SlideShare a Scribd company logo
1 of 83
วิชำ ส33102 
เรื่อง อำรยธรรมอินเดีย 
ผู้จัดทำ 
1. นางสาวกุลนิภา ธารธนานุกร ม.6.1 เลขที่ 3 
2. นางสาวพรณิชา แก้วคูณ ม.6.1 เลขที่ 16 
นำเสนอ 
อ.ปรางค์สุวรรณ ศักด์ิโสภณ 
ปีกำรศึกษำ 2557 
โรงเรียนสตรีวิทยำ
อารยธรรมอินเดียได้ก่อกา เนิดขึ้นบริเวณลุ่มแม่น้า สินธุ 
ซึ่งปัจจุบันบริเวณส่วนใหญ่อยู่ในประเทศปากีสถาน บางที 
เรียกว่า“แหล่งอารยธรรมลุ่มแม่น้า สินธุ” 
Sindhu Hindu Indus India
ปัจจัยทำงภูมิศำสตร์กับกำรตั้งถนิ่ฐำน
ภูมิประเทศ 
-ลุ่มแม่น้า สินธุเป็นที่ราบลุ่มแม่น้า กว้างใหญ่ มีต้นกา เนิดมา 
จากเทือกเขาในทิเบต ไหลลงสู่ทะเลอาหรับ 
-พื้นที่มีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ด้วยแร่โลหะ 
จา พวกทองและโลหะที่นา มาทา สา ริด 
ภูมิอำกำศ 
-เป็นแบบลมมรสุม แห้งแล้งและมีอากาศร้อนจัด 
น้า ที่ใช้ในการเกษตรมาจากแม่น้า เป็นหลัก
ลักษณะทตี่ั้ง 
ตอนเหนือ 
-มีเทือกเขาหิมาลัยที่สูงชันกั้น 
-มีช่องแคบไคเบอร์ทางตะวันตกเฉียงเหนือที่ติดต่อกับดินแดน 
อื่นทางตะวันตกได้ เช่นเปอร์เซีย กรีก และโรมัน 
-อินเดียตอนเหนือจึงรับอารยธรรมผ่านทางช่องแคบไคเบอร์ 
ทั้งที่มาจากการติดต่อค้าขายและรุกรานของชาติอื่นๆ เช่น พวก 
อารยันและมุสลิม
ตะวันตกและตะวันออก 
-เป็นที่ราบลุ่มแม่น้า สินธุ แม่น้า คงคา และแม่น้า สาขา 
-มีความอุดมสมบูรณ์เหมาะแก่การประกอบเกษตรกรรม 
-เป็นบ่อเกิดของศาสนา ความเชื่อและพิธีกรรมต่างๆ 
ในอารยธรรมอินเดีย 
ตอนกลำง 
-เป็นเขตที่ราบสูงเดกกันที่แห้งแล้งและทุรกันดาร เพราะถูก 
ขนาบด้วยเทือกเขาสูง 
-เป็นพื้นที่เกษตรกรรมของชาวอินเดีย (เป็นเขตเศรษฐกิจ) 
-ยังคงอุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรป่าไม้และแร่ธาตุต่างๆ
ตอนใต้ 
-มีที่ราบแคบยาวขนานกับชายฝั่งมหาสมุทรอินเดียทั้ง 2 ฝั่ง 
-ประชากรแถบนี้มีการติดต่อค้าขายแลกเปลี่ยนอารยธรรม 
กับดินแดนอื่น เช่น อียิปต์ เมโสโปเตเมีย ลังกา และดินแดนในเขต 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 
-อารยธรรมของชาวอินเดียใต้จึงมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างจาก 
ชาวอินเดียทางตอนเหนือ
อำรยธรรมอินเดียสมัยก่อนประวัติศำสตร์ 
(2550-1500 ปีก่อนคริสต์ศักรำช)
ชาวพื้นเมือง 
-ชนเผ่าทราวิฑหรือดราวิเดียน 
-มีรูปร่างเล็ก ผิวคล้า 
-เป็นที่เกลียดชังของชาวอารยันผู้ดา รงอารยธรรมเมโสโปเตเมีย 
-โดนดูถูกว่า เป็นพวกที่มีความล้าหลัง มีวิถีชีวิต วัฒนธรรม 
ประเพณีที่แปลกประหลาด 
-มีภาษาและอักษรทมิฬ บ่งบอกถึงความเป็นรัฐชาติในอดีต 
-ปัจจุบันกลายเป็นชนกลุ่มน้อย ที่มีภาษาตนเอง
ชาวทมิฬ อักษรทมิฬ
เมืองโบราณที่สา คัญ (ศูนย์กลางอารยธรรม) 
-เมืองฮารัปปาและโมเฮนโจดาโร 
-ปัจจุบันอยู่ในประเทศปากีสถาน 
-มีอาคารบ้านเรือนที่ก่อด้วยอิฐและดินเป็นจา นวนมาก 
-มีประตู หน้าต่าง พื้นบ่อ ท่อระบายน้า ที่สร้างด้วยอิฐ
-มีที่อาบน้า ใหญ่มีถนนกว้าง มีทางระบายน้า อย่างดี 
-แสดงให้เห็นว่าผู้สร้างต้องเป็นผู้ชา นาญการในการ 
ออกแบบก่อสร้างดีมาก 
-ขุดพบตึกหลายชั้นที่เมืองโมเฮ็นโจดาโร สันนิษฐานว่าเมื่อ 
