SlideShare a Scribd company logo
1 of 60
Download to read offline
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
หน่วยที่ 3
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
1.ชนิดของเครื่องกลึง
1.1 เครื่องกลึงยันศูนย์ (Engine Lathe)
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
1.2 เครื่องกลึงเทอร์เรท (Turret Lathe)
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
1.3 เครื่องกลึงคว้านตั้งฉาก (Vertical Turret Lathe)
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
1.4 เครื่องกลึงพิเศษ (Special Lathe)
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
2. ส่วนประกอบต่าง ๆ ของเครื่องกลึง
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
3.ขั้นตอนในการใช้งานเบื้องต้นของเครื่องกลึงยันศูนย์เบื้องต้น
ขั้นตอนการใช้งานของเครื่องกลึง ผู้เรียบเรียงได้เขียนขั้นตอนการใช้งาน
กับเครื่องกลึงยันศูนย์เบื้องต้น ดังต่อไปนี้
1. ตรวจสภาพความพร้อมของเครื่องกลึงก่อนใช้งานทุกครั้ง เช่น ตรวจ
ระบบไฟฟ้าและสภาพโดยรวมของเครื่องกลึง
2. ศึกษาแบบชิ้นงานให้เข้าใจและวางแผนในการเลือก เครื่องกลึง , มีด
กลึง ให้เหมาะสมกับวัสดุชิ้นงานที่จะนามากลึงชิ้นงาน
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
3. จับยึดมีดกลึงกับป้อมจับยึดมีดกลึง ( Tool Post ) ให้แน่นและตั้งศูนย์
มีดกลึงให้ได้ศูนย์โดยการเทียบกับชุดศูนย์ท้ายแท่น( Tail Stock ) หรือตั้งศูนย์กับ
ชิ้นงาน
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
4. ปรับขั้นความเร็วรอบของเพลาแกน ( Spindle ) ที่ชุดปรับขั้นความเร็ว
รอบ ( Spindle Speed ) ให้เหมาะสม ถ้าเครื่องกลึงใช้อัตราป้อนอัตโนมัติได้ก็เลือก
อัตราป้อนที่ชุดปรับขั้นอัตราป้อน( Feed Selector ) ในการกลึงให้เหมาะสมกับ
ชิ้นงาน
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
5. เปิ ด สวิตช์เครื่องกลึงพร้อมหมุนมือหมุนแท่นเลื่อน ( Carriage
Handwheel ) และมือหมุนแท่นตัดขวาง ( Cross Feed Handwheel ) เพื่อเลื่อนให้
มีดกลึงชิ้นงาน กลึงชิ้นงานจนกว่าจะได้ขนาดตามที่แบบกาหนด
6. หยุดเครื่องกลึงยันศูนย์ด้วยชุดเบรกแกนเพลา (Spindle Brake) พร้อม
วัดขนาดชิ้นงานกลึงอีกครั้ง เมื่อชิ้นงานได้ขนาดตามแบบที่กาหนด ก็ถอดชิ้นงาน
ออกจาก หัวจับ ( Chuck ) โดยการหมุนประแจขันหัวจับ ( Chuck Wrench ) ที่ออก
พร้อมจับชิ้นงานออก
7. ทาความสะอาดและเก็บกวาดบริเวณพื้นที่ปฏิบัติงานกลึงให้เรียบร้อย
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
4. หลักความปลอดภัยในการใช้เครื่องกลึง
1.ก่อนใช้เครื่องกลึง ทุกครั้ง ควรตรวจสอบความพร้อมของเครื่องกลึง
เช่น ตรวจสอบระบบไฟฟ้า ส่วนประกอบที่สาคัญ ๆ ของเครื่องกลึง เป็นต้น
2.ห้ามหยอกล้อเล่นกันในขณะเพื่อนกาลังกลึงงานเพราะอาจเกิดอันตราย
3. ผู้ปฏิบัติงานควรแต่งกายให้รัดกุมและสวมเครื่องป้องกันอันตรายส่วน
บุคคล เช่น สวมแว่นตากันเศษโลหะ สวมชุดปฏิบัติงานให้พอดีไม่ใหญ่เกินหรือคับ
เกินไป เป็นต้น
