SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
Download to read offline
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปาก
   (Oral Health Service Plan)




                     สํานักบริหารการสาธารณสุข
              สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
                             มิถุนายน ๒๕๕๕
คํานํา

         จากนโยบายของกระทรวงสาธารณสุ ขที่ ใหหนวยบริ การสุขภาพ จังหวั ด และเขต จัด ทํ า
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)                     ระยะเวลา ๕ ป4 ( ๒๕๕๕-๒๕๕๙) เพื่อ
ใหบริการแตละระดับที่มีบทบาทหนาที่ที่แตกตางกัน มีการเชื่อมโยงกันดวยระบบสงตอ (Referral
System) สามารถจัดบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ และเกิดการใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด อยางมี
ประสิ ท ธิ ภ าพ ตลอดจนเปD น ระบบบริ ก ารสุ ข ภาพที่ มี ศั ก ยภาพรองรั บ ปF ญ หาทางการแพทยH แ ละ
สาธารณสุขที่มีความซับซอนในระดับพื้นที่ได
         สํานักบริหารการสาธารณสุขมีแผนงานให วิชาชีพ/งานบริการภายในสถานบริการสุขภาพ มี
เกณฑHพัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อใชประเมินศักยภาพ สวนขาด สําหรับเปDนขอมูลไปใชจัดทํา
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ระบบงานบริการสุขภาพชองปากก็เปDนสวนหนึ่งที่ตองดําเนินงานรวม
ไปกั บ งานบริ ก ารสุ ขภาพอื่ น ในหนวยงาน ทางสํ า นั กบริ ห ารการสาธารณสุ ข จึ งไดจั ด ทํ า เอกสาร
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปาก (Oral Health Service Plan) ขึ้นโดยความรวมมือของ
สํานักทันตสาธาณสุข กรมอนามัย ทันตบุคลากรจาก สถาบันทันตกรรม กรมการแพทยH ศูนยHสงเสริม
สุขภาพเขต สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลศูนยH โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน
เพื่อใหงานสุขภาพชองปาก สามารถดําเนินการวิเคราะหHหนวยงาน และจัดทําแผนพัฒนาระบบบริการ
สุขภาพชองปาก รองรับปFญหาสุขภาพชองปากและความตองการของประชาชนในพื้นที่ ไดอยางมี
คุณภาพ และบูรณาการไปกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพของระบบสุขภาพ


                                                                    สํานักบริหารการสาธารณสุข
                                                             สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
                                                                               มิถุนายน ๒๕๕๕
สารบัญ


                                                                      หน6า
- แนวคิดของแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan)                    ๑
- แนวทางจัดทําแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปาก
  (Oral Health Service Plan) ระดับจังหวัดป4 ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐               ๕
- เกณฑHพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปากในหนวยบริการปฐมภูมิ                 ๘
- เกณฑHพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปากในหนวยบริการทุตติภูมิ และตติยภูมิ   ๑๗
- ภาคผนวก ความหมายของกลุมหัตถการ งานทันตกรรม                          ๓๒
๑

                            แนวคิดของแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
                                      (Service Plan)
                         ดัดแปลงมาจาก เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาเพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพสวนภูมภาคิ
                                         วันที่ ๒๙ กุมภาพันธ% ๒๕๕๕ ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด% กรุงเทพมหานคร
                                                 สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

