ดร.สุ รินทร์ พิศสุวรรณ เลขาธิ การอาเซี ยน จุดประสงค์ จุดประสงค์เริ่ มแรกของการรวมตัวก่อตั้งสมาคมอาเซียนนั้น เป็ นเหตุผลทางการเมืองระหว่าง ประเทศในยุคที่ลทธิ คอมมิวนิสต์ภายใต้การนําของจีนและรัสเซี ย กําลังพยายามขยายอิทธิพลเข้ามาในภูมิภาค ั เอเซียอาคเนย์ ความพยายามสร้างความมันคงทั้งด้านการทหารและการเมือง เพื่อต้านภัยคุกคามคอมมิวนิสต์ ่ จึงถือเป็ นเรื่ องสําคัญเร่ งด่วนในขณะนั้น นอกเหนือจากการพึ่งพาสหรัฐอเมริ กาที่มีนโยบายปิ ดล้อมจีนแล้ว การรวมกลุ่มประเทศอาเซียนเป็ นอีกทางเลือกหนึ่งที่เชื่อได้วาจะได้ผลยังยืนในระยะยาว ่ ่ ประชาคมเศรษฐกิจ (ASEAN Economic Community : AEC)1 ท่านผูอ่านคงจะพอทราบกันบ้างแล้วว่า อาเซียนกําลังขยับเป้ าหมายให้ปี 2558 หรื ออีกแค่ 5 ปี ้ ข้างหน้า ให้เป็ นปี ที่ลกษณะของการรวมกลุ่มประเทศเปลี่ยนไปเป็ น “ประชาคมเศรษฐกิจ” หรื อ Economic ั ่ Community เช่นเดียวกับ “ประชาคมเศรษฐกิจยุโรป” (European Economic Community) ถึงแม้วาเป้ าหมาย 1 ASEAN Secretariat, 2009. www.aseansec.org
  2. 2. 2 จะไม่ถึงกับต้องมีเงินสกุลเดียวกันใช้ใน 10 ประเทศสมาชิก แต่กเ็ ป็ นย่างก้าวสําคัญยิงที่จะช่วยเพิ่มศักยะภาพในการ ่ แข่งขันทางเศรษฐกิจของภูมิภาค เป้ าหมายของ AEC เมื่อแรกเริ่ มแห่งแนวคิดดังกล่าว อาเซี ยนมุ่งจะรวมตัวเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนภายในปี 2563 (ค.ศ.2020) โดยมีเป้ าหมายสําคัญ 4 ประการ คือ 1. เพือเป็ นตลาดเดียวและฐานการผลิตร่ วมกัน คือให้มีการเคลื่อนย้ายเสรี ท้งสิ นค้า บริ การ การ ่ ั ลงทุน แรงงานมีฝีมือ และเงินทุน 2. เพือสร้ างเสริมขีดความสามารถในการแข่ งขัน โดยจะพัฒนาให้เป็ น e-ASEAN และปรับปรุ ง ่ นโยบายภาษี นโยบายการแข่งขัน สิ ทธิ ทรัพย์สินทางปัญญา การคุมครองผูบริ โภค พัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน ้ ้ 3. เพือการพัฒนาเศรษฐกิจอย่ างเสมอภาค โดยลดช่องว่างการพัฒนาระหว่างสมาชิกเก่า-ใหม่ และ ่ สนับสนุนการพัฒนาธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) 4. การบูรณาการเข้ ากับเศรษฐกิจโลก ปรับประสานนโยบายเศรษฐกิจ สร้างเครื อข่ายการผลิต จําหน่าย จัดทํา FTA กับประเทศนอกภูมิภาค แนวทางดําเนินงานเพือนําไปสู่ การเป็ น AEC ่ นอกจากการดําเนินการเปิ ดเสรี ดานการค้าสิ นค้า บริ การ และการลงทุนระหว่างกันตามกรอบความ ้ ร่ วมมือต่าง ๆ ที่มีอยูเ่ ดิม เช่น การเร่ งลดภาษีสินค้าระหว่างกันให้เหลือร้อยละ 0 ภายในปี 2553 สําหรับสมาชิก เดิม และปี 2558 สําหรับสมาชิกใหม่ภายใต้กรอบอาฟตา การยกเลิกข้อจํากัดการประกอบการด้านการค้าบริ การ ในอาเซี ยน ภายในปี 2563 ภายใต้กรอบความตกลงด้านการค้าบริ การอาเซี ยน (AFAS) การเปิ ดให้มีการลงทุน ่ เสรี ในอาเซี ยนและการให้การประติบติเยียงคนชาติตอนักลงทุนอาเซี ยนภายในปี 2553 ภายใต้เขตการลงทุนเสรี ั ่ อาเซียน (AIA) เป็ นต้น แล้ว อาเซี ยนได้ตกลงที่จะการเปิ ดเสรี ดานการค้าสิ นค้าและการค้าบริ การให้เร็ วขึ้นกว่า ้ กําหนดการเดิม ในสาขาสิ นค้าและบริ การสําคัญ 11 สาขา เพื่อเป็ นการนําร่ อง และส่งเสริ มการ outsourcing หรื อ การผลิตสิ นค้า โดยใช้วตถุดิบและชิ้นส่ วนที่ผลิตภายในอาเซียน ซึ่ งเป็ นไปตามแผนการดําเนินการเพื่อมุ่งไปสู่ ั การเป็ น AEC และได้มอบหมายให้ประเทศต่างๆ ทําหน้าที่รับผิดชอบเป็ นผูประสานงานหลัก (Country ้ Coordinators) ดังนี้ - พม่ า สาขาผลิตภัณฑ์เกษตร (Agro-based products) และสาขาประมง (Fisheries) - มาเลเซีย สาขาผลิตภัณฑ์ยาง (Rubber-based products) และสาขาสิ่ งทอ (Textiles and Apparels) - อินโดนีเซีย สาขายานยนต์ (Automotives) และสาขาผลิตภัณฑ์ไม้ (Wood-based products) - ฟิ ลิปปิ นส์ สาขาอิเล็กทรอนิกส์ (Electronics) - สิ งคโปร์ สาขาเทคโนโลยีสารสนเทศ (e-ASEAN) และสาขาสุ ขภาพ (Healthcare) - ไทย สาขาการท่องเที่ยว (Tourism) และสาขาการบิน (Air Travel)
  3. 3. 3 ทั้งนี้ ไทยได้รับเป็ นประเทศผูประสานงานหลักในสาขาการท่องเที่ยวและการบิน ซึ่ งสอดคล้องกับ ้ นโยบายของรัฐบาลที่จะผลักดันให้ไทยเป็ นศูนย์กลางของการท่องเที่ยวและการบินในภูมิภาคนี้ แผนการดําเนินงาน (Roadmap) ของ 11 สาขาสํ าคัญ2 1. การเร่ งลดภาษีสินค้าใน 9 สาขา (ผลิตภัณฑ์เกษตร/ ประมง/ ผลิตภัณฑ์ไม้/ ผลิตภัณฑ์ยาง/ สิ่ งทอ/ ยานยนต์/ อิเล็กทรอนิกส์/ เทคโนโลยีสารสนเทศ/ สาขาสุขภาพ) ให้เร็ วขึ้นจากกรอบอาฟตา 3 ปี 2. การขจัดมาตรการที่มิใช่ภาษี โดยการปฏิบติตามพันธกรณี ภายใต้องค์การการค้าโลก (WTO) ั ในเรื่ องอุปสรรคทางเทคนิคมาตรฐานสุขอนามัย และการขออนุญาตนําเข้า รวมทั้งพัฒนาแนวทางการดําเนินงาน ที่เหมาะสมในเรื่ องดังกล่าวสําหรับประเทศสมาชิกอาเซียน เพื่อนําไปสู่การลด/เลิกมาตรการที่เป็ นอุปสรรคทางการค้า 3. การปรับปรุ งกฎว่าด้วยแหล่งกําเนิดสิ นค้าให้มีความโปร่ งใส มีมาตรฐานที่เป็ นสากล และอํานวย ความสะดวกให้แก่เอกชนมากขึ้น อาทิ การจัดทํากฎการได้แหล่งกําเนิดสิ นค้าโดยวิธีการแปรสภาพอย่างเพียงพอ (Substantial Transformation) และกฎการได้แหล่งกําเนิดสิ นค้าของอาเซี ยนแบบสะสมบางส่ วน (Partial Cumulation Rule of Origin) มาใช้เป็ นทางเลือกสําหรับการคํานวณแหล่งกําเนิดสิ นค้า 4. การค้าบริ การ ตั้งเป้ าหมายการเจรจาเปิ ดเสรี การค้าบริ การอย่างชัดเจน เพื่อให้การค้าบริ การของ อาเซียนเป็ นไปอย่างเสรี มากขึ้น และพัฒนาระบบการยอมรับร่ วมกัน (Mutual Recognition Arrangements: MRAs) เพื่ออํานวยความสะดวกในการประกอบวิชาชีพในสาขาบริ การ รวมทั้งส่ งเสริ มการร่ วมลงทุนของ อาเซียนไปยังประเทศที่สาม 5. การลงทุน เร่ งเปิ ดเสรี สาขาการลงทุนภายใต้กรอบความตกลงด้านการลงทุนของอาเซียน Framework.Agreement on the ASEAN Investment Area: AIA) โดยการลด/ยกเลิกข้อจํากัดด้านการลงทุนต่างๆ ส่ งเสริ มการร่ วม ลงทุนในสาขาอุตสาหกรรมที่มีศกยภาพ และสร้างเครื อข่ายด้านการลงทุนของอาเซี ยนที่มี ั ประสิ ทธิ ภาพ ั 6. การอํานวยความสะดวกด้านพิธีการด้านศุลกากร ให้เริ่ มใช้ระบบพิกดอัตราศุลกากรฮาร์โมไนซ์ อาเซียน(AHTN) ในการค้าระหว่างอาเซียนกับประเทศนอกกลุ่ม (extra-ASEAN trade) และพัฒนาระบบพิธีการ ศุลกากร Single Window เพื่ออํานวยความสะดวกในด้านการค้าให้มากยิงขึ้น รวมทั้งพัฒนาเอกสารด้านการค้า ่ และศุลกากรให้มีความเรี ยบง่ายและสอดคล้องกัน 7. การพัฒนามาตรฐานและความสอดคล้องของผลิตภัณฑ์ พัฒนาการยอมรับมาตรฐานซึ่ งกันและกัน (MRA) ในด้านคุณภาพสิ นค้า การตรวจสอบ การออกใบรับรอง และปรับปรุ งกฎเกณฑ์/กฎระเบียบ/ข้อกําหนด สําหรับผลิตภัณฑ์สาขาต่างๆ ให้มีความสอดคล้องกันมากยิงขึ้น ่ 8. การเคลื่อนย้ายของนักธุรกิจ ผูเ้ ชี่ยวชาญ ผูประกอบวิชาชีพ แรงงานมีฝีมือ และผูมีความสามารถ ้ ้ พิเศษเพื่ออํานวยความสะดวกในการเดินทางให้แก่นกธุรกิจ อาทิ การปรับประสานพิธีการตรวจลงตรา การ ั จัดทํา ASEAN Business Card และการเร่ งพัฒนา มาตรฐานเพื่ออํานวยความสะดวกในการเข้ามาประกอบ วิชาชีพของผูเ้ ชี่ยวชาญ ผูประกอบวิชาชีพ แรงงานมีฝีมือ และผูมีความสามารถพิเศษภายในอาเซี ยน ้ ้ 2 กรมเจรจาการค้าระหว่างประเทศ, กระทรวงพาณิชย์, 2548.
