SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
บทความนีเ	ป็นของกลุ่มการศึกษาเพือความเป็นไท 
ระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทย ...ยังมีอยู่ไหม และ มาจากไหน? 
โดย อภิชาต พงษ์สวัสดิ' 
การพูดถึงระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทย ดูเหมือนจะเป็นทีรับรู้รับทราบกันเป็นอย่างดีว่ามีความหมาย หรือสะท้อน 
ปรากฏการณ์ใดทีเกิดขึน	ในปัจจุบัน ด้วยความทีคนในสังคมไทยส่วนใหญ่เคยชินกับการอยู่ในระบบนีอ	าจจะทัง	ทีรู้ตัวและ 
ไม่รู้ตัว การตัง	คำถามของบทความนีจ	ึงน่าสนใจทีเราจะได้นำมาศึกษาทบทวนว่า ระบบอุปถัมภ์มีอยู่ในสังคมไทยอีก 
หรือไม่อย่างไร และเกิดขึน	ได้อย่างไร จากข้อคิดเห็นทีน่าสนใจคือ สังคมไทยถูกปกครองโดยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ 
มาช้านาน โครงสร้างของระบอบการปกครองแบบนี 	อาศัยการปกครองตามลำดับชัน	 โยเฉพาะในระบอบทหารทีมี 
ความสำคัญ โดยอาศัยยศและตำแหนง่เป็นหลัก และความสัมพันธ์ตามบังคับบัญชาทีมีพระมหากษัตริย์สถิต อยู่เหนือสุด 
สายบังคับบัญชาจึงสำคัญกว่าเกณฑ์อย่างอืน เช่น เกณฑ์ความรู้ ความสามารถ เป็นต้น จึงเอือ	ต่อการเกิด ระบบอุปถัมภ์ 
แต่ไม่ใช่โครงสร้างทางการปกครองราชการเพียงอย่างเดียวทีมีผลให้เกิดระบบอุปถัมภ์ได้ โครงสร้างทางสังคมตัง	แต่ตัว 
บุคคลจนถึงสถาบันครอบครัวก็เป็นปัจจัยหนึงเช่นกัน อาทิเช่น การทีผู้น้อย ต้องเชือฟังผู้ใหญ่ ต้องมีท่าทีแสดงความ 
เกรงอกเกรงใจไม่ทำอะไรให้กระทบกระเทือนความรู้สึกของผู้ใหญ่ เป็นต้น 
รวมถึงเหตุปัจจัยทีสังคมในอดีตมีระบบไพร่ โดยเฉพาะ ไพร่หลวง ทีมีนายเป็นคนดูแลควบคุมเพือใช้แรงงานารับใช้นาย 
และหลวง แน่นอนว่า ไพร่ และ นาย มีความแตกต่างกันทัง	วัฒนธรรม และอำนาจ ไพร่ จะต้องอย่ใูนการอุปถัมภ์ของนาย 
อาศัยบารมีของนายในการมีชีวิตอยู่มีเพียงไพร่ส่วนหนงึ เท่านัน	ทีดูเหมือนจะเป็นชนกลุ่มน้อยของสังคมทีทนการกดขีของ 
นายไม่ไหว หนีเข้าไปอยู่ในป่า สังคมในสมัยนัน	มองไพร่พวกนีว	่าเป็นพวกคน ทรยศ อกตัญ:ู ต่อนาย แน่นอนว่าสิงนี	 
สะท้อนมุมมองได้ชัดเจนว่า 
สังคมไทยยังมีความคิดความเชือว่า การคอยมีนายอุปถัมภ์ เป็นเรืองทีจะทำให้ตนเองใช้ชีวิตในสังคมอย่างปลอดภัยและ 
ก้าวหน้ากว่าคนทีไม่มีนาย หรือไม่มีพวก ไม่มีเส้นสาย การจัดระเบียบระบบไพร่ ในอดีตเช่นการสักชือทีมือของไพร่ ก็ยิง 
เป็นการตอกยำ	และเป็นเครืองพันธนาการอย่างหนงึของสังคม ยากทีจะเอาชนะระบบอปุถัมภ์ไปได้ ( AKin 1969.22) 
ซงึสอดคล้องกับหลักศาสนาพุทธทีคนไทยเชือมาอย่างช้านานทีว่า คนเราเกิดมาย่อมไม่เท่ากัน เพราะขึน	อยู่กับเวรกรรมที 
ทำมา คนทีมีความก้าวหน้าในชาตินี 	ย่อมได้อานิสงส์จากบุญในชาติทีแล้ว ส่วนคนทีมีสถานะต้อยตำย่อมทำบุญในชาติที 
แล้วมาน้อย แรงผลักดันเรืองระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทยยิงทวีคูณเข้าไปอีก เมือคนไทยโดยส่วนใหญ่ยังมีความคิดความ 
เชือว่า ความก้าวหน้าของตนไม่ได้ขึน	อยู่กับความสามารถ หากขึน	แต่ขึน	อยู่กับการช่วยเหลือเกือ	กูลของคนอืน แต่บทความ 