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
4. ห้ามคาประแจขันหัวจับ ( Chuck Wrench ) ไว้กับหัวจับ ( Chuck )
เพราะอาจเกิดอันตรายแก่ผู้ร่วมงานได้
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
5. ห้ามให้เศษโลหะที่กลึงชิ้นงานพันอยู่กับชิ้นงานกลึง ควรหยุด
เครื่องกลึงและใช้เหล็กตะขอเกี่ยวเศษโลหะออก เพื่อป้องกันอันตรายที่จะเกิดขึ้น
เปิดเครื่องกลึง
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
6. การใช้ การด์ (Guard Safety ) ครอบบริเวณ Spindle ทุกครั้งระหว่าง
กลึงชิ้นงาน เพื่อป้องกันเศษโลหะและชิ้นงานหลุดกระเด็นโดนผู้ปฏิบัติงานกลึงได้
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
7. ห้ามใช้เครื่องกลึง ที่ไม่ได้ปิดฝาครอบ (Hinged) บริเวณด้านข้างหัว
เครื่องที่มีระบบส่งกาลังและชุดเฟืองอัตราป้อน เพราะจะทาให้เกิดอันตรายแก่
ผู้ร่วมงานและผู้ปฏิบัติงานได้
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
8. ควรติดตั้งที่ครอบ ( Cover ) บริเวณเพลานา ( Lead Screw ) เพื่อ
ป้องกันเศษโลหะที่กลึงตกค้างเพราะจะทาให้ Lead Screw เกิดความเสียหายได้
ในขณะใช้งาน
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
9. ควรจัดวางอุปกรณ์เครื่องมือที่ใช้กับเครื่องกลึงบนชั้นวางหรือแผง
เครื่องมือเพื่อความสะดวกในการหยิบและความเป็นระเบียบเรียบร้อย
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
10. บริเวณพื้นที่โดยรอบเครื่องกลึงต้องสะอาด ปราศจากคาบน้ามันและ
เศษโลหะตกหล่น เพราะผู้ปฏิบัติงานกับเครื่องกลึงจะได้ไม่ลื่นหกลมจนทาให้เกิด
อุบัติเหตุได้
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
11. ในการวัดขนาดของชิ้นงานกลึงต่างๆ ควรให้แกนเพลา ( Spindle )
หยุดหมุน เพื่อความปลอดภัยของผู้ปฏิบัติงาน
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
12. ควรใช้แปรงปัดทาความสะอาดบริเวณ แท่นเครื่อง ( Bed Ways ) อย่า
ใช้ผ้าเช็ด เพราะจะทาให้เกิดรอยขีดข่วนได้
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
13. ควรจับยึดชิ้นงานกับหัวจับยึดชิ้นงานให้แน่น เพื่อป้องกันการหลุด
ของชิ้นงาน
14. ในการเปลี่ยนขั้นความเร็วรอบของเครื่องกลึง ควรให้แกนเพลา
(Spindle) หยุดเสียก่อนแล้วค่อยโยกแขนปรับชุดปรับขั้นความเร็วรอบ ( Spindle
Speed ) เพราะจะทาให้ชุดระบบเฟืองภายในบริเวณหัวเครื่อง แตกหัก เสียหายได้
15. พื้นบริเวณปฎิบัติงานกลึงต้องปราศจากเครื่องมือและเศษกลึง เพราะผู้
ปฏิบัติอาจเหยียบและลื่นหกล้มขณะปฏิบัติงานได้
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
5. วิธีการบารุงรักษาเครื่องกลึง
1. เช็ดทาความสะอาดตัวเครื่องกลึงและบริเวณที่ปฏิบัติงานทุกๆ ครั้งหลัง
เลิกใช้งาน
2. ตรวจเช็คระบบไฟฟ้าทุก ๆ 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน 1 ปี
3. เปลี่ยนถ่ายน้าหล่อเย็น อย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ครั้ง
4. ก่อนหรือหลังการใช้งานควรหยอดน้ามันหล่อลื่นบริเวณชิ้นส่วนที่มี
การเคลื่อนที่ทุกๆ ครั้ง
