SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
ราคา 
 วัตถุประสงค์ในการกำาหนด 
ราคา 
 ปัจจัยที่มีผลต่อการกำาหนด 
ราคา 
 วิธีการกำาหนดราคา 
 กลยุทธ์การกำาหนดราคา 
 กลยุทธ์การปรับราคาโดย อ.เอก บุญเจือ 
1 หลักการตลาด บทที่ 9
คุณค่าและราคา 
คุณค่า (Value) 
 เกณฑ์เชิงปริมาณที่ใช้วัดมูลค่า 
ของสินค้าหรือบริการในการแลก 
เปลี่ยน 
ราคา (Price) 
 มูลค่าของเงินที่ต้องจ่ายในการ 
แลกเปลี่ยนให้ได้มาซึ่งตัว 
ผลิตภัณฑ์ 
2 หลักการตลาด บทที่ 9
วัตถุประสงค์ในการกำาหนด 
ราคา 
ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ด้านการตลาด 
ของกิจการ 
 ผู้นำาด้านคุณภาพ --> ราคาสูง 
 ผู้นำาส่วนแบ่งตลาด --> ราคาตำ่า 
พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างส่วน 
ประสมการตลาดทั้งหมด 
 ผลิตภัณฑ์ : ระดับคุณภาพที่ 
ผู้บริโภครับรู้ 
 การจัดจำาหน่าย : คุณค่า 
และความสะดวก 
3 หลักการตลาด บทที่ 9
วัตถุประสงค์ในการกำาหนด 
ราคา 
เพื่อรายได้ เพื่อยอดขาย 
เพื่อการแข่งขัน เพื่อสังคม 
4 หลักการตลาด บทที่ 9
ปัจจัยที่มีผลต่อการกำาหนด 
ราคา 
5 หลักการตลาด บทที่ 9 
การกำาหนดราคา 
ปัจจัยด้านการแข่งขัน 
1) โครงสร้างของตลาด 
2) กลยุทธ์ของคู่แข่งขัน 
ปัจจัยภายนอกอื่น ๆ 
1) ด้านเศรษฐกิจ 
2) ด้านกฎหมาย 
ปัจจัยภายในกิจการ 
1) ต้นทุน 
2) วัตถุประสงค์ทางการตลาด 
และวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ 
3) ศักยภาพของกิจการ 
ปัจจัยด้านผู้บริโภค 
1) ความต้องการของผู้บริโภค 
2) คุณค่าในสายตาของผู้บริโภค 
3) ราคาในช่องทางการจัดจำาหน่า
1. ปัจจัยภายในกิจการ 
ต้นทุน 
 ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost) 
 ต้นทุนผันแปร (Variable Cost) 
 ต้นทุนรวม (Total Cost) = FC + 
VC 
 จุดคุ้มทุน (Break Even Point) 
วัตถุประสงค์ทางการตลาดในแต่ละ 
ช่วงของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ 
ศักยภาพของกิจการ 
6 หลักการตลาด บทที่ 9
BEP (Value) = 
FC 
VC 
P 
7 หลักการตลาด บทที่ 9 
P 
TR 
BEP (= P x Q) 
Profit 
TC 
(= FC + VC) 
FC 
Q 
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน 
เป็นการคำานวณหาปริมาณที่ 
รายได้รวม = ต้นทุนรวม 
BEP (Unit) = FC 
P - VC 
1 - 
BEP (Value) = BEP (Unit) x P
ย่างที่ 9-1 การคำานวณจุดคมุ้ทุน 
นของกิจการผลิตเทียนหอม 
นคงที่ (FC) 
งจักร 20,000 + โรงงาน 100,000= 120,000 นผันแปร (VC) 
15 + สี 5 = 20 บาท ต่อชิ้นคาขาย (P) 120 บาท ต่BEP (Unit) = FC 
8 หลักการตลาด บทที่ 9 
BEP (Unit) = 1,200 ชิ้น 
BEP (Baht) = 1,200 x 120 
P - VC 
= 120,000 
120 - 20 
= 144,000 บาท
Units/$ 
Introduction Growth Maturity Decline 
9 หลักการตลาด บทที่ 9 
Time 
Sales 
ราคา ราคาสูง 
ลดราคา 
และ 
เพิ่มแนว 
ระดับราคา 
หรือตำ่าก็ได้ 
แต่ต้อง 
คุ้มทุน 
รักษาระดับ 
ราคาให้คงที่ 
หลีกเลี่ยง 
สงครามราคา 
ลดราคา 
(เลิกผลิต) 
ราคาคงที่ 
(ผลิตต่อ)
2. ปัจจัยด้านผู้บริโภค 
ความต้องการของผู้บริโภคที่เป็น 
ตลาดเป้าหมาย 
 ลักษณะของเส้นอุปสงค์ 
 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ที่มีต่อ 
ราคา 
 ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบไขว้ 
คุณค่าในสายตาของผู้บริโภค 
ราคาในช่องทางการจัดจำาหน่ายที่ส่ง 
ผลถึงผู้บริโภคคนสุดท้าย 
10 หลักการตลาด บทที่ 9
ลักษณะของเส้นอุปสงค์ 
เส้นอุปสงค์ (Demand Curve) 
P 
สินค้าทั่วไปส่วนใQหญ่ 
(Most Goods) 
11 หลักการตลาด บทที่ 9 
Inverse 
Demand 
Q 
P 
สินค้าฟุ่มเฟือย 
(Prestige Goods)
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ที่ 
มีต่อราคา 
Price Elasticity = % change in Quantity 
% change in Price 
กรณีอุปสงค์มีความยืดหยุ่นสูง 
(Elastic Demand) 
 ค่าความยืดหยุ่นมากกว่า 1 
 การเปลี่ยนแปลงราคามีผลต่อปริมาณ 
การซื้อเป็นอย่างมาก 
กรณีอุปสงค์มีความยืดหยนุ่ตำ่า 
(Inelastic Demand) 
12 หลักการตลาด บทที่ 9 
 ค่าความยืดหยุ่นน้อยกว่า 1
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ที่ 
มีต่อราคา 
Price Elasticity = % change in Quantity 
% change in Price 
Price Elasticity = Q1 - Q2P1 + P2 
13 หลักการตลาด บทที่ 9 
Q1 + Q2 X P1 - P2 
คือ ปริมาณความต้องการซื้อก่อนเปลี่ยนแปลงคือ ปริมาณความต้องการซื้อหลังเปลี่ยนแปลงคือ ราคาเดิม (ก่อนการเปลี่ยนแปลงราคา) 
คือ ราคาใหม่ (หลังการเปลี่ยนแปลงราคา)
9-2 
การาคาด้ามละ 5 บาท ขายได้ 10 ด้าม 
ราคาลงเหลือด้ามละ 4 บาท ขายได้ 20 ด้าม 
Q1 - Q2P1 + P2 
Q1 + Q2 P1 - P2 
= X 
10 - 20 5 + 4 
1=0 + 20 X 5 - 4 
ราคาเดิม 5 x 10 = 50 ราคาใหม่ 4 x 20 = 80 กรณีนี้ควรลดราคา 
- 10 9 
P x Q 
= 30 X 1 
มยืดหยนุ่ = 3 
มยืดหยนุ่ > 1 ; Elastic Demand 
14 หลักการตลาด บทที่ 9 
P 
Q 
54 
10 20
เพิ่มเติม 
ผ้าราคาชุดละ 1000 บาท ขายได้ 5 ชุด 
ราคาลงเหลือชุดละ 600 บาท ขายได้ 7 ชุด 
Q1 - Q2P1 + P2 
=Q1 + Q2X P1 - P2 
5 – 7 1000+600 
= 5 + 7 X 1000-600 
- 2 1600 
= 12 X 400 
มยืดหยนุ่ = 0.67 
มยืดหยนุ่ < 1 ; Inelastic Demand 
15 หลักการตลาด บทที่ 9 
P 