๑. หลักการและเหตุผล

          กระทรวงสาธารณสุข มีหน*าที่รับผิดชอบดูแลสุขภาพของประชาชน โดยการจัดให*มีระบบบริการ
สุขภาพที่ครอบคลุมทั้งการสงเสริมสุขภาพ การป/องกันโรค การรักษาพยาบาลและการฟ23นฟูสภาพ มีการ
จัดระบบบริการสุขภาพออกเป4นหลายระดับ ได*แก บริการระดับปฐมภูมิ (Primary Care) บริการระดับทุติยภูมิ
(Secondary Care) และบริการระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) โดยมุงหวังให*บริการแตละระดับมีบทบาท
หน*าที่ที่แตกตางกัน และเชื่อมโยงกันด*วยระบบสงตอ (Referral System) เพื่อให*สามารถจัดบริการสุขภาพที่มี
คุณภาพ และเกิดการใช*ทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนเป4นระบบบริการสุขภาพที่มี
ศักยภาพรองรับปPญหาทางการแพทย%และสาธารณสุขที่มีความซับซ*อนในระดับพื้นที่ได*
         ปPจจุบันระบบบริการสุขภาพของประเทศไทย ประสบกับปPญหาสําคัญหลายประการ ได*แก ปPญหา
เรื่องประสิทธิภาพ คุณภาพบริการ ความเป4นธรรมในการเข*าถึงบริการ ความแออัดของผู*รับบริการในสถาน
บริการระดับสูง สะท*อนถึงการใช*ทรัพยากรที่ไมเหมาะสม ไมสอดคล*องกับบทบาทของสถานพยาบาลในการ
ให*บริการ         มีการแขงขันขยายบริการและเกิดการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดโดยขาดการวาง
แผนการจัดระบบบริการที่ดี กอให*เกิดความไมเป4นธรรมในการพัฒนาและการเข*าถึงบริการของประชาชน
           กระทรวงสาธารณสุขจึงจําเป4นต*องทบทวนแนวทางการพัฒนาหนวยบริการให*มีทิศทางที่ชัดเจนและ
เป4นระบบ ต*องดําเนินการให*มีแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โดยมีระยะเวลาอยางน*อย
๕ ปU ( ๒๕๕๕-๒๕๕๙) มุงพัฒนาระบบบริการทุกระดับตั้งแตระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ระดับตติยภูมิ ซึ่งรวมถึง
การพัฒนาความเชี่ยวชาญระดับสูง สร*างระบบที่เชื่อมโยงกันเป4นเครือขายทั้งภายในจังหวัด ภายในเขต และ
เป4น เครื อขายระดับประเทศ อีกทั้งสมควรดํ าเนิ นการจัด ทําแผนการสนับ สนุน ทรัพยากรให* สอดคล*องกั บ
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ มีการจัดสรรทรัพยากรสนับสนุนตามบทบาทหน*าที่ของบริการแตละระดับ
และสงเสริมสนับสนุนให*ดําเนินการพัฒนาตามแผนพัฒนาคุณภาพบริการ ตามเกณฑ%มาตรฐานคุณภาพบริการ
ที่เป4นที่ยอมรับกันในปPจจุบัน
        การกําหนดกรอบนโยบายการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จึงมีความจําเป4นต*องปรับเปลี่ยนกรอบ
พื้นฐานความคิด (Paradigm shift) ทั้งแนวคิดพื้นฐาน มุมมองตอปPญหา และแนวปฏิบัติ เพื่อสามารถ
ตอบสนองแนวโน*มความเปลี่ยนแปลงของสังคมและประชากร ตลอดจนความต*องการด*านสุขภาพของประเทศ
ได*ทันทวงที อาทิเชน การขยายสถานบริการปฐมภูมิที่มีขีดความสามารถในเขตเมือง ควบคูกับการพัฒนา
บริ การเวชปฏิ บั ติ ครอบครั ว การพั ฒ นาโรงพยาบาลชุ มชนในพื้ น ที่ สํ า คั ญ การพั ฒ นาความเชี่ ย วชาญทาง
การแพทย%ระดับสูงในระดับภาค เป4นต*น
        ในปU ๒๕๕๓–๒๕๕๔ สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายจัดทําแผนพัฒนาระบบบริการ
สุขภาพ จึงได*แตงตั้งคณะกรรมการอํานวยการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ โดยมีปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒

(นายแพทย%ไพจิตร% วราชิต) เป4นประธาน เพื่อพิจารณากรอบแนวทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพของ
กระทรวงสาธารณสุข