เมืองชั้นหนึ่งถูกทับถมขึ้นมาด้วยการพอกพูนของแผ่นดินหรือน้า 
ท่วม ก็มีการสร้างเมืองใหม่ลงบนที่เก่าตามแผนผังเมืองเก่า
เครื่องมือเครื่องใช้ 
-พบเครื่องมือที่ทา จากเขาสัตว์ กระดูกสัตว์ หิน และ สา ริด 
-พบดวงตรากับเครื่องประดับต่างๆ ซึ่งมีลักษณะเดียวกับที่ 
พบบริเวณเมโสโปเตเมีย 
-เชื่อว่าในแถบนี้มีการติดต่อกับชุมชนเมโสโปเตเมีย 
ความเชื่อ 
-พบดวงตรารูปเทวดา ล้อมด้วยเสือ สิงห์ 
กระทิง แรด สันนิษฐานว่าหมายถึงพระศิวะ 
-พบศิวลึงค์ สัญลักษณ์ของนิกายไศวะ 
ในศาสนาพราหมณ์
การแต่งกาย 
-มีการนา ผ้าฝ้ายมาตัดเย็บเป็นเครื่องนุ่งห่ม 
-มีเครื่องประดับที่ทา ด้วยทอง เงิน งาช้าง ทองแดง และหินที่มีค่า 
-พบแผ่นประทับตราคนและสัตว์ 
เครื่องประดับอินเดียโบราณ
ศิลปกรรม 
-เช่น รูปปั้นดินเผาของชายมีเครายาว ดวงตราแกะสลักรูป 
สัตว์ที่มีความประณีตต่างๆ แสดงออกถึงความเจริญของชาวสินธุ
ภาพแกะสลักบนหินรูปคนและสัตว์ต่าง ๆ
อำรยธรรมลุ่มน้ำสินธุ 
-รุ่งเรืองอยู่ราว 1000 ปี 
-เสื่อมลงราว 1500 ปีก่อนคริสต์ศักราช 
+สาเหตุ -ภัยธรรมชาติ คือน้า ท่วมและพายุทราย 
-การถูกรุกรานจากพวกอารยัน 
ชนเผ่ำอินโด-อำรยันรุกรำน 
-อพยพเข้ามาอยู่ในแถบลุ่มน้า สินธุ 
-พวกดราวิเดียน ต้องอพยพลงใต้ 
-บางส่วนแต่งงานหรือไม่ก็กลายเป็นทาสพวกอารยัน 
-ทา ให้เกิดการแบ่งชั้นวรรณะในอินเดียต่อมา
ลักษณะทั่วไปของชำวอำรยัน 
-สืบเชื้อสายมาจากพวกอินโดยูโรเปียน ทางแถบทะเลสาบแคสเปียน 
-รูปร่างสูงใหญ่ ผิวขาว จมูกโด่ง 
-เป็นพวกกึ่งเร่ร่อน อาชีพสา คัญคือการเลี้ยงสัตว์ 
-นิยมจับงานเลี้ยง มีการดื่มของมึนเมา ร้องราทา เพลง 
-มีความสามารถในการรบ และประดิษฐ์อาวุธได้ยอดเยี่ยม 
-ชายอารยันนิยมมีภรรยาคนเดียว 
-ฐานะสตรีค่อนข้างสูง 
-เริ่มมีการแบ่งชั้นวรรณะทางสังคม
กำรปกครองแบบชนเผ่ำอำรยัน 
สมัยแรก 
-แยกกันอยู่เป็นชนเผ่า แต่ละเผ่ามีหัวหน้าเป็นผู้ปกครอง 
-มีที่ประชุมเผ่า ประกอบด้วยสภา(ที่ประชุมของบุคคลสา คัญ)และ 
สมิติ(ที่ประชุมของราษฎร) 
-การขึ้นครองราชย์ราชา ต้องได้รับความเห็นชอบจากที่ประชุม 
สมัยหลัง 
-ขยายตัวไปทางตะวันออก เหนือและบริเวณลุ่มน้า คงคา 
-ปกครองแบบราชาธิปไตย 
-ราชาทรงเป็นเหมือนสมมติเทพ 
-สภาและสมิติเริ่มหมดความสา คัญไป
อำรยธรรมอินเดียสมัยประวัติศำสตร์
สมัยมหำกำพย์ (900-600 ปีก่อนคริสต์ศักรำช) 
-เกิดอาณาจักรใหม่บริเวณลุ่มน้า คงคามีลักษณะเป็นนครรัฐ 
-ปกครองแบบราชาธิปไตย ราชามีฐานะเป็นสมมุติเทพ 
-มีการแบ่งวรรณะชัดเจน 4 วรรณะ พราหมณ์ กษัตริย์ แพศย์ ศูทร 
-มีการติดต่อค้าขายทางเรือ กับอาณาจักรเมโสโปเตเมีย อียิปต์อาราเบีย
รำมำยณะ (Ramayana) 
-แต่งโดย ฤๅษีวาลมิกิ 
-แพร่ไปสู่หลายประเทศในเอเชีย 
ในเมืองไทยเรียกว่า รามเกียรต์ิ 
ในลาวเรียกว่าพระลักษณ์พระราม 
ในอินโดนีเซียเรียก รามายณะ 
-เนื้อหากล่าวถึงสงครามระหว่างมนุษย์กับยักษ์ ซึ่งหมายถึงการ 
ขยายอา นาจลงภาคใต้ของชนเผ่าอารยันในระยะเริ่มแรก 
-เป็นวรรณกรรมยาวเป็นที่สองรองมาจาก มหาภารตะ มีโศลก 
24,000 บท แบ่งออกเป็น 7 กัณฑ์
มหำภำรตะ (Mahabharata) 
-เป็นเรื่องที่ใหญ่ที่สุด มีโศลกมากถึง 100,000 บท 