นีจ	ะมีข้อคิดเห็นทีเสริมว่า 
ระบบอุปถัมภ์ทีเกิดขึน	ในสังคมไทย ไม่ใช่สิงทีเลวร้ายอย่างทีกล่าวกันเกินไป โดยอธิบายว่ามีหลักการทีมาจากการ 
ลอกเลียนแบบจากระบบครอบครัวและเครือญาติของไทย เช่น คำเรียกผู้อุปถัมภ์ว่า ลูกพี และเรียกผู้อุปถัมภ์ว่า ลูกน้อง ก็
บทความนีเ	ป็นของกลุ่มการศึกษาเพือความเป็นไท 
แสดงให้เห็นชัดว่ามีการลอกเลียนแบบระบบอุปถัมภ์มาจากความสัมพันธ์ในครอบครัวพีน้อง โดยมองว่าพีก็ควรจะดูแล 
คุ้มครองปกป้องน้อง และ น้องก็ควรแสดงความกตัญ:ตู่อพีๆด้วยเช่นกัน (กรมดำรงราชานุภาพ 2502) 
ซงึดูเหมือนระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทยในปัจจุบันจะกระจัดกระจาย ทัง	เป็นกลุ่มบริวาร กลุ่มแวดวง ซึงผิดแปลกไปจาก 
สังคมในระบบอุปถัมภ์ในชาติอืนๆเช่น อิตาลี ลาตินอเมริกา เป็นต้น ทีเกิดขนึ	คล้ายไม้เลือ	ย สอดแทรกผู้โยงกับโครงสร้าง 
ทางสังคม รวมถึงยังมีการให้ความเห็นว่าระบบอุปถัมภ์ทีเกิดขึน	มาจากการทีสังคมไทยมีโครงสร้างทีหลวม เพราะ 
ปราศจากกฎเกณฑ์ทีมีประสิทธิภาพในการบังคับใช้ สังคมไทยจึงมีแต่กลุ่มทีมีฐานบนความสัมพันธ์แบบระบบอุปถัมภ์ ใน 
แง่ของผู้นำทางการเมืองโดยเฉพาะในสังคมชนบทมักมีฐานอำนาจในการจัดการระบบเศรษฐกิจภายในชุมชนได้ จน 
สามารถสะสมทุนและสามารถสร้างระบบอุปถัมภ์ให้เกิดขึน	ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม้แต่นักการเมืองระดับชาติเองยังมี 
การติดต่อนักการเมืองท้องถิน เพือสร้างระบบอุปถัมภ์อย่างต่อเนืองและเป็นเครือข่ายทำให้ผู้ทีอยู่ภายใต้ระบบอุปถัมภ์ยาก 
ทีจะหลุดพ้นได้ 
ในบทความนีย	ังมีการเปรียบเทียบระบบอุปถัมภ์ของสังคมไทยและสังคมญีปุ่น โดยมองว่าสังคมญีปุ่นผู้อุปถัมภ์มีอำนาจ 
เหนือผู้รับอุปถัมภ์ เพราะผู้อุปถัมภ์ครอบครองทรัพยากรธรรมชาติ ซึงรัฐบาลญีปุ่นก็เห็นดีเห็นงามต่อการกระทำ 
เช่นนี 	 ระบบการอุปถัมภ์ของญีปุ่นแบบนีค	่อนข้างมันคงมาก เพราะมีผู้รับอุปถัมภ์จงรักภักดีต่อผู้อุปถัมภ์มากด้วย แต่ดู 
เหมือนระบบอุปถัมภ์ของสังคมไทยจะแตกต่างกัน เพราะไม่ได้เรืองเศรษฐกิจเป็นฐานหลัก แต่ดูเหมือนระบบอุปถัมภ์เกิด 
จากการใช้ความรุนแรงและการควบคุมทางการเมืองเสียมากกว่า (Ammar1980.3) 
ผู้เขียนเห็นว่าระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทยยังมีอยู่ แต่อยู่ในสภาวะทีรู้เท่าทัน และมักหาเหตุปัจจัยหลดุพ้นอยู่เสมอ อีกทัง	ยัง 
เห็นว่า ผู้มีการศึกษาไม่ใช่กลุ่มคนทีจะต้องการหลุดพ้นจากระบบอุปถัมภ์มากไปกว่าผู้ทีไม่มีการศึกษา หรือชนชัน	อืนแต่ 
อย่างใด ในทางตรงกันข้ามอาจจะมีมากกว่าเสียด้วยซำ	 โดยเฉพาะการใช้ชีวิตในสังคมอาชีพทีมีการปกครองตามสาย 
บังคับบัญชาอย่างเคร่งครัด เช่น ข้าราชการ ผู้ทีอยู่ในระบบอาชีพเหล่านีม	ักรู้สึกปลอดภัยกับการอยู่ในระบบอุปถัมภ์ และ 
ส่งเสริมระบบนีอ	ย่างไม่รู้ตัว ยิงผู้คนทีด้อยความสามารถก็มักสนับสนุนระบบนีอ	ย่างมันคง เช่นเดียวกัน(อภิชาต2007: 
ตลาดทุนใหม่) 
วันอาทิตย์ที 19 ตุลาคม พ.ศ. 2557