๒. วัตถุประสงค0
         ๒.๑ เพื่อกําหนดทิศทางการพัฒนาและออกแบบระบบบริการสุขภาพในสวนภูมิภาคทั้งระบบ ให*มีขีด
ความสามารถที่จะรองรับความท*าทายและบริบทที่เปลี่ยนแปลงในอนาคตได*
         ๒.๒ เพื่อจัดทําแผนพัฒนาระบบบริการเป4นเครือขายให*สอดคล*องกับทิศทางการพัฒนาดังกลาว โดย
สอดประสานกันทั้งด*านโครงสร*าง บุคลากร และคุณภาพบริการ
         ๒.๓ ริเริ่มและขยายสถานบริการที่จําเป4น ตลอดจนการปรับปรุง หรือเสริมสร*างศักยภาพของสถาน
บริการสาธารณสุขในสวนภูมิภาคให*เป4นไปตามแผนพัฒนาเครือขายบริการ

๓. กรอบแนวคิด
        ๓.๑ ความจําเป4นของการจัดระบบบริการสุขภาพในรูปแบบเครือขาย แทนการขยายโรงพยาบาลเป4น
แหงๆ โดยใช*หลักการ “เครือขายบริการที่ไรรอยตอ (Seamless Health Service Network)” ที่
สามารถเชื่อมโยงบริการทั้ง ๓ ระดับเข*าด*วยกัน ตั้งแตระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ ทั้งนี้ให*เป4นไป
ตามสภาพข*อเท็จจริงทางภูมิศาสตร%และการคมนาคม โดยไมมีเส*นแบงของการปกครองหรือการแบงเขตตรวจ
ราชการ เป4นตัวขวางกั้น
        ๒. แตละจังหวัดจะต*องมี “เครือขายบริการระดั บจังหวัด (Provincial Health Service
Network)” ที่สามารถรองรับการสงตอตามมาตรฐานระดับจังหวัดได*อยางสมบูรณ% (Self-containment for
Referral Provincial Network) อยางน*อย ๑ เครือขาย โดยเครือขายจะต*องพัฒนาประสิทธิภาพในการ
ให*บริการของเครือขายให*สูงขึ้นตามมาตรฐานที่กําหนด ประกอบด*วยโรงพยาบาลทั่วไปที่อยูในระดับมาตรฐาน
เป4นแมขาย และรับผิดชอบการจัดบริการของโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและเครือขายบริการปฐมภูมิ (CUP)
เครือขายอาจสงตอผู*ปfวยไปนอกเครือขายเทาที่จําเป4นหรือในรายที่เกินขีดความสามารถเทานั้น ทั้งนี้การ
บริหารเครือขายให*ดําเนินการในรูปของคณะกรรมการ
        ๓. ให*มีการจัด “ระดับโรงพยาบาลรับผูป8วยสงตอ (Referral Hospital Cascade)” ตามขีด
ความสามารถของโรงพยาบาลแตละระดับ เพื่อใช*ทรัพยากรภายในเครือขายที่มีอยางจํากัดให*มีประสิทธิภาพ
สูงสุด หลีกเลี่ยงการลงทุนที่ซ้ําซ*อน และขจัดสภาพการแขงขันกัน

๔. ทิศทางการพัฒนาระบบบริการในแผน ๕ ป6 จะให*ความให*ความสําคัญในเชิงยุทธศาสตร% ๓ ประเด็น
(Key Strategic Areas) ดังนี้
         ๔.๑ การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในชุมชนเมืองที่มีประชากรหนาแนน (ทั้งเขตเมืองที่ตั้งของ
ตัวจังหวัด และเขตเมืองอื่นๆ) ให*มีขีดความสามารถระดับแพทย%เวชปฏิบัติครอบครัวหรือแพทย%เวชปฏิบัติ
ทั่วไป เพื่อรองรับการเติบโตของชุมชนเมืองและประชากรวัยสูงอายุ ซึ่งจะมีภาระของการดูแลโรคเรื้อรัง โรคที่
เกิดจากความเสื่อมของรางกาย และสุขภาพจิตที่เพิ่มขึ้นมาก
         ๔.๒ การพั ฒ นาโรงพยาบาลระดั บ ตางๆ ให* เ ป4 น สวนหนึ่ ง ของระบบเครื อ ขายบริ ก าร เพื่ อ ให*
โรงพยาบาลแตละแหงเติบโตอยางมีทิศทาง มีภารกิจหน*าที่ชัดเจน มีจังหวะก*าว และเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน
ภายในเครือขาย
๓