-แต่งโดยฤๅษีวยาสะหรือ กฤษณะ ไทวปายน 
-กล่าวถึงการทา สงครามกันระหว่างตระกูลเการพและปาณฑพ หมายถึง 
การขยายอา นาจของชนเผ่าอารยันจนกลายเป็นแคว้นต่างๆ 
-ตอนสา คัญของเรื่องได้ถูกแยกประพันธ์เป็นคัมภีร์ภควัทคีตา(ศาสนาฮินดู) 
-มีอิทธิพลต่อชาวอินเดียที่นับถือศาสนาฮินดูมาถึงปัจจุบัน
สมัยจักรวรรดิ (600 ปีก่อนคริสต์ศักรำช-ปลำยค.ศ.ที่10) 
-ปกครองแบบสาธารณรัฐไม่จา กัดสิทธิเสรีภาพของประชาชน 
-ไม่ขัดขวางการแสดงออกซึ่งความคิดที่เป็นอิสระและเป็นของตัวเอง 
-เกิดนักคิด และผู้นา ทางลัทธิศาสนาใหม่เช่น สมเด็จพระสมัมาสมั 
พุทธเจ้าเป็นสมัยที่มีความสา คัญต่อการวางรากฐานของแบบแผนทาง 
สังคมศิลปะ และวัฒนธรรมอินเดีย ที่สืบทอดมาถึงปัจจุบัน
สมัยจักรวรรดิมคธ 
กษัตริย์ทีมีชื่อเสียง 
-พระเจ้าพิมพิสาร 
+ครองเมืองราชคฤห์แคว้นมคธ 
+เป็นพระสหายกับพระพุทธเจ้าสมัยที่ยังเป็นพระกุมาร 
+ทรงนับถือพระพุทธศาสนาและเป็นพระโสดาบัน 
+เป็นกษัตริย์ผู้ทรงธรรมทรงอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาเป็นอย่างดี
-พระเจ้าอชาตศัตรู 
+เป็นพระโอรสในพระเจ้าพิมพิสาร 
+ทรงกระทา ปิตุฆาต คือฆ่าพ่อตนเอง 
+แต่หลังพระบิดาสิ้นพระชนม์ก็สา นึกถึงกรรมที่ได้ทา 
+จึงทรงบา เพ็ญกุศลต่างๆและทรงปฏิญาณตนเป็นอุบาสก 
+พระองค์ทา นุบา รุงพระพุทธศาสนาด้วยดีโดยตลอด
การปกครอง 
-กษัตริย์มีอา นาจสูงสุด 
-มีขุนนาง3ฝ่าย (มหามาตระ) คือฝ่ายบริหาร ตุลาการ และการทหาร 
ศูนย์กลางของพระพุทธศาสนา 
-ได้รับการอุปถัมภ์จากพระเจ้าพิมพิสารและพระเจ้าอชาตศัตรู 
-ทา ให้พระพุทธศาสนาได้รับการเผยแพร่ไปอย่างกว้างไกล 
-ขณะเดียวกันศาสนาพราหมณ์ก็เสื่องลง
สมัยจักรวรรดิเมำรยะหรือโมริยะ 
-เมืองหลวงของจักรวรรดิตั้งอยู่ที่เมืองปาฏลีบุตร 
-ก่อตั้งขึ้นโดยเจ้าชายจันทรคุปต์เมารยะ ผู้โค่นล้มราชวงศ์นันทะ 
-ทรงขยายอา นาจอย่างรวดเร็วโดยการฉวยโอกาสจากความ 
ปั่นป่วนในท้องถิ่นต่างๆ ที่เกิดขึ้นหลังจากการถอยทัพไปทางตะวันตกของ 
กองทัพกรีกและเปอร์เชียของพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช
ระเบียบการปกครอง 
-รวมอา นาจไว้ที่กษัตริย์และเมืองหลวง 
-กษัตริย์มีอา นาจสูงสุดในการบริหาร ตรากฎหมาย การศาลและการทหาร 
-มีสภาเสนาบดี(ข้าราชการระดับสูง)และสภาแห่งรัฐ(ที่ปรึกษา)เป็นผู้ช่วย 
-มีการจัดตั้งหน่วยงานกระจายอยู่ เพื่อรายงานมายังเมืองหลวง 
-มีการสร้างถนน สารวจสามะโนครัว มีระบบชลประทาน 
-มีการสร้างมหาวิทยาลัยหลายแห่ง
พระเจ้าอโศกมหาราช 
-กษัตริย์องค์ที่ 3 ของราชวงศ์เมารยะ 
-เดิมเป็นพระเจ้าแผ่นดินที่โหดร้าย ชอบการทา สงครามจน 
ได้รับสมญานามว่า จัณฑาโศกราช (พระเจ้าอโศกผู้โหดเหี้ยม) 
-หลังจากที่พระองค์หันมานับถือพระพุทธศาสนา พระองค์ก็ 
ทรงกลายเป็นองค์เอกอัครพุทธศาสนูปถัมภก์ 
-ทรงบา รุงพระพุทธศาสนาให้มีความเจริญรุ่งเรืองและแผ่ขยาย 
มากที่สุดในประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา
พระเจ้าอโศกมหาราช 
-ทรงให้อิสรภาพในการนับถือศาสนาแก่ประชาชน 
-ได้ทรงปลดข้อห้ามที่เคร่งครัดต่างๆของศาสนาพราหมณ์ 
ให้หญิงม่ายแต่งงานใหม่ได้ 