More Related Content

What's hot

ความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติNumber Utopie
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3New Nan
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงwilai2510
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล natdhanai rungklin
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
4 กิตติกรรมประกาศ
4 กิตติกรรมประกาศ4 กิตติกรรมประกาศ
4 กิตติกรรมประกาศAugusts Programmer
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔อิ่' เฉิ่ม
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2kruruttika
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกสคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกRuzz Vimolrut
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศSuwannaphum Charoensiri
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมแบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลงnarongsak kalong
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 

What's hot (20)

ความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติความหมายของสถิติ
ความหมายของสถิติ
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3พระพุทธศาสนา ม.3
พระพุทธศาสนา ม.3
 
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียงนำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
นำเสนอเศรษฐกิจพอเพียง
 
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน ผอ.ณัฏฐ์ดนัย รุ่งกลิ่นขจรกุล
 
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
หนังสือขอความอนุเคราะห์ ค่ายแสงเทียน 24
 
4 กิตติกรรมประกาศ
4 กิตติกรรมประกาศ4 กิตติกรรมประกาศ
4 กิตติกรรมประกาศ
 
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
งานนำเสนอ1 วสันตดิลก ฉันท์ ๑๔
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2แผนการจัดการเรียนรู้ที่   2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
 
ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์ศาสนาพราหมณ์
ศาสนาพราหมณ์
 
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
6การปกครองประเทศสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุกสคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
สคริปบทสารคดี ตลาดสามชุก
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรมแบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
แบบฝึกหัดการการเขียนบรรณานุกรม
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลงความงามกับภาษา ม. ๔  นิราศนรินทร์คำโคลง
ความงามกับภาษา ม. ๔ นิราศนรินทร์คำโคลง
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 