         ๔.๓ การพัฒนาศูนย%ความเชี่ยวชาญระดับสูง ๔ สาขา ดังนี้ ทารกแรกเกิด มะเร็ง อุบัติเหตุ หัวใจ
เพื่ อรองรั บ ระบบสงตอผู* ปf ว ยที่ มีความยุ งยากซั บ ซ* อนและใช* เ ทคโนโลยี ร ะดั บ สู งและราคาแพง แบงขี ด
ความสามารถในการให*บริการเป4น ๓ ระดับ โดยกระจายครอบคลุมพื้นที่ทั้งประเทศอยางทั่วถึง

๕. โครงสร8างใหม:ตามภารกิจของสถานบริการภายในเครือข:าย
         จาก Key Strategic Areas ทั้ง ๓ ประเด็น จะนําไปสูการจัดโครงสร*างของสถานบริการตางๆ ตาม
ภารกิ จที่ เหมาะสมกั บพื้ นที่ โดยมี จุดเดนอยูที่ การขยายหรื อยกระดั บ สถานบริ การให* สู งขึ้ น ในพื้ นที่ จํ า เป4 น
ตลอดจนการพัฒนาปรับปรุงขีดความสามารถของสถานบริการให*เป4นไปตามแผนพัฒนาเครือขายบริการ ดังนี้
         ๕.๑ การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในชุมชนเมือง / หนาแนน
                 ๕.๑.๑ จัดตั้ง “ศูนย%สุขภาพชุมชนเมือง” ที่สามารถดูแลประชากรในเขตเมืองขนาดไมเกิน
แหงละ ๓๐,๐๐๐ คน ได*อยางตอเนื่อง ผสมผสาน และเป4นองค%รวม โดยมีรูปแบบที่หลากหลาย และให*
ท*องถิ่น/เอกชนมีสวนรวมอยางเต็มที่
                 ๕.๑.๒ พั ฒ นาศั ก ยภาพของโรงพยาบาลสงเสริ ม สุ ข ภาพตํ า บลขนาดใหญที่ รั บ ผิ ด ชอบ
ประชากรตั้งแต ๘,๐๐๐ คนขึ้นไป จํานวน ๑,๐๐๐ แหง
                 ๕.๑.๓ สงเสริม สนับสนุนการดําเนินการบริการปฐมภูมิ แก รพ.สต. ๘,๗๕๕ แหง
                 ๕.๑.๔ พัฒนาระบบเชื่อมโยงข*อมูล ได*แก ข*อมูลสุขภาพที่เชื่อมโยงกับแมขาย พัฒนาระบบ
การตรวจทางห*องปฏิบัติการและการรายงานผล Online ระบบปรึกษาทางไกล
         ๕.๓ การพัฒนาศูนย%ความเชี่ยวชาญระดับสูง จัดตั้งศูนย%ความเชี่ยวชาญระดับสูงภายใน รพศ./
รพท. ๔ สาขา ได*แก หัวใจ มะเร็ง อุบัติเหตุ ทารกแรกเกิด สาขาละ ๓ ระดับ กระจายทั่วทุกภาค

               ศูนย0ความเชี่ยวชาญ                       เดิม                   ป6งบประมาณ ๒๕๕๕
                      ระดับสูง               ระดับ ๑           ระดับ ๒        ระดับ ๑    ระดับ ๒
             ๑. ศูนย%โรคหัวใจ                  ๐                 ๗              ๑๐         ๑๑
             ๒. ศูนย%โรคมะเร็ง                 ๐                 ๑๐               ๙        ๑๓
             ๓. ศูนย%อุบัติเหตุ                ๐                 ๑๘             ๑๒         ๑๑
             ๔. ศูนย%ทารกแรกเกิด               ๐                  ๐               ๙        ๑๘

         ทั้ ง นี้ กํ า หนดให* มี โ รงพยาบาลที่ มี ขีด ความสามารถอยางน* อ ยระดั บ ๓ ของศู น ย% ค วามเชี่ ย วชาญ
ระดับสูง ๔ สาขา ในทุกจังหวัด เพื่อเป4นหลักประกันวาประชาชนในจังหวัดมีความเทาเทียมกันในการเข*าถึง
บริการพื้นฐาน