-ภายหลังทรงได้รับการขนานพระราชสมัญญานามว่า 
ธรรมาโศกราช (พระเจ้าอโศกผู้ทรงธรรม) 
เมื่อสิ้นสมัยพระเจ้าอโศกมหาราชแล้ว จักรวรรดิเมารยะได้เสื่อมลงอย่าง 
รวดเร็วภายในเวลาเพียง 50กว่าปี ต่อมาราชวงศ์เมารยะก็สิ้นสุดลง
สมัยแบ่งแยกและกำรรุกรำนจำกภำยนอก (183 ปีก่อนค.ศ.-ค.ศ.300) 
กษัตริย์ที่มีชื่อเสียง 
พระเจ้ากนิษกะ 
-เป็นกษัตริย์พระองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์กุษาณะ 
-ทรงเป็นผู้กา หนดมหาศักราชขึ้น 
-ทรงเป็นองค์อัครราชูปถัมภ์ที่ยิ่งใหญ่ของพุทธศาสนานิกายมหายาน 
-ได้รับขนานนามว่า "พระเจ้าอโศกองค์ที่ 2" 
-ทรงได้เผยแพร่ศาสนาไป จีน ญี่ปุ่น และทิเบต
ภาพพระเจ้ากนิษกะบนเหรียญทอง และอีกด้านเป็นรูปพระพุทธเจ้า
แคว้นที่มีอา นาจ 
-แคว้นคันธาระ ในเขตลุ่มน.สินธุ ตั้งอยู่ทางเหนือหรือ 
ตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย 
ผลกระทบจากการเสื่อมอา นาจลงของจักรวรรดิเมารยะ 
-อาณาจักรแบ่งแยก มีการทา สงครามแย่งชิงอา นาจกัน 
-มีการรุกรานจากภายนอก 
+กรีก 
+อิหร่าน/เปอร์เซีย 
+ศกะ/ศากยะ(Scythian) 
+กุษาณะ(ตะวันตกเฉียงเหนือของอินเดีย)
สมัยจักรวรรดิคุปตะ(ค.ศ.320-535) 
พระเจ้าจันทรคุปต์ที่1 
-ปราบอาณาจักรต่างๆในอินเดียภาคเหนือเข้ามารวมกัน 
-ตั้งกรุงปาฏลีบุตรเป็นราชธานี 
-ในพิธีบรมราชาภิเษกได้โปรดให้ออกเหรียญที่ระลึก 
ประทับตราราชวงศ์เรียกว่า คุปตะ 
พระเจ้าสมุทรคุปต์ 
-โอรสของจันทรคุปต์ที่1 
-ได้แผ่อาณาจักรออกไปทางเหนือจรดภูเขาหิมาลัย และ 
ทางใต้จรดแม่น้า นาร์บัด และยังได้ปราบปรามพวกกลิงค์(จาก 
แคว้น กลิงคราษฎร์)และพวกปัลวะลงไปจนใต้สุดของอินเดีย
พระเจ้าจันทรคุปต์ที่2 หรือพระเจ้าวิกรมาทิตย์ 
-โอรสของพระเจ้าสมุทรคุปต์ 
-ได้ทา การขยายอาณาเขตออกไปทางภาคตะวันตก 
-ได้รับสมญาว่าเป็นองค์อุปถัมภ์การเล่าเรียนศิลปวิทยาการ 
เหรียญกษาปณ์ สมัยพระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 2
ยุคทองของอินเดีย 
ด้านวรรณคดีและศิลปกรรม 
-ยุคทองของวรรณคดีสันสกฤต 
-กวี กาลิทาส แต่งวรรณกรรมที่มีชื่อเสียง คือเรื่องศกุนตลา
มหาวิทยาลัยนาลันทา 
ด้านวิชาการ 
-มีมหาวิทยาลัยต่างๆเกิดขึ้นมากมาย เช่น มหาวิทยาลัยนาลันทา 
มหาวิทยาลัยพาราณสี
ด้านวิทยาศาสตร์ 
-นักวิทยาศาสตร์ที่มีชื่อเสียงคือ อารยภตา 
-ศึกษาทางด้านดาราศาสตร์และคณิตศาสตร์ 
-มีการประดิษฐ์คิดค้นหลายอย่าง เช่นการทา สบู่และซีเมนต์ 
ด้านการแพทย์ 
-ได้รับการยกย่องว่ามีวิธีการและเทคนิคสูงในการรักษา 
โดยเฉพาะในการผ่าตัด 
-มีการรักษาความสะอาดและป้องกันเชื้อโรคอย่างเคร่งครัด 
-การใช้ยาประเภทต่างๆ ก็นับว่ามีความก้าวหน้า 
-แพทย์อินเดียรู้จักใช้ยาหลายขนานก่อนชาวยุโรป และยาบาง 
ชนิดยังคงใช้รักษาโรคมาจนปัจจุบัน
ด้านศาสนา 
-สมัยพระเจ้าสมุทรคุปต์ ทรงอนุญาตให้ 
ชาวลังกาสร้างวัดของพุทธศาสนานิกายเถรวาท 
ขึ้นในจักรวรรดิได้ 
-สมัยพระเจ้าจันทรคุปต์ที่2 มีการส่งเสริม 
พระพุทธศาสนาไปต่างแดน จากการที่หลวงจีนฟา 
เหียนเดินทางนาพระไตรปิฎกจากอินเดียกลับไปจีน 
หลวงจีนฟาเหียน 
รัชสมัยของพระเจ้าจันทรคุปต์ที่ 2 สิ้นสุดลงใน ค.ศ.413 หลังจากนั้น 