Q 
1000 
600 
5 7 
P x Q 
ราคาเดิม 1000 x 5 = 5000 ราคาใหม่ 600 x 7 = 4200 กรณีนี้ไม่ควรลดราคา
3. ปัจจัยด้านการแข่งขัน 
โครงสร้างของตลาด 
 ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Pure 
Competition) 
 ตลาดผูกขาด (Pure Monopoly) 
 ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly) 
 ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ 
(Monopolistic Competition) 
กลยุทธ์การตลาดของคู่แข่งขัน 
 พิจารณาจากศักยภาพการแข่งขัน 
ด้านราคา 
16 หลักการตลาด บทที่ 9
ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Pure 
Competition) 
มีผู้ซื้อและผู้ขายจำานวนมาก 
ผลิตภัณฑ์ไม่มีความแตกต่างกัน 
สามารถทดแทนกันได้ 
ราคาเป็นไปตามกลไกของตลาด 
กำาหนดโดยผู้ซื้อและผู้ขาย 
17 หลักการตลาด บทที่ 9 
BBQ 
10 B.
ตลาดผูกขาด (Pure 
Monopoly) 
มีผู้ขายรายใหญ่เพียงรายเดียว 
ส่วนมากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับ 
สัมปทาน หรือเป็นรัฐวิสาหกิจ ไม่มี 
ผลิตภัณฑ์อื่นทดแทน 
กำาหนดราคาได้ตามความพอใจ 
ยกเว้นมีกฎหมายควบคุม 
18 หลักการตลาด บทที่ 9 
BBQ 
20 B.
ตลาดผู้ขายน้อยราย 
(Oligopoly) 
มีจำานวนผู้ขายน้อย ส่วนมากเป็นผู้ 
ขายรายใหญ่ 
ผลิตภัณฑ์มีลักษณะพิเศษ ผู้ขายมี 
ความชำานาญเฉพาะ 
มีBBQ 
การรวมตัวกันในด้านราคาของ 
ทั้10 งอุตB. 
สาหกรรม 
19 หลักการตลาด บทที่ 9 
BBQ 
10 B. 
BBQ 
10 B. 
12 B. 12 B. 12 B.
ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ 
(Monopolistic Competition) 
เป็นตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด 
ผลิตภัณฑ์แตกต่างกันด้านคุณภาพ 
รูปแบบ หรือบริการ 
ราคาขึ้นอยู่กับความสามารถใน 
BBQ 
การสร้างความแตกต่าง 
BANANA 
10 B. 
BBQ 
APPLE 
15 B. 
20 หลักการตลาด บทที่ 9 
BBQ 
PUMKIN 
12 B. 
BBQ 
GRAPE 
18 B.
4. ปัจจัยภายนอกอนื่ ๆ 
ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ 
 ภาวะเงินเฟ้อ/เงินฝืด อัตราดอกเบยี้ 
อัตราการว่างงาน ฯลฯ 
 มีผลต่อทั้งอำานาจซื้อของผู้บริโภค 
และต้นทุนของกิจการ 
ปัจจัยด้านกฎหมาย 
 กฎหมายควบคุมราคา การเก็บภาษี 
การคมุ้ครองผู้บริโภค ฯลฯ 
 มีผลต่อต้นทุนของกิจการ การ 
21 หลักการตลาด บทที่ 9
แนวความคิดในการ 
กำาหนดราคา 
ราคาสูงเกินไป ไม่มีผตู้้องการซื้อ 
Competitor’s 
prices and other 
external and 
internal factors 
22 หลักการตลาด บทที่ 9 
Ceiling 
Price 
Floor 
Price 
Customer 
Value 
Cost 
Price 
GAP 
ช่องว่างในการ 
กำาหนดราคา 
ราคาตำ่าเกินไป ทำาให้กิจการขาดทุน
วิธีการกำาหนดราคา 
การกำาหนดราคาโดยยึดต้นทุนเป็น 
หลัก (Cost-based Pricing) 
 วิธีการบวกเพมิ่จากต้นทุน (Cost-plus) 
 วิธีการใช้ส่วนเพิ่ม (Markup) 
 วิธีการกำาหนดเป้าหมายกำาไร 
(Target Profit) 
การกำาหนดราคาโดยยึดคุณค่าเป็น 
หลัก 23 หลักการตลาด บทที่ 9
การกำาหนดราคาโดยบวกเพิ่มจาก 
ต้นทุน (Cost-plus Pricing) 
คำานวณง่าย สะดวก 
 ประมาณการยอดขาย 
 คำานวณต้นทุนต่อหน่วย 
 กำาหนดกำาไรต่อหน่วยที่ต้องการ 
มีข้อควรระวังในการคำานวณ 
ต้นทุนต่อหน่วย ที่เป็นต้นทุนเฉลี่ย 
ณ ระดับการประมาณการยอดขาย 
24 หลักการตลาด บทที่ 9
ที่ 9-3 
ผลิตเข็มขัด มีต้นทุนผันแปร เส้นละ 100 บาต้นทุนคงที่รวม 3,000,000 บาทต่อเดือน 
คาดว่าจะขายได้เดือนละ 50,000 เส้น 
ต้องการได้กำาไร เส้นละ 50 บาท 
วย = VC + FC = 100 + 3,000,000 Q 50,000 
คาขาย = ต้นทุนต่อหน่วย + กำาไรที่ต้อง= 160 + 50 
= 210 บาท 
25 หลักการตลาด บทที่ 9
การกำาหนดราคาโดยใช้ส่วนเพิ่ม 
(Markup Pricing) 
สะดวกในการเปรียบเทียบราคาขาย 
ทำาให้เข้าใจโครงสร้างต้นทุน ราคา 
และกำาไร 
 กำาหนดร้อยละส่วนเพิ่ม (Markup 
Percentage) ที่ต้องการ 
 คำานวณราคาโดยอ้างอิงต้นทุน 
และร้อยละส่วนเพิ่ม 
มีวิธีคำานวณ 2 แบบ คือ 
26 หลักการตลาด บทที่ 9 
 Markup on Cost
4 และ 9-5 
ทุน 160 บาท ต้องการกำาไร 20% จะตั้งราคาเท่ายบบัญญัติไตรยางศ์จPาrกicสeูต ร= Cost + Mark-Up 
Mark-Up on Cost Mark-Up on Price 
Price = Cost + Mark-Up 
Price = 100 + 20 
120= 100 + 20 
คิด 
100 ขาย 120 
160 ขาย 120 x 160 
100 
ตอบ ขาย 192 บาท 
27 หลักการตลาด บทที่ 9 
Price = Cost + Mark-Up 
100= Cost + 20 
100= 80 + 20 
วิธีคิด 
ทุน 80 ขาย 100 
ทุน 160 ขาย 100 x 160 
80 
ตอบ ขาย 200 บา
การกำาหนดเป้าหมายกำาไร 
(Target Profit Pricing) 
นำาแนวคิดเรื่องจุดคุ้มทุน 
(Break Even) มาใช้ใน 
การกำาหนดราคา 
การคำานวณกำาไรส่วนที่เกิน 
จากต้นทุนคงที่ ใช้สูตร 
28 หลักการตลาด บทที่ 9 
P 
TR 
BEP (= P x Q) 
Profit 
TC 
(= FC + VC) 
FC 
Q 
FC Contribution = P - VC
9-6 
ปากกาแห่งหนึ่ง มีต้นทุนคงที่ 600 บาท 
แปร ด้ามละ 5 บาท ตั้งราคาขาย ด้ามละ 15 บาBEP (Unit) = FC 
29 หลักการตลาด บทที่ 9 
FC Contribution = P - VC 
P - VC 
= 600 
15 - 5 
= 15 - 5 
= 10 บาทต่อหน่วย 
ดังนั้น จะต้องขายเพิ่มขนึ้อีก 
= 200 
BEP (Unit) = 60 ด้าม 
องการกำาไร 200 บาท 
10 
องขายปากกาให้ได้กี่ด้าม? 
= 20 ด้าม 
รวมเป็นต้องขายทั้งสนิ้ 80 ด้า
การกำาหนดราคาโดยยึด 
คุณค่าเป็นหลัก 