Similar to ระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทย

9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817CUPress
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
พื้นฐานชีวิต 8.pptx
พื้นฐานชีวิต 8.pptxพื้นฐานชีวิต 8.pptx
พื้นฐานชีวิต 8.pptxSunnyStrong
 
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทยการสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทยThongkum Virut
 
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย โดยท่านอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย โดยท่านอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทรการสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย โดยท่านอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย โดยท่านอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทรThongkum Virut
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดSani Satjachaliao
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังWat Thai Washington, D.C.
 
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯTaraya Srivilas
 
ระบอบประชาธิปไตยทำให้เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตย
ระบอบประชาธิปไตยทำให้เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตยระบอบประชาธิปไตยทำให้เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตย
ระบอบประชาธิปไตยทำให้เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตยThongkum Virut
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet apeemai12
 

Similar to ระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทย (14)

9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
พื้นฐานชีวิต 8.pptx
พื้นฐานชีวิต 8.pptxพื้นฐานชีวิต 8.pptx
พื้นฐานชีวิต 8.pptx
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๙
 
6.1
6.16.1
6.1
 
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทยการสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย
 
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย โดยท่านอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย โดยท่านอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทรการสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย โดยท่านอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
การสร้างระบอบประชาธิปไตยในประเทศไทย โดยท่านอาจารย์ประเสริฐ ทรัพย์สุนทร
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
ผู้นำกับและการจัดการความขัดแย้ง มหาจุฬาฯ
 
ระบอบประชาธิปไตยทำให้เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตย
ระบอบประชาธิปไตยทำให้เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตยระบอบประชาธิปไตยทำให้เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตย
ระบอบประชาธิปไตยทำให้เกิดการปกครองแบบประชาธิปไตย
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
Social onet a
Social onet aSocial onet a
Social onet a
 

ระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทย

  • 1. บทความนีเ ป็นของกลุ่มการศึกษาเพือความเป็นไท ระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทย ...ยังมีอยู่ไหม และ มาจากไหน? โดย อภิชาต พงษ์สวัสดิ' การพูดถึงระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทย ดูเหมือนจะเป็นทีรับรู้รับทราบกันเป็นอย่างดีว่ามีความหมาย หรือสะท้อน ปรากฏการณ์ใดทีเกิดขึน ในปัจจุบัน ด้วยความทีคนในสังคมไทยส่วนใหญ่เคยชินกับการอยู่ในระบบนีอ าจจะทัง ทีรู้ตัวและ ไม่รู้ตัว การตัง คำถามของบทความนีจ ึงน่าสนใจทีเราจะได้นำมาศึกษาทบทวนว่า ระบบอุปถัมภ์มีอยู่ในสังคมไทยอีก หรือไม่อย่างไร และเกิดขึน ได้อย่างไร จากข้อคิดเห็นทีน่าสนใจคือ สังคมไทยถูกปกครองโดยระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาช้านาน โครงสร้างของระบอบการปกครองแบบนี อาศัยการปกครองตามลำดับชัน โยเฉพาะในระบอบทหารทีมี ความสำคัญ โดยอาศัยยศและตำแหนง่เป็นหลัก และความสัมพันธ์ตามบังคับบัญชาทีมีพระมหากษัตริย์สถิต อยู่เหนือสุด สายบังคับบัญชาจึงสำคัญกว่าเกณฑ์อย่างอืน เช่น เกณฑ์ความรู้ ความสามารถ เป็นต้น จึงเอือ ต่อการเกิด ระบบอุปถัมภ์ แต่ไม่ใช่โครงสร้างทางการปกครองราชการเพียงอย่างเดียวทีมีผลให้เกิดระบบอุปถัมภ์ได้ โครงสร้างทางสังคมตัง แต่ตัว บุคคลจนถึงสถาบันครอบครัวก็เป็นปัจจัยหนึงเช่นกัน อาทิเช่น การทีผู้น้อย ต้องเชือฟังผู้ใหญ่ ต้องมีท่าทีแสดงความ เกรงอกเกรงใจไม่ทำอะไรให้กระทบกระเทือนความรู้สึกของผู้ใหญ่ เป็นต้น รวมถึงเหตุปัจจัยทีสังคมในอดีตมีระบบไพร่ โดยเฉพาะ ไพร่หลวง ทีมีนายเป็นคนดูแลควบคุมเพือใช้แรงงานารับใช้นาย และหลวง แน่นอนว่า ไพร่ และ นาย มีความแตกต่างกันทัง วัฒนธรรม และอำนาจ ไพร่ จะต้องอย่ใูนการอุปถัมภ์ของนาย อาศัยบารมีของนายในการมีชีวิตอยู่มีเพียงไพร่ส่วนหนงึ เท่านัน ทีดูเหมือนจะเป็นชนกลุ่มน้อยของสังคมทีทนการกดขีของ นายไม่ไหว หนีเข้าไปอยู่ในป่า สังคมในสมัยนัน มองไพร่พวกนีว ่าเป็นพวกคน ทรยศ อกตัญ:ู ต่อนาย แน่นอนว่าสิงนี สะท้อนมุมมองได้ชัดเจนว่า สังคมไทยยังมีความคิดความเชือว่า การคอยมีนายอุปถัมภ์ เป็นเรืองทีจะทำให้ตนเองใช้ชีวิตในสังคมอย่างปลอดภัยและ ก้าวหน้ากว่าคนทีไม่มีนาย หรือไม่มีพวก ไม่มีเส้นสาย การจัดระเบียบระบบไพร่ ในอดีตเช่นการสักชือทีมือของไพร่ ก็ยิง เป็นการตอกยำ และเป็นเครืองพันธนาการอย่างหนงึของสังคม ยากทีจะเอาชนะระบบอปุถัมภ์ไปได้ ( AKin 1969.22) ซงึสอดคล้องกับหลักศาสนาพุทธทีคนไทยเชือมาอย่างช้านานทีว่า คนเราเกิดมาย่อมไม่เท่ากัน เพราะขึน อยู่กับเวรกรรมที ทำมา คนทีมีความก้าวหน้าในชาตินี ย่อมได้อานิสงส์จากบุญในชาติทีแล้ว ส่วนคนทีมีสถานะต้อยตำย่อมทำบุญในชาติที แล้วมาน้อย แรงผลักดันเรืองระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทยยิงทวีคูณเข้าไปอีก เมือคนไทยโดยส่วนใหญ่ยังมีความคิดความ เชือว่า ความก้าวหน้าของตนไม่ได้ขึน อยู่กับความสามารถ หากขึน แต่ขึน อยู่กับการช่วยเหลือเกือ กูลของคนอืน แต่บทความ นีจ ะมีข้อคิดเห็นทีเสริมว่า ระบบอุปถัมภ์ทีเกิดขึน ในสังคมไทย ไม่ใช่สิงทีเลวร้ายอย่างทีกล่าวกันเกินไป โดยอธิบายว่ามีหลักการทีมาจากการ ลอกเลียนแบบจากระบบครอบครัวและเครือญาติของไทย เช่น คำเรียกผู้อุปถัมภ์ว่า ลูกพี และเรียกผู้อุปถัมภ์ว่า ลูกน้อง ก็