5. บันทึกตารางการบารุงรักษาประจาเครื่องกลึงทุกๆ ครั้งหลังเลิกใช้งาน
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
6.ขั้นตอนการลับมีดกลึง
1.งานลับมีดกลึงปาดหน้า
1. ศึกษาแบบการลับมีดปาดหน้าให้เข้าใจ
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
2. แต่งกายให้รัดกุม ใส่แว่นตานิรภัย ตรวจสอบสภาพเครื่องเจียระไนโดยการเช็คที่
ล้อหินว่าหน้าหินเรียบหรือไม่ ถ้าไม่เรียบให้ใช้ตัวปรับหน้าหินปรับแต่งหินให้เรียบ
ตรวจสอบที่รองเจียระไนว่าระยะห่างระหว่างงานกับล้อหินที่จะลับห่างกันมาก
หรือไม่ ปกติใช้ 1 – 2 มิลลิเมตร
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
3. ลับมุมหลบหน้าโดยวางมีดบนแท่นรองงานเอียงด้านขวามือให้สัมผัสกับล้อหิน
ค่อย ๆ กดมีดเข้าหาล้อหิน พอมีดสัมผัสล้อหินให้เอียงมีดขึ้นเล็กน้อย เพื่อให้ล้อหิน
ตัดเฉือนมีดจากด้านล่างขึ้นมาไม่ควรให้มีดสัมผัสกับผิวล้อหินนาน ควรเลื่อนให้
กินเต็มตัดมีดเต็มหน้าล้อหิน
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
4. เมื่อเกิดความร้อนให้นามาแช่น้าหล่อเย็นจนเย็นจึงนากลับไปลับใหม่
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
5. ตรวจสอบมุมโดยใช้เกจวัดมุมตั้งค่าที่ 78 องศา ตรวจมุมตั้งมีด และ 8 องศา
สาหรับมุมฟรีด้านข้าง ลับและตรวจสอบมุมไปเรื่อย ๆ จนได้ขนาดของมุมตั้งมีด 78
องศา และมุมฟรีด้านข้าง 8 องศา สิ่งสาคัญผิวของมีดกลึงต้องไม่ไหม้และเรียบ
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
6. ลับมุมหลบข้างโดยวางมีดบนแท่นรองงานเอียงด้านซ้ายมือให้สัมผัสกับล้อหิน
ค่อย ๆ กดมีดเข้าหาล้อหิน พอมีดสัมผัสล้อหินให้เอียงมีดขึ้นเล็กน้อย เพื่อให้ล้อหิน
ตัดเฉือนมีดจากด้านล่างขึ้นมาไม่ควรให้มีดสัมผัสกับผิวล้อหินนาน ควรเลื่อนให้
กินเต็มตัดมีดเต็มหน้าล้อหิน เมื่อเกิดความร้อนให้นามาแช่น้าหล่อเย็นจนเย็นจึงนา
กลับไปลับใหม่ ตามข้อ 4.
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
7. ตรวจสอบมุมโดยใช้เกจวัดมุมตั้งค่าที่ 78 องศา ลับและตรวจสอบมุมไปเรื่อย ๆ
จนได้ขนาดของมุมตั้งมีด 78 องศา สิ่งสาคัญผิวของมีดกลึงต้องไม่ไหม้และเรียบ
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
8. ลับมุมคาย 14 องศา เอียงด้านบนของมีดสัมผัสกับล้อหิน แล้วเอียงมีดขึ้นเล็กน้อย
ให้ด้านล่างสัมผัสกับล้อหินเลื่อน การตรวจสอบเหมือนกับขั้นตอนที่ 7 เพียง
เปลี่ยนมุมวัด ปิดเครื่องเมื่อทางานเสร็จขึ้น
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
9. ลับคมมีดด้วยหินน้ามันเพื่อลบครีบจากการเจียระไน
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
10. ใช้แปรงขนอ่อนทาความสะอาดเครื่องเจียระไนลับคมตัด
11. กวาดเศษโลหะบริเวณรอบๆ ของเครื่องเครื่องเจียระไนลับคมตัดเอาไปทิ้ง
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
2. งานลับมีดกลึงปอก
1. ศึกษาแบบการลับมีดปอกให้เข้าใจ
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
2. แต่งกายให้รัดกุม ใส่แว่นตานิรภัย ตรวจสอบสภาพเครื่องเจียระไนโดยการตรวจ