พิจารณาจากการรับรู้ของผู้บริโภคที่ 
มีต่อราคาและคุณภาพ 
ในการกำาหนดราคา กิจการต้อง 
คำานึงถึงความเหมาะสมระหว่าง 
 ราคาที่กิจการกำาหนด กับ 
 คุณค่าของผลิตภัณฑ์ที่ผู้บริโภครับ 
รู้ 
(Perceived Value) 
ใช้ส่วนประสมทางการตลาดอีก 3 
ตัว คือ 
30 หลักการตลาด บทที่ 9 
35 B.
กลยุทธ์ราคา 
กลยุทธ์การกำาหนดราคา 
ราคาสำาหรับ 
ผลิตภัณฑ์ใหม่ 
31 หลักการตลาด บทที่ 9 
ราคาสำาหรับ 
ผลิตภัณฑ์โดยทั่วไป 
กลยุทธ์การปรับราคา
กลยุทธ์การกำาหนดราคา 
สำาหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ 
ผลิตภัณฑ์ใหม่แบบริเริ่ม 
(Innovative Product) และ 
ผลิตภัณฑ์ใหม่แบบปรับปรุง 
(Modified Product) 
 กลยุทธ์ราคาหัวกะทิ 
 กลยุทธ์ราคาเจาะตลาด 
ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เลียนแบบ (Me-too 
Product) 
กลยุทธ์ราคาตามระดับราคาและ 
32 หลักการตลาด บทที่ 9
1. กลยุทธ์ราคาหัวกะทิ 
Ceiling Price 
กลยุทธ์ราคาหัวกะทิ 
(Skimming Pricing Strategy) 
Price Gap Floor Price 
กำาหนดราคาสูงในช่วงแรก 
หลังจากนั้นอาจลดราคาลง 
เหมาะกับผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มี 
ความแตกต่าง ต้องการใช้เงิน 
ลงทุนมาก เทคโนโลยี 
เปลี่ยนแปลงเร็ว ราคาสูงแสดง 
ถึงภาพลักษณ์ที่ดี อุปสงค์มี 
33 หลักการตลาด บทที่ 9
2. กลยุทธ์ราคาเจาะตลาด 
Ceiling Price 
กำาหนดราคาตำ่าตั้งแต่ช่วงแรก 
เพื่อให้เข้าสู่ตลาดได้ง่าย 
เหมาะกับผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ไม่มี 
ความแตกต่าง สามารถลด 
ต้นทุนผลิตได้จากการผลิต 
จำานวนมาก 
ผู้บริโภคให้ความสำาคัญต่อราคา 
(Price Sensitive) 
อุปสงค์มีความยืดหยนุ่สูง 
(Elastic Demand) 
กลยุทธ์ราคาเจาะตลาด 
Price Gap 
(Penetration Pricing Strategy) 
Floor Price 
34 หลักการตลาด บทที่ 9
3. กลยุทธ์ราคาตามระดับ 
คุณภาพ 
กำาหนดราคาโดยอ้างอิงจากราคา 
ของคู่แข่งขัน 
กลยุทธ์คุณภาพสูง ราคาสูง 
(Premium Strategy) 
กลยุทธ์ราคาเกินคุณภาพ 
(Overcharging Strategy) 
35 หลักการตลาด บทที่ 9 
กลยุทธ์คุณภาพเกินราคา 
(Good-value Strategy) 
กลยุทธ์ประหยัด 
(Economy Strategy) 
คุณภาพ 
สูง 
คุณภาพ 
ตำ่า 
ราคาสูง ราคาตำ่า
กลยุทธ์การกำาหนดราคา 
สำาหรับผลิตภัณฑ์โดยทั่วไป 
กลยุทธ์ราคาเพื่อการแข่งขัน 
กลยุทธ์ราคาสำาหรับสายผลิตภัณฑ์ 
กลยุทธ์ราคาเชิงจิตวิทยาและภาพ 
ลักษณ์ 
กลยุทธ์ราคาบนฐานการกระจาย 
ตัวสินค้า 
36 หลักการตลาด บทที่ 9
1. กลยุทธ์ราคาเพื่อการ 
แข่งขัน 
การกำาหนดราคาเท่ากับคู่แข่งขัน 
การกำาหนดราคาตำ่ากว่าคู่แข่งขัน 
การกำาหนดราคาสูงกว่าคู่แข่งขัน 
การประมูล การประกวดราคา 
(Sealed Bid) 
37 หลักการตลาด บทที่ 9
2. กลยุทธ์ราคาสำาหรับสาย 
ผลิตภัณฑ์ 
แนวระดับราคา (Price Lining) 
ราคาของผลิตภัณฑ์ที่ต้องใช้ร่วม 
กัน 
(Captive Product Pricing) 
ราคาของผลิตภัณฑ์ที่เลือกส่วน 
ประกอบได้ 
(Optional Product Pricing) 
ราคาสำาหรับการขายควบ (Price 
Bundling) 
ราคาสำาหรับการขายหลายหน่วย 
(Multiple Unit Pricing) 
38 หลักการตลาด บทที่ 9
3. กลยุทธ์ราคาเชิง 
จิตวิทยาและภาพลักษณ์ 
ราคาเลขคี่/เลขคู่ (Odd/Even 
Pricing) 
ราคาเพื่อชื่อเสียง (Prestige 
Price) 
39 หลักการตลาด บทที่ 9 
99 B. 
2,200 B. 
1,300,000 B.
4. กลยุทธ์ราคาบนฐาน 
การกระจายตัวสินค้า 
ราคาหน้าโรงงาน (F.O.B. Pricing) 
ราคารวมค่าขนส่ง (Delivery 
Pricing) 
 การส่งมอบราคาเดียว (Uniform 
Delivered Pricing) 
 การกำาหนดราคาตามเขต (Zone 
40 หลักการตลาด บทที่ 9
กลยุทธ์การปรับราคา 
การปรับราคาให้แตกต่างกัน 
(Discriminatory Pricing) 
การปรับราคาโดยการให้ส่วนลด 
(Discount Pricing) 
การปรับราคาโดยส่วนยอมให้ 
(Allowance Pricing) 
การลดราคา (Mark-down 
Pricing) 
41 หลักการตลาด บทที่ 9
1. การปรับราคาให้แตก 
ต่างกัน 
ต้องสามารถแบ่งแยกส่วนตลาดได้ 
อย่างชัดเจน และสามารถป้องกัน 
การโยกย้ายผลิตภัณฑ์ระหว่าง 
ตลาดได้ 
 การปรับราคาให้แตกต่างกันตาม 
กลุ่มลูกค้า 
 การปรับราคาโดยให้ส่วนลด 
สำาหรับตลาดรอง 
การปรับราคาให้แตกต่างกันตาม 
42 หลักการตลาด บทที่ 9
2. การปรับราคาโดยการ 
ให้ส่วนลด 
เป็นการลดราคาจากราคาที่ได้จัด 
ทำาไว้ในบัญชีราคา (Price List) 
ตามเงื่อนไขที่กำาหนดและไม่มี 
กำาหนดระยะเวลา 
 ส่วนลดเงินสด (Cash Discount) 
 ส่วนลดปริมาณ (Quantity 
Discount) 
 ส่วนลดตามหน้าที่ (Functional 
Discount) 
43 หลักการตลาด บทที่ 9
3. การปรับราคาโดยใช้ 
ส่วนยอมให้ 
เป็นส่วนลดที่ผขู้าย “ยอมให้” แก่ผู้ 
ซื้อตามเงื่อนไขที่ตกลงกัน 
 ส่วนยอมให้โดยการแลกเปลี่ยน 
(Trade-in Allowance) 
 ส่วนยอมให้จากการช่วยส่งเสริม 
การตลาด 
(Promotional Allowance) 
44 หลักการตลาด บทที่ 9
4. การลดราคา 
เป็นการลดราคาลงชั่วคราว มี 
กำาหนดระยะเวลาไว้ชัดเจน 
จุดประสงค์เพื่อให้มียอดขายใน 
ช่วงนั้นเพิ่มขึ้น หรือเพื่อ 
ระบายผลิตภัณฑ์ที่ล้าสมัย 
45 หลักการตลาด บทที่ 9 
SALE ! 
3 FOR 2
ราคา 
 วัตถุประสงค์ในการกำาหนด 
ราคา 
 ปัจจัยที่มีผลต่อการกำาหนด 
ราคา 
 วิธีการกำาหนดราคา 
 กลยุทธ์การกำาหนดราคา 
 กลยุทธ์การปรับราคา 
46 หลักการตลาด บทที่ 9

