SlideShare a Scribd company logo
1 of 1
"Grounded Theory" เป็นแนวทางการวิจัยหรือวิทยาการวิจัย (Research Methodology) ที่มีเป้าหมาย
เพื่อสร้างข้อสรุปเชิงทฤษฎีขึ้นจากปรากฏการณ์ทางสังคม ตามความหมายของชุมชน อันเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ที่นามาสู่การวิเคราะห์ สังเคราะห์
เพื่อให้ทราบลักษณะของปรากฏการณ์ทางสังคม
"Grounded Theory" เป็น Methodology อีกวิธีหนึ่ง บนพื้นฐานของความจริงจากปรากฏการณ์ทางสังคม
เพื่อบรรยายลักษณะทางสังคมที่กาลังเกิดขึ้น
ในฐานะของนักศึกษาพัฒนบูรณาการศาสตร์ที่จะต้องไปทาวิจัยร่วมกับชาวบ้าน ร่วมกับชุมชน จะต้องถามตัวเองให้ชัดเจนก่อนว่า
เราต้องการอะไรจากความรู้ เราต้องการอะไรจากงานวิจัย เช่น
- เพื่ออธิบาย ว่าทาไมต้องทาอย่างนั้น
- เพื่อทานาย ว่าถ้าเกิดสถานการณ์นี้จะเกิดอะะไรต่อไปในอนาคต
- เพื่อทาความเข้าใจ ว่าทาอย่างไรทาแบบไหนเพื่อบรรยายถึงสิ่งที่เกิดขึ้น
จากประเด็นคาถามนี้ จึงต้องใช้ Methodology ที่เหมาะสมบนพื้นฐานของความจริงอะไร หรือบนพื้นฐานของคาถามอะไร
อยากรู้อะไร และจะใช้กระบวนการหาความรู้อย่างไร เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้
ซึ่งถ้าใช้กระบวนการหาความรู้ ( Methodology ) ผิดวิธีการวิจัยจะไม่สาเร็จได้ดังที่ตั้งใจไว้
เมื่อตอบคาถามที่กล่าวมาได้ เราก็จะสามารถตั้งคาถามหลักที่เราอยากรู้ในเรื่องที่เราจะทาวิจัยคืออะไร และจะตอบคาถามอะไร
จากแนวทางที่อาจารย์สุทธิดาสอนมาได้ทาให้นักศึกษาหลาย
คนเริ่มตั้งคาถามที่ตรงกับใจตัวเองให้กระชับและชัดเจนมากขึ้นในระดับหนึ่ง เช่น การตั้งคาถามที่ว่า
เลี้ยงโคอย่างไรให้สมบูรณ์ในฤดูแล้ง
ซึ่งจะต้องหาความรู้ใน 2 ประเด็น คือ
1. การเลี้ยงโคในฤดูแล้งของชาวบ้านเป็นอย่างไร
เป็นการรวบรวมและบรรยายถึงความรู้เดิมที่ชาวบ้านมีเป็นความรู้ที่ประสบความสาเร็จ ซึ่งเป็นข้อมูลที่มีในชุมชนรวมกับข้อมูลจากแหล่งอื่นมาสนับ
สนุน
2. ชาวบ้านควรเลี้ยงโคอย่างไรในฤดูแล้งจึงจะดี
เป็นการนาเอาความรู้ที่ประสบควมสาเร็จมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับชาวบ้านและชุมชน
ภายใต้บริาทและเงื่อนไขของแต่ละคนที่ทาแล้วประสบความสาเร็จ
หรืออาจจะเรียกได้ว่า เป็นการนาเอาความรู้ที่ชาวบ้านมีมาจัดการให้เป็นระบบภายใต้เงื่อนไขและบริบทของชาวบ้านและชุมชน

More Related Content

Similar to Grounded theory

9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691CUPress
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817CUPress
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดSani Satjachaliao
 
เนื้อหารายวิชาเพิ่มเติม Is
เนื้อหารายวิชาเพิ่มเติม Isเนื้อหารายวิชาเพิ่มเติม Is
เนื้อหารายวิชาเพิ่มเติม Issamaitiger
 
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Borwornsom Leerapan
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยอรุณศรี
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้sirirak Ruangsak
 
แนวโน้มการวิจัยทางสังคมศึกษา พุทธทศวรรษ ๒๕๖๐
แนวโน้มการวิจัยทางสังคมศึกษา พุทธทศวรรษ ๒๕๖๐แนวโน้มการวิจัยทางสังคมศึกษา พุทธทศวรรษ ๒๕๖๐
แนวโน้มการวิจัยทางสังคมศึกษา พุทธทศวรรษ ๒๕๖๐Somprasong friend Ka Nuamboonlue
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่T Ton Ton
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592CUPress
 
11 การวิจัยชั้นเรียน100449
11 การวิจัยชั้นเรียน10044911 การวิจัยชั้นเรียน100449
11 การวิจัยชั้นเรียน100449onchalermpong
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)DuangdenSandee
 
รูปแบบโครงงาน
รูปแบบโครงงานรูปแบบโครงงาน
รูปแบบโครงงานyut38
 

Similar to Grounded theory (20)

9789740330691
97897403306919789740330691
9789740330691
 
二十四章经
二十四章经二十四章经
二十四章经
 
9789740329817
97897403298179789740329817
9789740329817
 
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิดสัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
สัปดาห์ที่ 5 6 ทฤษฎีสังคมวิทยา แนวคิด
 