  4. 4. 4 นอกจากมาตรการข้างต้นแล้ว ก็ยงมีเรื่ องของการพัฒนาระบบข้อมูล/สถิติการค้าและการลงทุน ั ภายใน อาเซี ยน การส่ งเสริ มความร่ วมมือด้านอุตสาหกรรม (Industrial Complementation) การพัฒนาขีด ความสามารถของบุคลากร การส่ งเสริ มสิ ทธิ ในทรัพย์สินทางปั ญญา และการอํานวยความสะดวกในการเดินทาง ภายในอาเซี ยน อีกด้วย ความร่ วมมือทางเศรษฐกิจทีสําคัญของอาเซียน ประกอลด้ วย ่ 1. เขตการค้าเสรี อาเซี ยน ลงนามปี 2535 ASEAN Free Trade Area (AFTA) เริ่ มมีผลบังคับในปี 2536 2. กรอบความตกลงด้านการค้าบริ การ ASEAN Framework Agreement on Services (AFAS) เริ่ มมีผลบังคับในปี 2538 3. ความตกลงเขตการลงทุนอาเซียน ASEAN Investment Area (AIA) เริ่ มมีผลบังคับในปี 2541 MRA กับการเคลือนย้ ายแรงงานในกลุ่มอาเซียน ่ สมาชิกอาเซียน มีการจัดทํา Mutual Recognition Agreement (MRA) เพื่ออํานวยความสะดวกใน การยอมรับคุณสมบัติของนักวิชาชีพที่สาคัญร่ วมกัน เพื่อการถ่ายเทแรงงานฝี มือได้เสรี มากขึ้น แต่การเข้าเมือง ํ และการทํางาน ยังต้องเป็ นไปตามกฎระเบียบของแต่ละประเทศสมาชิก (เช่น การสอบใบอนุญาต) ปั จจุบน ASEAN มีการลงนามร่ วมกันใน MRA 7 สาขาอาชีพ คือ วิศวกรรม การสํารวจ ั สถาปัตยกรรม แพทย์ ทันตแพทย์ พยาบาล และบัญชี ปัญหากดดันต่ อแรงงานไทย กรณี ที่แรงงานฝี มือในอาเซี ยนย้ายถิ่นมาทํางานในประเทศไทยอันเนื่องมาจากการเปิ ดเสรี แรงงาน ฝี มือไทยอาจไม่ค่อยได้รับผลกระทบในด้านลบจากแรงงาน ฝี มือต่างชาติที่จะเข้ามา เพราะมีโอกาสที่จะได้รับ ค่าจ้างสูงกว่าแรงงานไทย อย่างไรก็ดี ผูที่จะได้รับผลกระทบน่าจะเป็ นเจ้าของกิจการหรื อผูประกอบการคนไทย ้ ้ เพราะจะถูกผูประกอบการต่างชาติ ดึงบุคลากรที่มีความรู ้ความสามารถไปร่ วมงาน ด้วยค่าแรงที่จูงใจมากกว่า ซึ่ง ้ อาจจะก่อปั ญหาสมองไหล (Brain Drain) ได้ ดังนั้น เพื่อการป้ องกันและแก้ไขปัญหาดังกล่าว แรงงานฝี มือไทย ควรพัฒนาความรู ้และทักษะด้านภาษา เพื่อแลกเปลี่ยน และเรี ยนรู ้จากแรงงานฝี มือต่างชาติที่เข้ามาในไทยให้ได้ มากที่สุด ในขณะที่ผประกอบการไทยอาจจําเป็ นต้องปรับตัวหาผูร่วมทุนต่างชาติเพิมมากขึ้น ู้ ้ ่ ส่ วนกรณี ที่แรงงานไทยออกไปทํางานในประเทศอาเซี ยนอื่นๆ นั้น การไม่พฒนาฝี มือแรงงาน ให้ ั อยูในระดับสากลจะทําให้แรงงานไทยไม่เป็ นที่น่าสนใจในตลาดต่างประเทศ รวมถึง การที่หลักสูตรการศึกษา ่ หรื อใบรับรองมาตรฐานวิชาชีพของไทยไม่ได้รับการยอมรับ (accredited) ในระดับสากล อาจทําให้แรงงานฝี มือ หรื อผูประกอบวิชาชีพของไทย เสี ยโอกาสที่จะได้งานในต่างประเทศ ซึ่งเป็ นหน้าที่ของรัฐที่จะต้องพัฒนา ้ ั หลักสูตรการเรี ยนการสอนและการอบรม ให้สามารถเทียบเคียงได้กบหลักสูตรของต่างประเทศ รวมถึงอาจต้อง หาลู่ทางให้ใบอนุญาตหรื อใบรับรองมาตรฐานวิชาชีพของไทยได้รับการยอมรับ (accredited) ในระดับสากล