ที่ล้อหินว่าหน้าหินเรียบหรือไม่ ถ้าไม่เรียบให้ใช้ตัวปรับหน้าหินปรับแต่งหินให้
เรียบ ตรวจที่รองเจียระไนว่าระยะห่างระหว่างงานกับล้อหินที่จะลับห่างกันมาก
หรือไม่ ปกติใช้ 1 – 2 มิลลิเมตร
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
3. ร่างตาแหน่งของขอบคมตัดตามแบบ
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
4. ลับมุมหลบข้างและมุมตั้งมีด โดยวางมีดบนแท่นรองงานเอียงด้านซ้ายมือให้
สัมผัสกับล้อหิน ค่อย ๆ กดมีดเข้าหาล้อหิน พอมีดสัมผัสล้อหินให้เอียงมีดขึ้น
เล็กน้อย เพื่อให้ล้อหินกินมีดจากด้านล่างขึ้นมาไม่ควรให้มีดสัมผัสกับผิวล้อหิน
นาน ควรเลื่อนให้กินเต็มหน้าหิน
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
5. เมื่อเกิดความร้อนให้นามาแช่น้าหล่อเย็นจนเย็นจึงนากลับไปลับใหม่
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
6. ตรวจสอบมุมโดยใช้เกจวัดมุมตั้งค่าที่ 30 องศา เช็คมุมลับและตรวจสอบมุมไป
เรื่อย ๆ จนได้ขนาดของมุมตั้งมีด 30 และมุมฟรีด้านข้าง 8 องศา
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
7. ลับมุมรวมปลายมีด 90 องศา
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
8. ลับมุมคาย 14 องศา เอียงด้านบนของมีดสัมผัสกับล้อหินแล้วเอียงมีดขึ้นเล็กน้อย
ให้ด้านล่างสัมผัสกับล้อหิน เลื่อนมีดเข้าหาล้อหินเพื่อให้ล้อหินตัดเฉือนมีดจาก
ด้านล่างขึ้นด้านบนจนถึงสันคมมีด การตรวจสอบเหมือนกับขั้นตอนที่ 4 เพียง
เปลี่ยนมุมวัด
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
9. ลับคมมีดด้วยหินน้ามันเพื่อลบครีบจากการเจียระไน
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
10. ใช้แปรงขนอ่อนทาความสะอาดเครื่องเจียระไนลับคมตัด
11. กวาดเศษโลหะบริเวณรอบๆ ของเครื่องเครื่องเจียระไนลับคมตัดเอาไปทิ้ง
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
3. งานลับมีดกลึงตกร่อง
1. ศึกษาแบบการลับมีดตกร่องให้เข้าใจ
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
2. แต่งกายให้รัดกุม ใส่แว่นตานิรภัย ตรวจสอบสภาพเครื่องเจียระไนโดยการตรวจ
ที่ล้อหินว่าหน้าหินเรียบหรือไม่ ถ้าไม่เรียบให้ใช้ตัวปรับหน้าหินปรับแต่งหินให้
เรียบ ตรวจที่รองเจียระไนว่าระยะห่างระหว่างงานกับล้อหินที่จะลับห่างกันมาก
หรือไม่ ปกติใช้ 1 – 2 มิลลิเมตร
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
3. ร่างตาแหน่งของขอบคมตัดตามแบบ
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
4.ลับมุมฟรีด้านหน้าโดยวางมีดบนแท่นรองงานเอียงด้านซ้ายมือให้สัมผัสกับล้อ
หิน ค่อย ๆ กดมีดเข้าหาล้อหิน พอมีดสัมผัสล้อหินให้เอียงมีดขึ้นเล็กน้อย เพื่อให้
ล้อหินกินมีดจากด้านล่างขึ้นมา ไม่ควรให้มีดสัมผัสกับผิวล้อหินนาน ควรเลื่อนให้
กินเต็มหน้าหิน
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
5. เมื่อเกิดความร้อนให้นามาแช่น้าหล่อเย็นจนเย็นจึงนากลับไปลับใหม่
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
6. ตรวจสอบขนาดของมุมโดยใช้เกจวัดมุมวัดขนาดให้ได้ 8 องศา