More Related Content

What's hot

ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58
ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58
ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58
somporn Isvilanonda
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
krookay2012
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
Visiene Lssbh
 
Econ Presentation 6
Econ Presentation 6Econ Presentation 6
Econ Presentation 6
wowwilawanph
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียว
purithem
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
Poy Thammaugsorn
 
โครงการ Safety valve
โครงการ Safety valveโครงการ Safety valve
โครงการ Safety valve
Weerawan Ueng-aram
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
Ornkapat Bualom
 
ชีววิทยา 7 วิชาสามัญ+เฉลย'55
ชีววิทยา 7 วิชาสามัญ+เฉลย'55ชีววิทยา 7 วิชาสามัญ+เฉลย'55
ชีววิทยา 7 วิชาสามัญ+เฉลย'55
Pathitta Satethakit
 
งานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยา
งานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยางานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยา
งานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยา
Wasin Kunnaphan
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
Gawewat Dechaapinun
 

What's hot (20)

6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
6กำหนดตารางเวลาโครงการ+เขียนข่ายงาน
 
ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58
ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58
ประเด็นการพัฒนาชนบทและภาคเกษตรในปัจจุบัน 31 03-58
 
ปริซึม
ปริซึมปริซึม
ปริซึม
 
การแก้อสมการ
การแก้อสมการการแก้อสมการ
การแก้อสมการ
 
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหาบทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
บทที่ 5 ข้อสรุปและข้อเสนอแนะ เนื้อหา
 
Ch.07 บาร์โค้ด (Bar Code)
Ch.07 บาร์โค้ด (Bar Code)Ch.07 บาร์โค้ด (Bar Code)
Ch.07 บาร์โค้ด (Bar Code)
 
Econ Presentation 6
Econ Presentation 6Econ Presentation 6
Econ Presentation 6
 
Presentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียวPresentation ตลาดชาเขียว
Presentation ตลาดชาเขียว
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
 
โครงการ Safety valve
โครงการ Safety valveโครงการ Safety valve
โครงการ Safety valve
 
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
Social-class (ชนชั้นทางสังคมกับพฤติกรรมผู้บริโภค : บทที่ 5 ) สำหรับนิสิต วิชา...
 