อาณาจักรของราชวงศ์คุปตะก็เริ่มแตกแยก และสิ้นสุดลงในที่สุด
หลังสมัยจักรวรรดิคุปตะ(ปลายคริสต์ศตวรรษที่5เป็นต้นมา) 
อาณาจักรปัลลวะ 
-ที่ประชาชนส่วนใหญ่นับถือศาสนาพราหมณ์เรืองอา นาจ 
ทา ให้ศาสนาพุทธและศาสนาเซนค่อยๆเสื่อมลง 
อาณาจักรโจฬะ 
-ศูนย์กลางอา นาจอยู่ที่ ทมิฬนาดู 
-ประชาชนพูดภาษาทมิฬและนับถือศาสนาพราหมณ์-ฮินดู 
-มีการเผยแพร่ศาสนาไปยังเอเชียตอนใต้ ครอบคลุมพม่า 
เกาะสุมาตรา แหลมมลายู เกาะชวา และเกาะบอร์เนียว 
-มีการสร้างเทวาลัยขนาดใหญ่
จักรวรรดิโจฬะในสมัยที่รุ่งเรืองที่สุดราว ค.ศ. 1050
สมัยมุสลิม(ปลำยคริสต์ศตวรรษ10-19) 
มุสลิมเชื้อสายเติร์กจากเอเชียกลางรุกราน(ปลายคริสต์ศตวรรษที่10) 
-ใช้อัฟกานิสถานเป็นฐานขยายอา นาจ 
-เมืองเดลีเป็นเมืองหลวง(ตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที่13) 
-ปราบปรามศาสนาพุทธและพราหมณ์ 
+บังคับให้ชาวอินเดียนับถือศาสนาอิสลาม 
+เก็บภาษีจิซยา โดยเก็บจากราษฎรที่ไม่ใช่มุสลิมในอัตราสูง 
+มหาวิทยาลัยนาลันทาถูกทา ลาย 
+เกิดความขัดแย้งรุนแรงระหว่างพวกฮินดูกับมุสลิมจนถึงปัจจุบัน
เกิดศาสนาใหม่ คือ ศาสนาสิข(ค.ศ.1469) 
-คา สอนประยุกต์ระหว่างศาสนาพราหมณ์-ฮินดูกับศาสนาอิสลาม 
-ท่านคุรุนานักเป็นผู้ก่อตั้ง 
-ศูนย์กลางอยู่แคว้นปัญจาบ
ราชวงศ์มุคัล (ค.ศ.1526-1857) 
-ล้มอา นาจสุลต่านแห่งเดลี 
-พระเจ้าอักบาร์มหาราช 
+ทรงครองราชย์ ขณะมีพระชนมายุ 13ปีเศษ 
+แม้จะทรงเป็นมุสลิม แต่ก็ทรงให้เสรีภาพใน 
การนับถือศาสนาแก่ประชาชน 
+ยกเลิกการเก็บภาษีจิซยา 
+ทรงริเริ่มศาสนาใหม่ที่เรียกว่า ดินอิอิลาฮี หรือ ศาสนาแห่ง 
พระเจ้า ซึ่งเป็นความพยายามที่จะรวมศาสนาอิสลามเข้ากับ ฮินดู คริสต์ 
เชน และอื่นๆ แต่ไม่สาเร็จ เพราะทรงสิ้นพระชนม์ก่อน
ยุคทองแห่งสถาปัตยกรรม 
-ยุคของพระเจ้าชาห์เชฮัน จักรพรรดิองค์ที่ 5 ของราชวงศ์มุคัล 
-โปรดให้สร้างอนุสาวรีย์อันงดงามวิจิตรขึ้นจา นวน 
-เช่น ทัชมาฮาลแห่งอัครา, มัสยิดเพิร์ล, ป้อมแดง, มัสยิดจามา 
และ ป้อมละฮอร์
มัสยิดจามา เป็นมัสยิดที่ใหญ่ที่สุดในอินเดีย ป้อมแดง
สมัยพระเจ้าออรังเซบ (ค.ศ.1658-1707) 
-ใช้นโยบายกดขี่บังคับพวกฮินดู 
+เก็บภาษีจิซยาใหม่ 
+เทวสถานฮินดูถูกทา ลาย 
+ข้าราชการฮินดูถูกปลด 
-ราชวงศ์มุคัลอ่อนแอลง 
-อังกฤษเข้ามารุกราน ทา ให้ต้องทา สงครามและเสียดินแดนหลายครั้ง 
-อินเดียตกอยู่ภายในการปกครองของอังกฤษ ค.ศ.1858โดยมีสมเด็จ 
สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย 
พระราชินีนาถวิกตอเรียแห่งอังกฤษทรงดา รงตา แหน่งสมเด็จพระเจ้า 
จักรพรรดินีแห่งอินเดีย
สังคมและวัฒนธรรมอินเดีย
ระบบวรรณะ 
แบ่งออกเป็น 4 วรรณะ 
 วรรณะพราหมณ์ → เกิดจากโอษฐ์ของพระพรหม มีหน้าที่ 
ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา มีสีเครื่องแต่งกายประจา 
วรรณะ คือสีขาวซึ่งแสดงถึงความบริสุทธ์ิ
 วรรณะกษัตริย์ → เกิดจากพระอุระของพระพรหม มี 
หน้าที่สู้รบปกป้องประชาชน, เป็นผู้นา ของรัฐ สีเครื่อง 
แต่งกายประจา วรรณะคือสีแดงซึ่งหมายถึงนักรบ
 วรรณะไวศยะหรือแพศย์ → เกิดจากพระเพลา (ตัก) ของ 