๖. การบริหารจัดการเครือข:ายบริการในส:วนภูมิภาค
       ดําเนินการในรูปแบบของเครือขายบริการ โดยเชื่อมโยงบริการตั้งแตระดับตติยภูมิถึงระดับปฐมภูมิ
ครอบคลุมสถานบริการภายใน ๔-๘ จังหวัด ดูแลประชากรประมาณ ๕ ล*านคน เป4น ๑ เครือขาย รวมทั้งสิ้น
๑๒ เครือขาย โดยมีคณะกรรมการบริหารเครือขายบริการ ทําหน*าที่ดูแลระบบบริการ การเงินการคลังและ
การสงตอภายในเครือขาย เพื่อเพิ่มคุณภาพระบบหลักประกันสุขภาพ ประชาชนได*รั บบริการที่มีคุณภาพ
มาตรฐาน ทั่วถึง เป4นธรรม และสร*างระบบบริหารจัดการที่มีเอกภาพ
๔

๗. การจัดหาแหล:งทุนเพื่อการพัฒนา
   แหลงทุนหรืองบประมาณเพื่อพัฒนาเครือขายบริการให*เป4นไปตามแผน ๕ ปU ได*แก
     ๗.๑ งบประมาณรายจายประจําปUของกระทรวงสาธารณสุข โครงการพัฒนาเครือขายบริการ
     ๗.๒ งบคาเสื่อมของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปUละ ๕,๐๐๐ล*านบาท
     ๗.๓ รายจายคาเสื่อมจากยอดสินทรัพย%ไมหมุนเวียน บริหารจัดการภายในเขต
5

     แนวทางจัดทําแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปาก (Oral Health Service Plan)
                           ระดับจังหวัดป- 2556-2560

กรอบการพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปาก
    1. เกณฑพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปาก เปนเครื่องมือสําหรับใช$ประเมินศักยภาพ และสวนขาด ของ
งานบริการ ทรัพยากร และระบบการดําเนินงานสุขภาพชองปาก ของสถานบริการสุขภาพตั้งแตระดับปฐมภูมิ
จนถึงระดับตติยภูมิ เพื่อให$ได$ข$อมูลสําหรับสถานบริการสุขภาพนําไปใช$วางแผนพัฒนาระบบบริการ กอนนําไปใช$
จังหวัดควรดําเนินการ ดังนี้
        1.1. พิจารณาปรับปรุง เพิ่มเติม เกณฑตางๆ ให$เหมาะสมกับลักษณะการทํางานในแตละพื้นที่ กรณีปรับ
              เกณฑให$ด$อยลงควรมีเหตุผลความจําเปนประกอบ
        1.2. ชี้แจ$งทําความเข$าใจกับทุกหนวยงาน ในจังหวัด
    2. จากหลักการของการวางแผนพัฒนาระบบบริการ ที่มุงหวังให$มีระบบบริการสุขภาพที่มีศักยภาพ เกิดการ
ใช$ทรัพยากรที่จํากัดอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนรองรับป:ญหาทางการแพทยและสาธารณสุขที่มีความซับซ$อนใน
ระดับพื้นที่ได$
        2.1. ควรใช$ศักยภาพของสถานบริการสุขภาพตามที่จังหวัดได$กําหนดไว$ และเพิ่มรายละเอียดของศักยภาพ
              งานสุขภาพชองปาก
        2.2. ควรกําหนดโซนรับผิดชอบของโรงพยาบลาศักยภาพสูง ภายในจังหวัด เพื่อให$การสงตอสามารถสงตอ
              ในจุดที่ไมหางไกลเกินไปตามความซับซ$อนของโรค
    3. จังหวัดควรใช$กลไกของ คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปาก ในการดําเนินงานพัฒนาระบบ
บริการสุขภาพชองปาก