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
44 ตรีโกณมิติ ตอนที่1_อัตราส่วนตรีโกณมิติ
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
ชีววิทยา 7 วิชาสามัญ+เฉลย'55
ชีววิทยา 7 วิชาสามัญ+เฉลย'55ชีววิทยา 7 วิชาสามัญ+เฉลย'55
ชีววิทยา 7 วิชาสามัญ+เฉลย'55
 
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
5.โจทย์ปัญหาการซื้อขายและร้อยละ
 
งานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยา
งานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยางานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยา
งานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยา
 
Update management in wound care 16 oct 13
Update management in wound care 16 oct 13Update management in wound care 16 oct 13
Update management in wound care 16 oct 13
 
สถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจสถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจ
 
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
6 ทฤษฎีทางพฤติกรรมศาสตร์
 

Viewers also liked

บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
Ornkapat Bualom
 

Viewers also liked (15)

Ppt marketing g 9
Ppt marketing g 9Ppt marketing g 9
Ppt marketing g 9
 
Dbms
DbmsDbms
Dbms
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
Data management pub
Data management pubData management pub
Data management pub
 
ตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆตลาดประเภทต่างๆ
ตลาดประเภทต่างๆ
 
Database Ch1
Database Ch1Database Ch1
Database Ch1
 
Mai
MaiMai
Mai
 
Mi sch3
Mi sch3Mi sch3
Mi sch3
 
Present c5
Present c5Present c5
Present c5
 
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
Product and Price Policy (นโยบายผลิตภัณฑ์และราคา) บทที่ 2
 
Pricing strategy
Pricing strategyPricing strategy
Pricing strategy
 
04 association
04 association04 association
04 association
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
โครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาดโครงสร้างตลาด
โครงสร้างตลาด
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 

Similar to Marketing

Econ Presentation 5
Econ Presentation 5Econ Presentation 5
Econ Presentation 5
wowwilawanph
 
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลบทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
etcenterrbru
 
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลบทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
etcenterrbru
 

Similar to Marketing (12)

Genius foot
Genius footGenius foot
Genius foot
 
03 cvp
03 cvp03 cvp
03 cvp
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
01
0101
01
 
สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์สรุปกลยุทธ์
สรุปกลยุทธ์
 
01cost concept
01cost concept01cost concept
01cost concept
 
Econ Presentation 5
Econ Presentation 5Econ Presentation 5
Econ Presentation 5
 
Niche market.
Niche market.Niche market.
Niche market.
 
Business Model Canvass for NANO MBA 6 26 Jul 2015
Business Model Canvass for NANO MBA 6 26 Jul 2015Business Model Canvass for NANO MBA 6 26 Jul 2015
Business Model Canvass for NANO MBA 6 26 Jul 2015
 
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
บทที่ 4 ความได้เปรียบในการแข่งขันคืออะไร/ Chapter 4 What is competitive advan...
 
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลบทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
 
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคลบทที่ 8 การขายโดยบุคคล
บทที่ 8 การขายโดยบุคคล
 

More from halato (8)

Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Marketing
MarketingMarketing
Marketing
 