  • 2. บทความนีเ ป็นของกลุ่มการศึกษาเพือความเป็นไท แสดงให้เห็นชัดว่ามีการลอกเลียนแบบระบบอุปถัมภ์มาจากความสัมพันธ์ในครอบครัวพีน้อง โดยมองว่าพีก็ควรจะดูแล คุ้มครองปกป้องน้อง และ น้องก็ควรแสดงความกตัญ:ตู่อพีๆด้วยเช่นกัน (กรมดำรงราชานุภาพ 2502) ซงึดูเหมือนระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทยในปัจจุบันจะกระจัดกระจาย ทัง เป็นกลุ่มบริวาร กลุ่มแวดวง ซึงผิดแปลกไปจาก สังคมในระบบอุปถัมภ์ในชาติอืนๆเช่น อิตาลี ลาตินอเมริกา เป็นต้น ทีเกิดขนึ คล้ายไม้เลือ ย สอดแทรกผู้โยงกับโครงสร้าง ทางสังคม รวมถึงยังมีการให้ความเห็นว่าระบบอุปถัมภ์ทีเกิดขึน มาจากการทีสังคมไทยมีโครงสร้างทีหลวม เพราะ ปราศจากกฎเกณฑ์ทีมีประสิทธิภาพในการบังคับใช้ สังคมไทยจึงมีแต่กลุ่มทีมีฐานบนความสัมพันธ์แบบระบบอุปถัมภ์ ใน แง่ของผู้นำทางการเมืองโดยเฉพาะในสังคมชนบทมักมีฐานอำนาจในการจัดการระบบเศรษฐกิจภายในชุมชนได้ จน สามารถสะสมทุนและสามารถสร้างระบบอุปถัมภ์ให้เกิดขึน ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แม้แต่นักการเมืองระดับชาติเองยังมี การติดต่อนักการเมืองท้องถิน เพือสร้างระบบอุปถัมภ์อย่างต่อเนืองและเป็นเครือข่ายทำให้ผู้ทีอยู่ภายใต้ระบบอุปถัมภ์ยาก ทีจะหลุดพ้นได้ ในบทความนีย ังมีการเปรียบเทียบระบบอุปถัมภ์ของสังคมไทยและสังคมญีปุ่น โดยมองว่าสังคมญีปุ่นผู้อุปถัมภ์มีอำนาจ เหนือผู้รับอุปถัมภ์ เพราะผู้อุปถัมภ์ครอบครองทรัพยากรธรรมชาติ ซึงรัฐบาลญีปุ่นก็เห็นดีเห็นงามต่อการกระทำ เช่นนี ระบบการอุปถัมภ์ของญีปุ่นแบบนีค ่อนข้างมันคงมาก เพราะมีผู้รับอุปถัมภ์จงรักภักดีต่อผู้อุปถัมภ์มากด้วย แต่ดู เหมือนระบบอุปถัมภ์ของสังคมไทยจะแตกต่างกัน เพราะไม่ได้เรืองเศรษฐกิจเป็นฐานหลัก แต่ดูเหมือนระบบอุปถัมภ์เกิด จากการใช้ความรุนแรงและการควบคุมทางการเมืองเสียมากกว่า (Ammar1980.3) ผู้เขียนเห็นว่าระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทยยังมีอยู่ แต่อยู่ในสภาวะทีรู้เท่าทัน และมักหาเหตุปัจจัยหลดุพ้นอยู่เสมอ อีกทัง ยัง เห็นว่า ผู้มีการศึกษาไม่ใช่กลุ่มคนทีจะต้องการหลุดพ้นจากระบบอุปถัมภ์มากไปกว่าผู้ทีไม่มีการศึกษา หรือชนชัน อืนแต่ อย่างใด ในทางตรงกันข้ามอาจจะมีมากกว่าเสียด้วยซำ โดยเฉพาะการใช้ชีวิตในสังคมอาชีพทีมีการปกครองตามสาย บังคับบัญชาอย่างเคร่งครัด เช่น ข้าราชการ ผู้ทีอยู่ในระบบอาชีพเหล่านีม ักรู้สึกปลอดภัยกับการอยู่ในระบบอุปถัมภ์ และ ส่งเสริมระบบนีอ ย่างไม่รู้ตัว ยิงผู้คนทีด้อยความสามารถก็มักสนับสนุนระบบนีอ ย่างมันคง เช่นเดียวกัน(อภิชาต2007: ตลาดทุนใหม่) วันอาทิตย์ที 19 ตุลาคม พ.ศ. 2557