ผลลัพธ5ที่ต9องการ
        1. จังหวัดสามารถใช$ประโยชนจากแผนจัดการทรัพยากร เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ
           ของจังหวัดได$จริง เชน การจัดทําคําของบประมาณ การจัดสรรงบลงทุน UC การจัดสรรกําลังคน
           ฯลฯ
        2. จังหวัดสามารถใช$ประโยชนจากแผนงบกองทุนทันตกรรม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาบริการสุขภาพ
           ชองปากของจังหวัด ในทิศทางที่เน$นการการสงเสริมปBองกัน ที่ตอบสนองตอการแก$ป:ญหาสุขภาพ
           ชองปากของกลุมเปBาหมายตางๆในแตละพื้นที่
        3. สถานบริการสุขภาพและระบบบริการสุขภาพได$รับการติดตามประเมินผล เพื่อให$คําแนะนะ
           ปรับปรุงแก$ไขอยางตอเนื่อง
6

แผนพัฒนาศักยภาพบริการสุขภาพชองปากของโรงพยาบาล/สถานบริการสุขภาพ
       เปนแผนพัฒนาระยะ 5 ปD (2556-2560) ของโรงพยาบาล/สถานบริการแตละแหง
       เปBาประสงค เพื่อการพัฒนาสถานบริการให$มีขีดความสามารถขั้นสูงของระดับบริการนั้นๆ (ตามกรอบ
เกณฑพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปากในหนวยบริการบริการสุขภาพขั้นต่ําของสถานบริการแตละระดับ)
       แผนควรนําเสนอ “เปBาหมายพัฒนาบริการ” ในเชิงผลลัพธที่แสดงขีดความสามารถที่สูงขึ้น หรือ เพื่อการ
ขยายบริการเดิมอยางเปนรูปธรรม และ ปฏิบัติได$จริง หรือ เน$นบริการสงเสริมปBองกันเพื่อแก$ป:ญหาสุขภาพชอง
ปากในแตละกลุมวัย ให$กลุมเปBาหมายเข$าถึงบริการอยางครอบคลุมและได$รับบริการที่มีคุณภาพ
       จากนั้นจึงเสนอรายละเอียดของ “แผนลงทุน” ที่เชื่อมโยงสอดรับกับการบรรลุเปBาหมายที่เปน Package
แตละกรณี มีการจัดลําดับความสําคัญกอนหลังในแตละเปBาหมาย
       ควรใช$แผนฯ เปนตัวขับเคลื่อนองคกรและระดมสรรพกําลังที่มีอยูเพื่อพัฒนาองคกร หรือเพื่อสะท$อน
ความสําคัญของการพัฒนาบริการ รวมทั้งเพื่อติดตามกํากับความก$าวหน$าของการดําเนินงาน
       องคประกอบของแผนพัฒนา
       ควรประกอบด$วย 5 สวน ดังนี้
       1. ข$อมูลพื้นฐาน
          1.1 ข$อมูลทั่วไป ประชากร สถานะทันสุขภาพ และ พฤติกรรมเสี่ยง
          1.2 ข$อมูลทรัพยากร ได$แก หนวยบริการ อัตรากําลัง และ ข$อมูลการเงินการคลัง
          1.3 ข$อมูลผลการจัดการบริการสุขภาพชองปากในแตละประเภทย$อนหลัง 3 ปD
       2. การวิเคราะหศักยภาพบริการของโรงพยาบาลที่เปนอยูป:จจุบัน การวิเคราะหสวนขาดของการ
          จัดบริการ โดยใช$เกณฑพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปากในหนวยบริการบริการสุขภาพ และการ
          กําหนด “เปBาหมาย” การพัฒนา และการสนับสนุนเพื่อการพัฒนาบริการตามเปBาหมาย
       3. การจัดลําดับความสําคัญของ “บริการ” ที่เปนเปBาหมายการพัฒนาในระยะ 5 ปD ตามสภาพป:ญหา
          และทิศทางการพัฒนาตามนโยบายสุขภาชองปากของจังหวัด
       4. การจัดลําดับความสําคัญของการลงทุนที่สอดคล$องกับข$อ 3 ได$แก ครุภัณฑทันตกรรม และกําลังทันต
          บุคลากรที่น เชน ทันตาแพทย ทันตาภิบาล นักวิชากการทันตสาธารณสุข และ ผู$ชวยทันตกรรม ชาง
          ทันตกรรม ฯลฯ
       5. สรุปภาพรวมของเปBาหมายบริการ ความต$องการและประมาณการด$านลงทุนในระยะ 5 ปD