Desing
DesingDesing
Desing
 

Marketing

  • 1. ราคา  วัตถุประสงค์ในการกำาหนด ราคา  ปัจจัยที่มีผลต่อการกำาหนด ราคา  วิธีการกำาหนดราคา  กลยุทธ์การกำาหนดราคา  กลยุทธ์การปรับราคาโดย อ.เอก บุญเจือ 1 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 2. คุณค่าและราคา คุณค่า (Value)  เกณฑ์เชิงปริมาณที่ใช้วัดมูลค่า ของสินค้าหรือบริการในการแลก เปลี่ยน ราคา (Price)  มูลค่าของเงินที่ต้องจ่ายในการ แลกเปลี่ยนให้ได้มาซึ่งตัว ผลิตภัณฑ์ 2 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 3. วัตถุประสงค์ในการกำาหนด ราคา ขึ้นอยู่กับวัตถุประสงค์ด้านการตลาด ของกิจการ  ผู้นำาด้านคุณภาพ --> ราคาสูง  ผู้นำาส่วนแบ่งตลาด --> ราคาตำ่า พิจารณาความสัมพันธ์ระหว่างส่วน ประสมการตลาดทั้งหมด  ผลิตภัณฑ์ : ระดับคุณภาพที่ ผู้บริโภครับรู้  การจัดจำาหน่าย : คุณค่า และความสะดวก 3 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 4. วัตถุประสงค์ในการกำาหนด ราคา เพื่อรายได้ เพื่อยอดขาย เพื่อการแข่งขัน เพื่อสังคม 4 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 5. ปัจจัยที่มีผลต่อการกำาหนด ราคา 5 หลักการตลาด บทที่ 9 การกำาหนดราคา ปัจจัยด้านการแข่งขัน 1) โครงสร้างของตลาด 2) กลยุทธ์ของคู่แข่งขัน ปัจจัยภายนอกอื่น ๆ 1) ด้านเศรษฐกิจ 2) ด้านกฎหมาย ปัจจัยภายในกิจการ 1) ต้นทุน 2) วัตถุประสงค์ทางการตลาด และวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ 3) ศักยภาพของกิจการ ปัจจัยด้านผู้บริโภค 1) ความต้องการของผู้บริโภค 2) คุณค่าในสายตาของผู้บริโภค 3) ราคาในช่องทางการจัดจำาหน่า
  • 6. 1. ปัจจัยภายในกิจการ ต้นทุน  ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost)  ต้นทุนผันแปร (Variable Cost)  ต้นทุนรวม (Total Cost) = FC + VC  จุดคุ้มทุน (Break Even Point) วัตถุประสงค์ทางการตลาดในแต่ละ ช่วงของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ ศักยภาพของกิจการ 6 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 7. BEP (Value) = FC VC P 7 หลักการตลาด บทที่ 9 P TR BEP (= P x Q) Profit TC (= FC + VC) FC Q การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน เป็นการคำานวณหาปริมาณที่ รายได้รวม = ต้นทุนรวม BEP (Unit) = FC P - VC 1 - BEP (Value) = BEP (Unit) x P
  • 8. ย่างที่ 9-1 การคำานวณจุดคมุ้ทุน นของกิจการผลิตเทียนหอม นคงที่ (FC) งจักร 20,000 + โรงงาน 100,000= 120,000 นผันแปร (VC) 15 + สี 5 = 20 บาท ต่อชิ้นคาขาย (P) 120 บาท ต่BEP (Unit) = FC 8 หลักการตลาด บทที่ 9 BEP (Unit) = 1,200 ชิ้น BEP (Baht) = 1,200 x 120 P - VC = 120,000 120 - 20 = 144,000 บาท
  • 9. Units/$ Introduction Growth Maturity Decline 9 หลักการตลาด บทที่ 9 Time Sales ราคา ราคาสูง ลดราคา และ เพิ่มแนว ระดับราคา หรือตำ่าก็ได้ แต่ต้อง คุ้มทุน รักษาระดับ ราคาให้คงที่ หลีกเลี่ยง สงครามราคา ลดราคา (เลิกผลิต) ราคาคงที่ (ผลิตต่อ)
  • 10. 2. ปัจจัยด้านผู้บริโภค ความต้องการของผู้บริโภคที่เป็น ตลาดเป้าหมาย  ลักษณะของเส้นอุปสงค์  ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ที่มีต่อ ราคา  ความยืดหยุ่นของอุปสงค์แบบไขว้ คุณค่าในสายตาของผู้บริโภค ราคาในช่องทางการจัดจำาหน่ายที่ส่ง ผลถึงผู้บริโภคคนสุดท้าย 10 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 11. ลักษณะของเส้นอุปสงค์ เส้นอุปสงค์ (Demand Curve) P สินค้าทั่วไปส่วนใQหญ่ (Most Goods) 11 หลักการตลาด บทที่ 9 Inverse Demand Q P สินค้าฟุ่มเฟือย (Prestige Goods)
  • 12. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ที่ มีต่อราคา Price Elasticity = % change in Quantity % change in Price กรณีอุปสงค์มีความยืดหยุ่นสูง (Elastic Demand)  ค่าความยืดหยุ่นมากกว่า 1  การเปลี่ยนแปลงราคามีผลต่อปริมาณ การซื้อเป็นอย่างมาก กรณีอุปสงค์มีความยืดหยนุ่ตำ่า (Inelastic Demand) 12 หลักการตลาด บทที่ 9  ค่าความยืดหยุ่นน้อยกว่า 1
  • 13. ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ที่ มีต่อราคา Price Elasticity = % change in Quantity % change in Price Price Elasticity = Q1 - Q2P1 + P2 13 หลักการตลาด บทที่ 9 Q1 + Q2 X P1 - P2 คือ ปริมาณความต้องการซื้อก่อนเปลี่ยนแปลงคือ ปริมาณความต้องการซื้อหลังเปลี่ยนแปลงคือ ราคาเดิม (ก่อนการเปลี่ยนแปลงราคา) คือ ราคาใหม่ (หลังการเปลี่ยนแปลงราคา)
  • 14. 9-2 การาคาด้ามละ 5 บาท ขายได้ 10 ด้าม ราคาลงเหลือด้ามละ 4 บาท ขายได้ 20 ด้าม Q1 - Q2P1 + P2 Q1 + Q2 P1 - P2 = X 10 - 20 5 + 4 1=0 + 20 X 5 - 4 ราคาเดิม 5 x 10 = 50 ราคาใหม่ 4 x 20 = 80 กรณีนี้ควรลดราคา - 10 9 P x Q = 30 X 1 มยืดหยนุ่ = 3 มยืดหยนุ่ > 1 ; Elastic Demand 14 หลักการตลาด บทที่ 9 P Q 54 10 20
  • 15. เพิ่มเติม ผ้าราคาชุดละ 1000 บาท ขายได้ 5 ชุด ราคาลงเหลือชุดละ 600 บาท ขายได้ 7 ชุด Q1 - Q2P1 + P2 =Q1 + Q2X P1 - P2 5 – 7 1000+600 = 5 + 7 X 1000-600 - 2 1600 = 12 X 400 มยืดหยนุ่ = 0.67 มยืดหยนุ่ < 1 ; Inelastic Demand 15 หลักการตลาด บทที่ 9 P Q 1000 600 5 7 P x Q ราคาเดิม 1000 x 5 = 5000 ราคาใหม่ 600 x 7 = 4200 กรณีนี้ไม่ควรลดราคา