7.ลับมุมหลบทั้ง 2 ข้าง โดยลับมุมหลบด้านขวา 2 องศา และลับมุมหลบด้านซ้าย 1
องศา สาหรับวิธีการวางมีดและการตรวจสอบเหมือนกับขั้นตอนที่ 4 เพียงเปลี่ยน
มุมวัดและใช้ด้านข้างเข้าลับ สาหรับขนาดของมีดตกร่องขึ้นอยู่กับขนาดกาหนดที่
ร่องจะทาการตกร่อง
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
8. ลับมุมคาย 8 องศา เอียงด้านบนของมีดสัมผัสกับล้อหิน แล้วกดมีดให้สัมผัสกับ
ล้อหินเบา ๆ ค่อย ๆ กดมีดให้ล้อหินกินมีดแล้วเลื่อนให้กินเต็มหน้ามีด ตรวจมุม
ด้วยเกจวัดมุม
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
9. ลับคมมีดด้วยหินน้ามันเพื่อลบครีบจากการเจียระไน
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
10. ใช้แปรงขนอ่อนทาความสะอาดเครื่องเจียระไนลับคมตัด
11. กวาดเศษโลหะบริเวณรอบๆ ของเครื่องเครื่องเจียระไนลับคมตัดเอาไปทิ้ง
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
4. งานลับมีดกลึงเกลียวสามเหลี่ยม
1. ศึกษาแบบการลับมีดตกร่องให้เข้าใจ
32
1
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
2. แต่งกายให้รัดกุม ใส่แว่นตานิรภัย ตรวจสอบสภาพเครื่องเจียระไนโดยการตรวจ
ที่ล้อหินว่าหน้าหินเรียบหรือไม่ ถ้าไม่เรียบให้ใช้ตัวปรับหน้าหินปรับแต่งหินให้
เรียบ ตรวจที่รองเจียระไนว่าระยะห่างระหว่างงานกับล้อหินที่จะลับห่างกันมาก
หรือไม่ ปกติใช้ 1 – 2 มิลลิเมตร
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
3. ร่างตาแหน่งของขอบคมตัดตามแบบ
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
4. ลับมุมหลบด้านซ้าย โดยวางมีดบนแท่นรองงานเอียงด้านซ้ายมือให้สัมผัสกับล้อ
หิน ค่อย ๆ กดมีดเข้าหาล้อหิน พอมีดสัมผัสล้อหินให้เอียงมีดขึ้นเล็กน้อย เพื่อให้
ล้อหินกินมีดจากด้านล่างขึ้นมา ไม่ควรให้มีดสัมผัสกับผิวล้อหินนานควรเลื่อนให้
กินเต็มหน้าหิน
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
5.เมื่อเกิดความร้อนให้นามาแช่น้าหล่อเย็นจนเย็นจึงนากลับไปลับใหม่
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
6. ตรวจสอบมุมโดยใช้เกจวัดมุมตั้งค่าที่ 30 องศา และมุม 1 องศากับด้านบน สิ่ง
สาคัญผิวของมีดกลึงต้องเรียบและไม่มีรอยไหม้
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
7. ลับมุมหลบด้านขวา โดยวางมีดบนแท่นรองงานเอียงด้านขวามือให้สัมผัสกับล้อ
หิน ค่อย ๆ กดมีดเข้าหาล้อหิน แล้วทาตามข้อ 4
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
8. ตรวจสอบมุมโดยใช้เกจวัดมุมตั้งค่าที่ 30 องศา และ 2 องศากับด้านบน ลับและ
ตรวจสอบมุมไปเรื่อย ๆ จนได้ขนาดของมุม 30 องศา
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
9. ลับคมมีดด้วยหินน้ามันเพื่อลบครีบจากการเจียระไน
สาขาช่างกลโรงงาน วิทยาลัยเทคนิคกาแพงเพชร
วิชางานเครื่องมือกลเบื้องต้น
หน่วยที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องกลึง
10. ใช้แปรงขนอ่อนทาความสะอาดเครื่องเจียระไนลับคมตัด
11. กวาดเศษโลหะบริเวณรอบๆ ของเครื่องเครื่องเจียระไนลับคมตัดเอาไปทิ้ง