  5. 5. 5 นอกจากนี้ ปัญหาความอ่อนด้อยทางด้านภาษาต่างประเทศ จะทําให้แรงงานไทยไม่สามารถแข่งขันกับแรงงาน ชาติอื่นได้ ซึ่ งจะส่ งผลทําให้ได้ตาแหน่ง หรื อค่าจ้างที่ต่ากว่าแรงงานฝี มือในระดับเดียวกัน ส่ วนการคุมครอง ํ ํ ้ แรงงานไทยที่ไปทํางานต่างประเทศจะต้องมีมาตรการร่ วมกับสมาชิกอาเซี ยน อาจทําให้แรงงานไทยเสี ยเปรี ยบ นายจ้าง เช่น การทําสัญญาจ้าง ค่าจ้าง สวัสดิการ และกรณี เกิดข้อพิพาทด้านแรงงาน แนวทางป้ องกันและแก้ปัญหาดังกล่าว รัฐควรเปิ ดหลักสูตรการเรี ยนการสอนแบบสองภาษาหรื อ เปิ ดอบรมความรู้ภาษาอังกฤษ โดยเน้นการติดต่อสื่ อสาร พร้อมทั้งจัดให้มีการวัดระดับโดยสถาบันภาษาที่ได้รับ การยอมรับ ในขณะเดียวกัน รัฐบาลควรให้การดูแลแรงงานไทย โดยมีหน่วยงานรัฐที่สามารถช่วยเหลือและให้ คําปรึ กษาแก่แรงงานไทยในต่างประเทศ หากจําเป็ นก็ควรตั้งสํานักงานแรงงานไทยในประเทศอาเซียนทุก ประเทศ รวมทั้งในจีนและอินเดีย ่ เป็ นที่ทราบกันดีวาปัญหาแรงงานย้ ายถิน นั้นมีเหตุปัจจัยมาจากโอกาสและค่าแรงที่จูงใจใน ่ ต่างประเทศ รัฐจึงควรหาวิธีจูงใจให้แรงงานย้ายถิ่น กลับเข้าประเทศโดยการพัฒนาตลาดแรงงานในประเทศ และค่าจ้าง เช่น การสนับสนุนให้ไทยเป็ น Medical Hub หรื อสนับสนุน Creative Economy ในทุกส่ วนของ ระบบเศรษฐกิจของประเทศ อนาคตของตลาดแรงงานใน ASEAN ปี พ.ศ. 2558 ในการบรรยายเกี่ยวกับเรื่ องประชาคมเศรษฐกิจอาเซี ยนโดย ดร. สุ ทศน์ เศรษฐ์บุญสร้าง ผูแทน ั ้ ่ การค้าไทย เมื่อเดือนมิถุนายน 2553 ระบุวาจํานวนประชากรในอาเซี ยนจะเพิ่มขึ้นจาก 588 ล้านคนในปี 2553 เป็ น 621 ล้านคนในปี 2558 และจะเพิ่มเป็ น 651 ล้านคนในปี 2563 กําลังแรงงานเพิ่มจากประมาณ 250 ล้านคน เป็ นประมาณ 300 ล้านคน ด้วยอัตราค่าแรงงานต่อชัวโมงมีความแตกต่างกันอย่างมากในกลุ่มอาเซี ยน ย่อมทํา ่ ให้เกิดการเคลื่อนย้ายแรงงานเพิ่มสูงขึ้นอย่างรวดเร็ ว ค่าแรงงานที่ถกกว่าในประเทศพม่า ลาว กัมพูชา และ ู เวียดนาม จะทําให้มีการเคลื่อนย้ายแรงงานจากประเทศเหล่านี้สู่ประเทศที่เจริ ญกว่าและมีการจ่ายค่าแรงสูงกว่า ตลาดแรงงานในเอเชีย ประเด็นที่น่าเป็ นห่วงมากกว่า คือ จํานวนแรงงานจากจีนและอินเดีย ซึ่ งมีสูงมาก แรงงานเหล่านี้จะ ไหลเข้าสู่อาเซี ยนซึ่ งมีโอกาสดีกว่า และคุณภาพของแรงงานเหล่านี้กาลังได้รับการพัฒนาอย่างมากทั้งในประเทศ ํ จีนและอินเดีย เช่น – รัฐบาลจีนได้ใช้งบประมาณจํานวนมากปรับปรุ งมหาวิทยาลัย และระบบการศึกษาพื้นฐาน – รัฐบาลอินเดียมีโครงการรื้ อพื้นมหาวิทยาลัยเก่า ๆ และลงทุนในการศึกษาอย่างมหาศาลเช่นกัน ดังนั้น ประเทศไทยจะต้องพัฒนาความพร้อมของแรงงานไทยที่จะออกสู่ตลาดต่างประเทศในระยะ 4-5 ปี ข้างหน้านี้ เพราะการแข่งขันจะสูงมาก โดยเฉพาะจากแรงงานฝี มือในประเทศเอเชีย