พระพรหม มีสีเครื่องแต่งกายประจา วรรณะคือ สีเหลือง 
เป็นพวกแสวงหาทรัพย์สมบัติ ได้แก่พวก พ่อค้า คหบดี 
เศรษฐี และเกษตรกร ซึ่งเป็นคนส่วนใหญ่ของสังคม
 วรรณะศูทร → เกิดจากพระบาท(เท้า) ของพระพรหม 
มีสีเครื่องแต่งกายประจา วรรณะคือสีดา หรือสีอื่น ๆ ที่ 
ไม่มีความสดใส มีหน้าที่เป็นกรรมกร ลูกจ้างคอยรับใช้ 
ให้บริการกับวรรณะอื่นๆ
 ยังมีคนอีกวรรณะหนึ่งซึ่งถือว่าเป็นพวกต่า สุด คือ ลูกที่ 
เกิดจากพ่อแม่ต่างวรรณะกัน ถือเป็นพวกจัณฑาล ซึ่งจะ 
ถูกรังเกียจและเหยียดหยาม ไม่มีคนในวรรณะอื่นคบหา 
สมาคมด้วย
ปรัชญำและลัทธิศำสนำของสังคมอินเดีย 
 อินเดียเป็นแหล่งกา เนิดศาสนาสา คัญของโลกตะวันออก ได้แก่ 
ศาสนาพราหมณ์-ฮินดู พระพุทธศาสนา และศาสนาเชน 
 ปรัชญาอินเดีย หมายถึงปรัชญาทุกสานักหรือทุกระบบที่ 
เกิดขึ้นในอินเดีย หรือที่คิดสร้างสรรค์ขึ้นไว้โดยศาสดา 
และนักคิดที่เคยมีชีวิตอยู่หรือกา ลังมีชีวิตอยู่ในอินเดีย
 หลักคา สอนของพระพุทธศาสนาและศาสนาเชนเป็นผลมา 
จากการคิดไตร่ตรองอย่างลึกซึ้งทางปรัชญา การหลุดพ้น 
จากการเวียนว่ายตายเกิด 
 หลักธรรมของศาสนาพราหมณ์-ฮินดูมีรากฐานมาจากการ 
คิดค้นสร้างระบบปรัชญา เพื่อสนับสนุนความเชื่อและ 
ความศรัทธาที่มีต่อพระเจ้า
เทพเจ้ำของอินเดีย 
 เทพเจ้าของพวกอารยันเป็นธรรมชาติที่มีอิทธิพลต่อชีวิต 
มนุษย์ เช่น ดวงอาทิตย์ ฝน พายุ
 ต่อมามีการนับถือเพิ่มขึ้นอีก เช่น พระศิวะ เป็นผู้ทา ลาย 
 พระพรหม เป็นผู้สร้างโลก  พระวิษณุ เทพเจ้าแห่งสันติสุข
ศิลปกรรมอินเดีย
 ศิลปกรรมของอินเดียเริ่มปรากฏหลักฐานในอารยธรรมลุ่ม 
น้า สินธุ ราว 2,500 ปีก่อนคริสต์ศักราช 
 ในสมัยพุทธกาลได้ปรากฏหลักฐานทางศิลปะที่ได้รับ 
อิทธิพลจากจักรวรรดิเปอร์เซียและศิลปะแบบเฮลเลนิสติก
 ในช่วงสมัยราชวงศ์เมารยะพระพุทธศาสนาเป็นแรงบันดาล 
ใจในการสร้างสรรค์ศิลปกรรม และเป็นศิลปะสมัยแรกที่มี 
หลักฐานปรากฏชัดเจน 
 หลังคริสต์ศตวรรษที่ 12-13 ศิลปะอิสลามแพร่ขยายอย่าง 
กว้างขวาง ขณะที่ศิลปะในพระพุทธศาสนาสูญสิ้นไป
1. สถำปัตยกรรม : เน้นประโยชน์ใช้สอยมำกกว่ำควำมสวยงำม 
สถาปัตยกรรมที่เป็นศิลปะอย่างชัดเจนปรากฏขึ้นในสมัย 
ราชวงศ์เมารยะ ซึ่งได้รับอิทธิพลมาจากจักรวรรดิเปอร์เซีย ได้แก่ 
สถูป เสาหิน ตลอดจนฐานรากของพระราชวัง สถาปัตยกรรม 
ดังกล่าวมักเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนาเพื่อแสดงถึงความ 
ศักด์ิสิทธ์ิของสถานที่หรือเพื่อเป็นอนุสรณ์ถึงเหตุการณ์สา คัญ
 ในสมัยราชวงศ์กุษาณะทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ 
ราชวงศ์มธุราในภาคกลาง เกิดศิลปะขึ้น 3 แบบ คือ 
 แบบมถุรา 
 แบบอมราวดี 
 แบบคันธาระ→
 ในสมัยมุสลิม สถาปัตยกรรมอินเดียจะผสมระหว่าง 
ศิลปะฮินดูและเปอร์เซีย เช่น สุสานตาชมะฮัล (Taj 
Mahal)
2. ประติมำกรรม : สลักจำกหิน มีรูปร่ำงหนัก แข็งกระด้ำง 
แสดงท่ำหยุดนิ่ง 
นอกจากนี้ก็มีประติมากรรมภาพสลักนูนต่า เป็นภาพพุทธ 
ประวัติ ภาพชาดก 
→
 ประติมากรรมที่เป็นพระพุทธรูปสมัยแรก คือแบบคันธำระ 
(คริสต์ศตวรรษที่ 1-2) โดยรับอิทธิพลจากศิลปะกรีก 
แบบคันธาระ