More Related Content

What's hot

รายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdf
รายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdfรายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdf
รายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdfJiruttiPommeChuaikho
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสWann Rattiya
 
แบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อแบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อMuta Oo
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1MaloNe Wanger
 
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]คมสันต์ วงศ์กาฬสินธุ์
 
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บกคู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บกBally Achimar
 
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 101 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1Siwaphon Tonpui
 
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์TANIKAN KUNTAWONG
 
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวNut Seraphim
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นrumpin
 
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆthanakit553
 
ประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือguest64f3d9
 

What's hot (20)

2 2
2 22 2
2 2
 
รายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdf
รายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdfรายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdf
รายงาน PA 2566 ฉบับสมบูรณ์.pdf
 
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิสแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 7 การออสโมซิส
 
แบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อแบบทดสอบ 50 ข้อ
แบบทดสอบ 50 ข้อ
 
01 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r101 bolt and nut - r1
01 bolt and nut - r1
 
2 3
2 32 3
2 3
 
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
บทที่ 1 เวอร์เนีย ไฮเกจ ไมโครมิเตอร์ [โหมดความเข้ากันได้]
 
1 1
1 11 1
1 1
 
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิกแบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
แบบฝึกหัดที่ 3 การฉายภาพออโธกราฟิก
 
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บกคู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
คู่มือบทที่ 20 การแลกเปลี่ยนแก๊สของสัตว์น้ำและสัตว์บก
 
Auto cad all
Auto cad allAuto cad all
Auto cad all
 
1 2
1 21 2
1 2
 
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 101 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
01 52 01-0334 แผนฯ คณิตศาสตร์ ม 1 เล่ม 1
 
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์เรื่องกล้องจุลทรรศน์
เรื่องกล้องจุลทรรศน์
 
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าวปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
ปฏิบัติงานการวัดระยะด้วยการนับก้าว
 
แบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่นแบบทดสอบคลื่น
แบบทดสอบคลื่น
 
5 1
5 15 1
5 1
 
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆเรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
เรื่องที่ 4 การเคลื่อนที่แบบต่างๆ
 
1 3
1 31 3
1 3
 
ประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือประวัติลูกเสือ
ประวัติลูกเสือ
 

Viewers also liked

Expo dos
Expo dos Expo dos
Expo dos EPAE
 
Comparative Table: DO 174, DO 18A, DO 19 and the Labor Code
Comparative Table: DO 174, DO 18A, DO 19 and the Labor CodeComparative Table: DO 174, DO 18A, DO 19 and the Labor Code
Comparative Table: DO 174, DO 18A, DO 19 and the Labor CodeSonnie Santos
 
การสร้างสื่อ e-Learning ด้วย moodle
การสร้างสื่อ e-Learning ด้วย moodleการสร้างสื่อ e-Learning ด้วย moodle
การสร้างสื่อ e-Learning ด้วย moodleanchalee khunseesook
 