เนื้อหารายวิชาเพิ่มเติม Is
เนื้อหารายวิชาเพิ่มเติม Isเนื้อหารายวิชาเพิ่มเติม Is
เนื้อหารายวิชาเพิ่มเติม Is
 
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัยการกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
การกำหนดประเด็นปัญหาในการวิจัย
 
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
การศึกษาค้นคว้าและสร้างสรรค์องค์ความรู้
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษาปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา
 
แนวโน้มการวิจัยทางสังคมศึกษา พุทธทศวรรษ ๒๕๖๐
แนวโน้มการวิจัยทางสังคมศึกษา พุทธทศวรรษ ๒๕๖๐แนวโน้มการวิจัยทางสังคมศึกษา พุทธทศวรรษ ๒๕๖๐
แนวโน้มการวิจัยทางสังคมศึกษา พุทธทศวรรษ ๒๕๖๐
 
Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]Week 1 intro[1]
Week 1 intro[1]
 
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
บทที่ 2-แก้ใหม่ครั้งที่
 
ปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยมปฏิบัตินิยม
ปฏิบัตินิยม
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Oo
OoOo
Oo
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
11 การวิจัยชั้นเรียน100449
11 การวิจัยชั้นเรียน10044911 การวิจัยชั้นเรียน100449
11 การวิจัยชั้นเรียน100449
 
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม (Participatory Action Research : PAR)
 
รูปแบบโครงงาน
รูปแบบโครงงานรูปแบบโครงงาน
รูปแบบโครงงาน
 

Grounded theory

  • 1. "Grounded Theory" เป็นแนวทางการวิจัยหรือวิทยาการวิจัย (Research Methodology) ที่มีเป้าหมาย เพื่อสร้างข้อสรุปเชิงทฤษฎีขึ้นจากปรากฏการณ์ทางสังคม ตามความหมายของชุมชน อันเป็นข้อมูลเชิงประจักษ์ที่นามาสู่การวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อให้ทราบลักษณะของปรากฏการณ์ทางสังคม "Grounded Theory" เป็น Methodology อีกวิธีหนึ่ง บนพื้นฐานของความจริงจากปรากฏการณ์ทางสังคม เพื่อบรรยายลักษณะทางสังคมที่กาลังเกิดขึ้น ในฐานะของนักศึกษาพัฒนบูรณาการศาสตร์ที่จะต้องไปทาวิจัยร่วมกับชาวบ้าน ร่วมกับชุมชน จะต้องถามตัวเองให้ชัดเจนก่อนว่า เราต้องการอะไรจากความรู้ เราต้องการอะไรจากงานวิจัย เช่น - เพื่ออธิบาย ว่าทาไมต้องทาอย่างนั้น - เพื่อทานาย ว่าถ้าเกิดสถานการณ์นี้จะเกิดอะะไรต่อไปในอนาคต - เพื่อทาความเข้าใจ ว่าทาอย่างไรทาแบบไหนเพื่อบรรยายถึงสิ่งที่เกิดขึ้น จากประเด็นคาถามนี้ จึงต้องใช้ Methodology ที่เหมาะสมบนพื้นฐานของความจริงอะไร หรือบนพื้นฐานของคาถามอะไร อยากรู้อะไร และจะใช้กระบวนการหาความรู้อย่างไร เพื่อให้ได้มาซึ่งความรู้ ซึ่งถ้าใช้กระบวนการหาความรู้ ( Methodology ) ผิดวิธีการวิจัยจะไม่สาเร็จได้ดังที่ตั้งใจไว้ เมื่อตอบคาถามที่กล่าวมาได้ เราก็จะสามารถตั้งคาถามหลักที่เราอยากรู้ในเรื่องที่เราจะทาวิจัยคืออะไร และจะตอบคาถามอะไร จากแนวทางที่อาจารย์สุทธิดาสอนมาได้ทาให้นักศึกษาหลาย คนเริ่มตั้งคาถามที่ตรงกับใจตัวเองให้กระชับและชัดเจนมากขึ้นในระดับหนึ่ง เช่น การตั้งคาถามที่ว่า เลี้ยงโคอย่างไรให้สมบูรณ์ในฤดูแล้ง ซึ่งจะต้องหาความรู้ใน 2 ประเด็น คือ 1. การเลี้ยงโคในฤดูแล้งของชาวบ้านเป็นอย่างไร เป็นการรวบรวมและบรรยายถึงความรู้เดิมที่ชาวบ้านมีเป็นความรู้ที่ประสบความสาเร็จ ซึ่งเป็นข้อมูลที่มีในชุมชนรวมกับข้อมูลจากแหล่งอื่นมาสนับ สนุน 2. ชาวบ้านควรเลี้ยงโคอย่างไรในฤดูแล้งจึงจะดี เป็นการนาเอาความรู้ที่ประสบควมสาเร็จมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับชาวบ้านและชุมชน ภายใต้บริาทและเงื่อนไขของแต่ละคนที่ทาแล้วประสบความสาเร็จ หรืออาจจะเรียกได้ว่า เป็นการนาเอาความรู้ที่ชาวบ้านมีมาจัดการให้เป็นระบบภายใต้เงื่อนไขและบริบทของชาวบ้านและชุมชน