 ประติมากรรมพระพุทธรูปของศิลปะมถุรำ โดยทั่วไปมี 
ลักษณะเหมือนศิลปะคันธาระ แต่พระเศียรพระพุทธรูป 
เกลี้ยง พระพักตร์กลม จีวรเป็นริ้วห่มเฉียงดูนุ่มนวล 
แบบมถุรา
 พระพุทธรูปในศิลปะแบบ 
อมรำวดีเป็นแบบผสม 
อิทธิพลของกรีก วงพระ 
พักตร์ของพระพุทธรูป 
ค่อนข้างยาว 
 ประติมากรรม 
สมัยคุปตะถือเป็น 
ศิลปะของอินเดีย 
อย่างแท้จริง มักมี 
ขนาดใหญ่โต
3. จิตรกรรม : จิตรกรรมเก่ำสุดที่ยังเหลืออยู่ในปัจจุบันพบที่ 
เพดำนถ้ำโยคีมำรำ วำดขึ้นด้วยสีดำ ขำว และแดง ค่อนข้ำงหยำบ 
 จิตรกรรมสมัยศิลปะอมรำวดีเป็นภาพจิตรกรรมฝาผนังถ้า 
ที่อชันตะ
 จิตรกรรมสมัยคุปตะและหลังสมัยคุปตะ เป็นสมัยที่รุ่งเรือง 
ที่สุดแห่งงำนจิตรกรรมของอินเดีย ที่ผนังถ้า อชันตะเป็น 
การเขียนเล่าเรื่องชาดกต่างๆ พุทธประวัติบางตอน ภาพ 
เกี่ยวกับประเพณีชีวิตประจา วันของประชาชนและชีวิตใน 
ราชสานัก
4. นำฏศิลป์และสังคีตศิลป์ : เป็นส่วนหนึ่งของพิธีกรรมเพื่อ 
บูชำเทพเจ้ำ มีควำมเกี่ยวข้องกับวิถีชีวิตของชำวอินเดีย 
ทำงด้ำนศำสนำและชีวิตประจำวัน 
ภารตนาฏยัม
5. วรรณกรรม : เริ่มจำกกำรเป็นบทสวดในพิธีบูชำเทพเจ้ำ 
เน้นหนักไปทำงด้ำนศำสนำ แบ่งตำมพัฒนำกำรทำงภำษำ 
ออกเป็น 4 กลุ่ม 
 วรรณกรรมภาษาพระเวท→ใช้ภาษาสันสกฤตโบราณของ 
พวกอารยัน ประกอบด้วย 
ฤคเวท : ใช้สวดสรรเสริญพระเจ้า
ยุชรเวท : แบบแผนการประกอบพิธียัญกรรมและพิธีบวงทรวง 
สามเวท : สวดในพิธีถวายน้า โสมแก่พระอินทร์
อาถรรพเวท : เป็นบทที่ 
รวบรวมเวทมนตร์ 
คาถาอาคม→ 
 วรรณกรรมตันติ 
สันสกฤต : รูปแบบคา 
ประพันธ์มักเป็นร้อย 
กรอง เรียกว่า โศลก 
มหาภารตะ
 วรรณกรรม 
สันสกฤตที่แต่ง 
เป็นบทละครที่มี 
ชื่อเสียงมาก→ 
ศกุนตลา 
 วรรณกรรมสันสกฤตผสม 
: ใช้เขียนหลักธรรมและ 
เรื่องราวทาง 
พระพุทธศาสนา เป็นงาน 
นิพนธ์แบบร้อยแก้ว 
พุทธจริต
 วรรณกรรมภาษาอื่นๆ : วรรณกรรมภาษาบาลี ใช้ใน 
วรรณกรรมพระพุทธศาสนานิกายเถรวาท 
พระไตรปิฎก
ควำมก้ำวหน้ำทำงวิทยำกำรของอินเดีย
1. ภำษำศำสตร์ : ภำษำสันสกฤตมีควำมสำคัญ เป็นภำษำที่ใช้ 
อยู่ในคัมภีร์พระเวท 
 มีตา ราว่าด้วยไวยากรณ์หลายเรื่อง : นิรุกตะ 
อัษฎาธยายี 
เมื่อมุสลิมเติร์กเข้าปกครองอินเดียตอนเหนือได้นาเอาภาษา 
สันสกฤต อารบิก และเปอร์เซียมาผสมกันเป็นภาษาใหม่ 
เรียกว่า ภำษำอูรดู ซึ่งเป็นภาษาที่มุสลิมใช้พูดกันในอินเดีย 
ปัจจุบัน
2. ธรรมศำสตร์และนิติศำสตร์ 
 ธรรมศาสตร์→กฎหมาย ศาสนบัญญัติ จารีตประเพณี 
ศีลธรรม และหน้าที่ ซึ่งมีพื้นฐานมาจากธรรมสูตร 
มนูสมฤติ / มานวธรรมศาสตร์
 นิติศาสตร์หรืออรรถศาสตร์→การเมืองการปกครองและ 
ความมั่งคั่งของสังคมบ้านเมือง 
อรรถศาสตร์
3. แพทยศำสตร์ : กำรแพทย์ของอินเดียมีมำนำนแล้ว แพทย์ที่มี 
ชื่อเสียงมำกของอินเดียโบรำณคือ หมอชีวกโกมำรภัทร 
หมอชีวกโกมารภัทร
4. ชโยติษ(ดำรำศำสตร์ โหรำศำสตร์ และคณิตศำสตร์) : ฤกษ์ 
ยำมมีควำมสำคัญมำก จึงต้องอำศัยวิถีโคจรของดวงอำทิตย์ 
ดวงดำวที่โคจรมำอยู่ในตำ แหน่งต่ำงๆในแต่ละช่วงเวลำ 
←การดูฤกษ์ยาม 
ชาวอินเดียเป็นชนชาติแรกที่ประดิษฐ์เลข 0 ขึ้นใช้ ทา ให้มี 
หลักหน่วย หลักสิบ หลักร้อย หลักพัน ในการคา นวณได้โดย 
ไม่สับสน