  • 16. 3. ปัจจัยด้านการแข่งขัน โครงสร้างของตลาด  ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Pure Competition)  ตลาดผูกขาด (Pure Monopoly)  ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly)  ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Monopolistic Competition) กลยุทธ์การตลาดของคู่แข่งขัน  พิจารณาจากศักยภาพการแข่งขัน ด้านราคา 16 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 17. ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ (Pure Competition) มีผู้ซื้อและผู้ขายจำานวนมาก ผลิตภัณฑ์ไม่มีความแตกต่างกัน สามารถทดแทนกันได้ ราคาเป็นไปตามกลไกของตลาด กำาหนดโดยผู้ซื้อและผู้ขาย 17 หลักการตลาด บทที่ 9 BBQ 10 B.
  • 18. ตลาดผูกขาด (Pure Monopoly) มีผู้ขายรายใหญ่เพียงรายเดียว ส่วนมากเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับ สัมปทาน หรือเป็นรัฐวิสาหกิจ ไม่มี ผลิตภัณฑ์อื่นทดแทน กำาหนดราคาได้ตามความพอใจ ยกเว้นมีกฎหมายควบคุม 18 หลักการตลาด บทที่ 9 BBQ 20 B.
  • 19. ตลาดผู้ขายน้อยราย (Oligopoly) มีจำานวนผู้ขายน้อย ส่วนมากเป็นผู้ ขายรายใหญ่ ผลิตภัณฑ์มีลักษณะพิเศษ ผู้ขายมี ความชำานาญเฉพาะ มีBBQ การรวมตัวกันในด้านราคาของ ทั้10 งอุตB. สาหกรรม 19 หลักการตลาด บทที่ 9 BBQ 10 B. BBQ 10 B. 12 B. 12 B. 12 B.
  • 20. ตลาดแข่งขันไม่สมบูรณ์ (Monopolistic Competition) เป็นตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด ผลิตภัณฑ์แตกต่างกันด้านคุณภาพ รูปแบบ หรือบริการ ราคาขึ้นอยู่กับความสามารถใน BBQ การสร้างความแตกต่าง BANANA 10 B. BBQ APPLE 15 B. 20 หลักการตลาด บทที่ 9 BBQ PUMKIN 12 B. BBQ GRAPE 18 B.
  • 21. 4. ปัจจัยภายนอกอนื่ ๆ ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ  ภาวะเงินเฟ้อ/เงินฝืด อัตราดอกเบยี้ อัตราการว่างงาน ฯลฯ  มีผลต่อทั้งอำานาจซื้อของผู้บริโภค และต้นทุนของกิจการ ปัจจัยด้านกฎหมาย  กฎหมายควบคุมราคา การเก็บภาษี การคมุ้ครองผู้บริโภค ฯลฯ  มีผลต่อต้นทุนของกิจการ การ 21 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 22. แนวความคิดในการ กำาหนดราคา ราคาสูงเกินไป ไม่มีผตู้้องการซื้อ Competitor’s prices and other external and internal factors 22 หลักการตลาด บทที่ 9 Ceiling Price Floor Price Customer Value Cost Price GAP ช่องว่างในการ กำาหนดราคา ราคาตำ่าเกินไป ทำาให้กิจการขาดทุน
  • 23. วิธีการกำาหนดราคา การกำาหนดราคาโดยยึดต้นทุนเป็น หลัก (Cost-based Pricing)  วิธีการบวกเพมิ่จากต้นทุน (Cost-plus)  วิธีการใช้ส่วนเพิ่ม (Markup)  วิธีการกำาหนดเป้าหมายกำาไร (Target Profit) การกำาหนดราคาโดยยึดคุณค่าเป็น หลัก 23 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 24. การกำาหนดราคาโดยบวกเพิ่มจาก ต้นทุน (Cost-plus Pricing) คำานวณง่าย สะดวก  ประมาณการยอดขาย  คำานวณต้นทุนต่อหน่วย  กำาหนดกำาไรต่อหน่วยที่ต้องการ มีข้อควรระวังในการคำานวณ ต้นทุนต่อหน่วย ที่เป็นต้นทุนเฉลี่ย ณ ระดับการประมาณการยอดขาย 24 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 25. ที่ 9-3 ผลิตเข็มขัด มีต้นทุนผันแปร เส้นละ 100 บาต้นทุนคงที่รวม 3,000,000 บาทต่อเดือน คาดว่าจะขายได้เดือนละ 50,000 เส้น ต้องการได้กำาไร เส้นละ 50 บาท วย = VC + FC = 100 + 3,000,000 Q 50,000 คาขาย = ต้นทุนต่อหน่วย + กำาไรที่ต้อง= 160 + 50 = 210 บาท 25 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 26. การกำาหนดราคาโดยใช้ส่วนเพิ่ม (Markup Pricing) สะดวกในการเปรียบเทียบราคาขาย ทำาให้เข้าใจโครงสร้างต้นทุน ราคา และกำาไร  กำาหนดร้อยละส่วนเพิ่ม (Markup Percentage) ที่ต้องการ  คำานวณราคาโดยอ้างอิงต้นทุน และร้อยละส่วนเพิ่ม มีวิธีคำานวณ 2 แบบ คือ 26 หลักการตลาด บทที่ 9  Markup on Cost
  • 27. 4 และ 9-5 ทุน 160 บาท ต้องการกำาไร 20% จะตั้งราคาเท่ายบบัญญัติไตรยางศ์จPาrกicสeูต ร= Cost + Mark-Up Mark-Up on Cost Mark-Up on Price Price = Cost + Mark-Up Price = 100 + 20 120= 100 + 20 คิด 100 ขาย 120 160 ขาย 120 x 160 100 ตอบ ขาย 192 บาท 27 หลักการตลาด บทที่ 9 Price = Cost + Mark-Up 100= Cost + 20 100= 80 + 20 วิธีคิด ทุน 80 ขาย 100 ทุน 160 ขาย 100 x 160 80 ตอบ ขาย 200 บา
  • 28. การกำาหนดเป้าหมายกำาไร (Target Profit Pricing) นำาแนวคิดเรื่องจุดคุ้มทุน (Break Even) มาใช้ใน การกำาหนดราคา การคำานวณกำาไรส่วนที่เกิน จากต้นทุนคงที่ ใช้สูตร 28 หลักการตลาด บทที่ 9 P TR BEP (= P x Q) Profit TC (= FC + VC) FC Q FC Contribution = P - VC
  • 29. 9-6 ปากกาแห่งหนึ่ง มีต้นทุนคงที่ 600 บาท แปร ด้ามละ 5 บาท ตั้งราคาขาย ด้ามละ 15 บาBEP (Unit) = FC 29 หลักการตลาด บทที่ 9 FC Contribution = P - VC P - VC = 600 15 - 5 = 15 - 5 = 10 บาทต่อหน่วย ดังนั้น จะต้องขายเพิ่มขนึ้อีก = 200 BEP (Unit) = 60 ด้าม องการกำาไร 200 บาท 10 องขายปากกาให้ได้กี่ด้าม? = 20 ด้าม รวมเป็นต้องขายทั้งสนิ้ 80 ด้า