  6. 6. 6 ผลเสี ยของ FTA ต่ อแรงงานไทย 1. การเพิ่มปริ มาณส่ งออก บางอุตสาหกรรม ลงทุนใช้เครื่ องจักรมากขึ้น มีผลต่อการจ้างแรงงาน ระดับล่างลดลง 1. การเปิ ดเสรี การค้าสิ นค้าเพิ่มปริ มาณการผลิตสิ นค้าส่ งออกแต่โรงงานผลิตป้ อนตลาดไม่ทน ั เพราะขาดแคลนแรงงาน โดยเฉพาะอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานเข้มข้น 2. มีการแข่งขันจากกลุ่มประเทศ FTA โดยเฉพาะอาเซี ยนมากขึ้น 3. เกิดภาวะสมองไหลขาดแคลนแรงงานฝี มือที่เป็ นกําลังสําคัญในการพัฒนาประเทศ 4. เกิดการแข่งขันด้านค่าตอบแทน ค่าจ้าง แรงงานวิชาชีพมีทางเลือกที่จะทํางาน ในประเทศที่ให้ ค่าตอบแทนที่สูงกว่า ผลดีของ FTA ต่ อแรงงานไทย 1. ตลาดแรงงานไทยใหญ่ข้ ึน มีโอกาสมากขึ้น 2. แรงงานฝี มือเข้าสู่ตลาดแรงงานในประเทศ FTA โดยเฉพาะในอาเซียนได้อย่างเสรี 3. เกิดการเกื้อกูลกันด้านบุคลากรวิชาชีพ ช่วยพัฒนาภูมิภาคอาเซียนและคู่เจรจา FTA 4. อํานวยความสะดวกการเคลื่อนย้ายบุคคลธรรมดา และเกิดการจ้างงานถาวรภายในประเทศ สมาชิกอาเซียน 5. ส่ งเสริ มความร่ วมมือด้านแรงงานระหว่างประเทศสมาชิก เน้นการพัฒนาทักษะและฝี มือ แรงงาน 6. อาเซียนให้แข่งขันได้ เป็ นที่ยอมรับ 7. ส่ งเสริ มและคุมครองนักลงทุน ้ แรงงานไทยต้ องเตรียมตัวรับการเปลียนแปลงอย่ างไร ่ ในการพัฒนาองค์กรของอาเซี ยนไปเป็ นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ครั้งนี้ ส่งผลกระทบ อย่างมากต่อการเคลื่อนย้ายแรงงานในภูมิภาค ประเทศผูรับและประเทศผูส่งออกแรงงานจําเป็ นต้องเตรี ยมความ ้ ้ พร้อมในการพัฒนาบุคลากรของตน ได้แก่ การยกระดับมาตรฐานการศึกษา พัฒนาแนวความคิด และวัฒนธรรม ทางการเรี ยนรู ้ เพื่อการลงมือทําได้จริ ง ต้องพัฒนาระบบสาธารณสุ ข และคุณภาพชีวิต พัฒนาวิสยทัศน์และ ั แนวคิดมุมมองให้กว้างไกลทันโลกที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ต้องติดตามความเปลี่ยนแปลงทุกด้านของประเทศ เพื่อนบ้าน และกลุ่มประเทศต่างๆ ทัวโลก และจําเป็ นอย่างยิงที่จะต้องพัฒนาทักษะด้านภาษาต่างประเทศเพื่อ ่ ่ การสื่ อสาร โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ ที่คนไทยส่ วนใหญ่ยงไม่ได้เอาใจใส่ เรี ยนรู ้และฝึ กปรื อเท่าที่ควร ั ในขณะเดียวกัน ภาครัฐก็มีภาระทมี่จะต้องพัฒนาแนวทางคุมครองแรงงานให้เป็ นมาตรฐานสากล ้ มากยิงขึ้น เพราะในที่สุดเราคงไม่อาจทัดทานกระแสความเปลี่ยนแปลงของโลกได้ มาตรฐานแรงงานระหว่าง ่ ประเทศจะเป็ นเครื่ องมือที่นานาประเทศใช้เป็ นบรรทัดฐานร่ วมกัน --------------------------------------

×