More Related Content

What's hot

อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนพัน พัน
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน เพ็ญลักษณ์ สุวรรณาโชติ
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนwarintorntip
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)พัน พัน
 
อารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfอารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfkruchangjy
 
#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดียPpor Elf'ish
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยPadvee Academy
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนwarintorntip
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียPannaray Kaewmarueang
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีMilky' __
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35Milky' __
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย Bom Anuchit
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้hackinteach
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียPannaray Kaewmarueang
 

What's hot (20)

อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่ประเทศเพื่อนบ้าน
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
อารยธรรมลุ่มแม่น้ำสินธุ(อินเดีย)
 
อารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdfอารยธรรมจีนPdf
อารยธรรมจีนPdf
 
#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย#อารยธรรมอินเดีย
#อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
กัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรีกัณฑ์มัทรี
กัณฑ์มัทรี
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
ประวัติศาสตร์อเมริกาใต้
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1เฉลยใบงาน 6.1
เฉลยใบงาน 6.1
 

Viewers also liked

อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาคอิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค6091429
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันJungko
 
อารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมันอารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมันPare Kpb
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกChanapa Youngmang
 
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณSupicha Ploy
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกHeritagecivil Kasetsart
 
7สิ่งมหัศจรรย์ของโลก.
7สิ่งมหัศจรรย์ของโลก.7สิ่งมหัศจรรย์ของโลก.
7สิ่งมหัศจรรย์ของโลก.Chontida Suwanchaiya
 
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกอิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก6091429
 
อารยธรรมอินเดียโบราณ
อารยธรรมอินเดียโบราณอารยธรรมอินเดียโบราณ
อารยธรรมอินเดียโบราณPikcolo Pik
 
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)Heritagecivil Kasetsart
 
อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์ อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์ Pikcolo Pik
 
อารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมันอารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมันJungko
 
ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolHeritagecivil Kasetsart
 

Viewers also liked (19)

อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาคอิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกที่มีต่อภูมิภาค
 
อารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมันอารยธรรมกรีก-โรมัน
อารยธรรมกรีก-โรมัน
 
อารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมันอารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมัน
 
อารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตกอารยธรรมตะวันตก
อารยธรรมตะวันตก
 
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
อารยธรรมตะวันตกกรีกโรมัน(อัพเดท2557)
 
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณบทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
บทที่ 2 อารยธรรมของโลกตะวันตกในยุคโบราณ
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
มรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลกมรดกอารยธรรมโลก
มรดกอารยธรรมโลก
 
7สิ่งมหัศจรรย์ของโลก.
7สิ่งมหัศจรรย์ของโลก.7สิ่งมหัศจรรย์ของโลก.
7สิ่งมหัศจรรย์ของโลก.
 
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออกอิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
อิทธิพลอารยธรรมตะวันออก
 
เฉลยใบงาน 6.3
เฉลยใบงาน 6.3เฉลยใบงาน 6.3
เฉลยใบงาน 6.3
 
อารยธรรมอินเดียโบราณ
อารยธรรมอินเดียโบราณอารยธรรมอินเดียโบราณ
อารยธรรมอินเดียโบราณ
 
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)
อารยธรรมยุคกลาง ยุคใหม่(อัพเดท2557)
 
อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์ อารยธรรมอียิปต์
อารยธรรมอียิปต์
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 
อารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมันอารยธรรมกรีก โรมัน
อารยธรรมกรีก โรมัน
 
ศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lolศิลปะตะวันออก lol
ศิลปะตะวันออก lol
 
K02
K02K02
K02
 

Similar to อารยธรรมอินเดีย

วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมmayavee16
 
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔r2d2ek
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษาengtivaporn
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์thnaporn999
 
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพุทธประวัติ
พุทธประวัติgueste13f2b
 
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรComputer ITSWKJ
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัยsangworn
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมOrapan Chamnan
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานBenjawan Hengkrathok
 
สรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองสรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองkanchana13
 

Similar to อารยธรรมอินเดีย (20)

Ppt1
Ppt1Ppt1
Ppt1
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
คู่มือการเรียน ชั้น ม.๔
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
006
006006
006
 
มอญศึกษา
มอญศึกษามอญศึกษา
มอญศึกษา
 
พราหมณ์
พราหมณ์พราหมณ์
พราหมณ์
 
พุทธประวัติ
พุทธประวัติพุทธประวัติ
พุทธประวัติ
 
test
testtest
test
 
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดรสื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
สื่อการสอนอาจารย์มารินทร์ ม5มหาเวสสันดร
 
ศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ยศ ลปะอ นเด_ย
ศ ลปะอ นเด_ย
 
Conceptของสุโขทัย
ConceptของสุโขทัยConceptของสุโขทัย
Conceptของสุโขทัย
 
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคมวรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
วรรณคดีไทยกับบริบททางสังคม
 
Egypt
EgyptEgypt
Egypt
 
-------------- --- 1
 -------------- --- 1 -------------- --- 1
-------------- --- 1
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
สรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทองสรุปนิราศภูเขาทอง
สรุปนิราศภูเขาทอง
 

อารยธรรมอินเดีย