  • 30. การกำาหนดราคาโดยยึด คุณค่าเป็นหลัก พิจารณาจากการรับรู้ของผู้บริโภคที่ มีต่อราคาและคุณภาพ ในการกำาหนดราคา กิจการต้อง คำานึงถึงความเหมาะสมระหว่าง  ราคาที่กิจการกำาหนด กับ  คุณค่าของผลิตภัณฑ์ที่ผู้บริโภครับ รู้ (Perceived Value) ใช้ส่วนประสมทางการตลาดอีก 3 ตัว คือ 30 หลักการตลาด บทที่ 9 35 B.
  • 31. กลยุทธ์ราคา กลยุทธ์การกำาหนดราคา ราคาสำาหรับ ผลิตภัณฑ์ใหม่ 31 หลักการตลาด บทที่ 9 ราคาสำาหรับ ผลิตภัณฑ์โดยทั่วไป กลยุทธ์การปรับราคา
  • 32. กลยุทธ์การกำาหนดราคา สำาหรับผลิตภัณฑ์ใหม่ ผลิตภัณฑ์ใหม่แบบริเริ่ม (Innovative Product) และ ผลิตภัณฑ์ใหม่แบบปรับปรุง (Modified Product)  กลยุทธ์ราคาหัวกะทิ  กลยุทธ์ราคาเจาะตลาด ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เลียนแบบ (Me-too Product) กลยุทธ์ราคาตามระดับราคาและ 32 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 33. 1. กลยุทธ์ราคาหัวกะทิ Ceiling Price กลยุทธ์ราคาหัวกะทิ (Skimming Pricing Strategy) Price Gap Floor Price กำาหนดราคาสูงในช่วงแรก หลังจากนั้นอาจลดราคาลง เหมาะกับผลิตภัณฑ์ใหม่ที่มี ความแตกต่าง ต้องการใช้เงิน ลงทุนมาก เทคโนโลยี เปลี่ยนแปลงเร็ว ราคาสูงแสดง ถึงภาพลักษณ์ที่ดี อุปสงค์มี 33 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 34. 2. กลยุทธ์ราคาเจาะตลาด Ceiling Price กำาหนดราคาตำ่าตั้งแต่ช่วงแรก เพื่อให้เข้าสู่ตลาดได้ง่าย เหมาะกับผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ไม่มี ความแตกต่าง สามารถลด ต้นทุนผลิตได้จากการผลิต จำานวนมาก ผู้บริโภคให้ความสำาคัญต่อราคา (Price Sensitive) อุปสงค์มีความยืดหยนุ่สูง (Elastic Demand) กลยุทธ์ราคาเจาะตลาด Price Gap (Penetration Pricing Strategy) Floor Price 34 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 35. 3. กลยุทธ์ราคาตามระดับ คุณภาพ กำาหนดราคาโดยอ้างอิงจากราคา ของคู่แข่งขัน กลยุทธ์คุณภาพสูง ราคาสูง (Premium Strategy) กลยุทธ์ราคาเกินคุณภาพ (Overcharging Strategy) 35 หลักการตลาด บทที่ 9 กลยุทธ์คุณภาพเกินราคา (Good-value Strategy) กลยุทธ์ประหยัด (Economy Strategy) คุณภาพ สูง คุณภาพ ตำ่า ราคาสูง ราคาตำ่า
  • 36. กลยุทธ์การกำาหนดราคา สำาหรับผลิตภัณฑ์โดยทั่วไป กลยุทธ์ราคาเพื่อการแข่งขัน กลยุทธ์ราคาสำาหรับสายผลิตภัณฑ์ กลยุทธ์ราคาเชิงจิตวิทยาและภาพ ลักษณ์ กลยุทธ์ราคาบนฐานการกระจาย ตัวสินค้า 36 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 37. 1. กลยุทธ์ราคาเพื่อการ แข่งขัน การกำาหนดราคาเท่ากับคู่แข่งขัน การกำาหนดราคาตำ่ากว่าคู่แข่งขัน การกำาหนดราคาสูงกว่าคู่แข่งขัน การประมูล การประกวดราคา (Sealed Bid) 37 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 38. 2. กลยุทธ์ราคาสำาหรับสาย ผลิตภัณฑ์ แนวระดับราคา (Price Lining) ราคาของผลิตภัณฑ์ที่ต้องใช้ร่วม กัน (Captive Product Pricing) ราคาของผลิตภัณฑ์ที่เลือกส่วน ประกอบได้ (Optional Product Pricing) ราคาสำาหรับการขายควบ (Price Bundling) ราคาสำาหรับการขายหลายหน่วย (Multiple Unit Pricing) 38 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 39. 3. กลยุทธ์ราคาเชิง จิตวิทยาและภาพลักษณ์ ราคาเลขคี่/เลขคู่ (Odd/Even Pricing) ราคาเพื่อชื่อเสียง (Prestige Price) 39 หลักการตลาด บทที่ 9 99 B. 2,200 B. 1,300,000 B.
  • 40. 4. กลยุทธ์ราคาบนฐาน การกระจายตัวสินค้า ราคาหน้าโรงงาน (F.O.B. Pricing) ราคารวมค่าขนส่ง (Delivery Pricing)  การส่งมอบราคาเดียว (Uniform Delivered Pricing)  การกำาหนดราคาตามเขต (Zone 40 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 41. กลยุทธ์การปรับราคา การปรับราคาให้แตกต่างกัน (Discriminatory Pricing) การปรับราคาโดยการให้ส่วนลด (Discount Pricing) การปรับราคาโดยส่วนยอมให้ (Allowance Pricing) การลดราคา (Mark-down Pricing) 41 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 42. 1. การปรับราคาให้แตก ต่างกัน ต้องสามารถแบ่งแยกส่วนตลาดได้ อย่างชัดเจน และสามารถป้องกัน การโยกย้ายผลิตภัณฑ์ระหว่าง ตลาดได้  การปรับราคาให้แตกต่างกันตาม กลุ่มลูกค้า  การปรับราคาโดยให้ส่วนลด สำาหรับตลาดรอง การปรับราคาให้แตกต่างกันตาม 42 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 43. 2. การปรับราคาโดยการ ให้ส่วนลด เป็นการลดราคาจากราคาที่ได้จัด ทำาไว้ในบัญชีราคา (Price List) ตามเงื่อนไขที่กำาหนดและไม่มี กำาหนดระยะเวลา  ส่วนลดเงินสด (Cash Discount)  ส่วนลดปริมาณ (Quantity Discount)  ส่วนลดตามหน้าที่ (Functional Discount) 43 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 44. 3. การปรับราคาโดยใช้ ส่วนยอมให้ เป็นส่วนลดที่ผขู้าย “ยอมให้” แก่ผู้ ซื้อตามเงื่อนไขที่ตกลงกัน  ส่วนยอมให้โดยการแลกเปลี่ยน (Trade-in Allowance)  ส่วนยอมให้จากการช่วยส่งเสริม การตลาด (Promotional Allowance) 44 หลักการตลาด บทที่ 9
  • 45. 4. การลดราคา เป็นการลดราคาลงชั่วคราว มี กำาหนดระยะเวลาไว้ชัดเจน จุดประสงค์เพื่อให้มียอดขายใน ช่วงนั้นเพิ่มขึ้น หรือเพื่อ ระบายผลิตภัณฑ์ที่ล้าสมัย 45 หลักการตลาด บทที่ 9 SALE ! 3 FOR 2
  • 46. ราคา  วัตถุประสงค์ในการกำาหนด ราคา  ปัจจัยที่มีผลต่อการกำาหนด ราคา  วิธีการกำาหนดราคา  กลยุทธ์การกำาหนดราคา  กลยุทธ์การปรับราคา 46 หลักการตลาด บทที่ 9