Evaluation question 2 - Louis Russell
Evaluation question 2 - Louis RussellEvaluation question 2 - Louis Russell
Evaluation question 2 - Louis Russelllouisruss12
 
Vernier caliper
Vernier caliper Vernier caliper
Vernier caliper Nj Dilla
 
Diploma sem 2 applied science physics-unit 1-chap 3 measuring instruments
Diploma sem 2 applied science physics-unit 1-chap 3 measuring instrumentsDiploma sem 2 applied science physics-unit 1-chap 3 measuring instruments
Diploma sem 2 applied science physics-unit 1-chap 3 measuring instrumentsRai University
 
(SHAPER) Shaping machine by polayya chintada
(SHAPER) Shaping machine by polayya chintada(SHAPER) Shaping machine by polayya chintada
(SHAPER) Shaping machine by polayya chintadaPOLAYYA CHINTADA
 
Introduction to Measurements
Introduction to MeasurementsIntroduction to Measurements
Introduction to Measurementskeithpeter
 
Reading a micrometer
Reading a micrometerReading a micrometer
Reading a micrometerkshoskey
 
Metrology and Measurements unit 2
Metrology and Measurements unit 2Metrology and Measurements unit 2
Metrology and Measurements unit 2Gopinath Guru
 
Drilling machine metal woprk
Drilling machine  metal woprkDrilling machine  metal woprk
Drilling machine metal woprkgarfield Tulloch
 

Viewers also liked (18)

ความปลอดภัย1
ความปลอดภัย1ความปลอดภัย1
ความปลอดภัย1
 
Expo dos
Expo dos Expo dos
Expo dos
 
Input Techniques for Mobile
Input Techniques for MobileInput Techniques for Mobile
Input Techniques for Mobile
 
Plan2017 ppt
Plan2017 pptPlan2017 ppt
Plan2017 ppt
 
Radiación i
Radiación iRadiación i
Radiación i
 
Comparative Table: DO 174, DO 18A, DO 19 and the Labor Code
Comparative Table: DO 174, DO 18A, DO 19 and the Labor CodeComparative Table: DO 174, DO 18A, DO 19 and the Labor Code
Comparative Table: DO 174, DO 18A, DO 19 and the Labor Code
 
Drets humans
Drets humansDrets humans
Drets humans
 
Plan anual inspección 2016.
Plan anual inspección 2016.Plan anual inspección 2016.
Plan anual inspección 2016.
 
การสร้างสื่อ e-Learning ด้วย moodle
การสร้างสื่อ e-Learning ด้วย moodleการสร้างสื่อ e-Learning ด้วย moodle
การสร้างสื่อ e-Learning ด้วย moodle
 
Evaluation question 2 - Louis Russell
Evaluation question 2 - Louis RussellEvaluation question 2 - Louis Russell
Evaluation question 2 - Louis Russell
 
Vernier caliper
Vernier caliper Vernier caliper
Vernier caliper
 
Diploma sem 2 applied science physics-unit 1-chap 3 measuring instruments
Diploma sem 2 applied science physics-unit 1-chap 3 measuring instrumentsDiploma sem 2 applied science physics-unit 1-chap 3 measuring instruments
Diploma sem 2 applied science physics-unit 1-chap 3 measuring instruments
 
(SHAPER) Shaping machine by polayya chintada
(SHAPER) Shaping machine by polayya chintada(SHAPER) Shaping machine by polayya chintada
(SHAPER) Shaping machine by polayya chintada
 
Introduction to Measurements
Introduction to MeasurementsIntroduction to Measurements
Introduction to Measurements
 
Reading a micrometer
Reading a micrometerReading a micrometer
Reading a micrometer
 
Unit 3
Unit 3Unit 3
Unit 3
 
Metrology and Measurements unit 2
Metrology and Measurements unit 2Metrology and Measurements unit 2
Metrology and Measurements unit 2
 
Drilling machine metal woprk
Drilling machine  metal woprkDrilling machine  metal woprk
Drilling machine metal woprk
 

บทที่ 3 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับเครื่องก