แผนพัฒนาระบบบริการระดับจังหวัด
          จังหวัดจัดทําแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปาก ที่เปนแผนในภาพรวมจังหวัด ตั้งแตระดับปฐมภูมิ
ทุติยภูมิ และตติยภูมิ ระยะเวลา 5 ปD (2556-2560) ให$ผสมผสานเปนองคประกอบหนึ่งของแผนพัฒนาระบบ
บริการสุขภาพระดับจังหวัด ได$แก ครุภัณฑและทันตบุคลากร โดยพิจารณาจากแผนพัฒนาศักยภาพบริการของ
สถานบริการแตละแหงในจังหวัด มีการจัดลําดับความสําคัญกอนหลังเปนภาพรวมจังหวัด และแผนพัฒนาบริการ
สุขภาพชองปากที่ใช$งบกองทุนทันตกรรมในกรอบเวลา 5 ปD เปนแผนที่มีการวิเคราะหป:ญหาของในกลุมเปBาหมาย
7

ที่สําคัญ สรุปบทเรียนจุดออนในการดําเนินการที่ผาน และกําหนดกลยุทธ มาตรการ โครงการ และกิจกรรมสําคัญ
ที่ต$องดําเนินการในกลุมเปBาหมายตางๆที่สําคัญของจังหวัด
       องคประกอบของแผนพัฒนาระบบบริการระดับจังหวัด
       1.   ข$อมูลพื้นฐานของจังหวัด (หัวข$อให$จังหวัดกําหนดเองตามความเหมาะสม)
       2.   เปBาหมายการพัฒนาศักยภาพที่สําคัญ แบงตามระดับบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ
       3.   ลําดับความสําคัญของงบลงทุน (อาคารสถานที่ ครุภัณฑ) แบงตามระดับบริการ
       4.   ลําดับความสําคัญของความต$องการอัตรากําลัง แบงตามระดับบริการ
       5.   การติดตามกํากับ และประเมินผล

เกณฑ5พัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปากในหนวยบริการบริการสุขภาพ
       ประกอบด9วยเกณฑ5มาตรฐาน ๒ หมวด คือ
       หมวดที่ ๑ การจัดบริการสุขภาพ
       ด$านที่ ๑ มาตรฐานขีดความสามารถการให$บริการประกอบด$วย
       ๑. คุณภาพและประสิทธิภาพของระบบบริการ
       ๒. ขอบเขตการจัดบริการทันตกรรม
       ๓. ประเภทบริการทันตกรรม
       ๓.๑ ด$านบริการบําบัดรักษาทันตกรรม และฟZ[นฟูสภาพ
       ๓.๒ ด$านบริการสงเสริมทันตสุขภาพและทันตกรรมปBองกัน
       ด$านที่ ๒ อัตรากําลังคน
       ด$านที่ ๓ โครงสร$างกายภาพ ครุภัณฑและเครื่องมือ
       ๑. โครงสร$างกายภาพ
       ๒. ครุภัณฑและเครื่องมือ
       หมวดการบริหารจัดการและการสนับสนุน
       ด$านที่ ๑ แผนงาน/โครงการ
       ด$านที่ ๒ งบประมาณ
       ด$านที่ ๓ การพัฒนาระบบข$อมูล
       ด$านที่ ๔ การติดตามและการประเมินผลการปฏิบัติงาน
       ด$านที่ ๕ การพัฒนาบุคลากร/วิชาการ

ดังรายละเอียดในเอกสารแนบท9าย
เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการปฐมภูม ิ



เลขที่                          หมวดการจัดบริการ                                  รพ.สต. P2              ศสม. P1
 แถว                                                                        มี ทภ.ประจํา หรือทันต มี ทพ. และ ทภ.ประจํา
                                                                               บุคลากรหมุนเวียน
  1      หมวดการจัดบริการสุขภาพ
  2
  3      ด%านที่ ๑ ขีดความสามารถการให%บริการ
  4      1. คุณภาพและประสิทธิภาพของระบบบริการ
  5      1.1 มีการทํางานรวมกันเปนทีมระหวางสาขาวิชาชีพตางๆ                            /                     /
  6      1.2 มีการให#ข#อมูลที่จําเปนแกผู#ป+วยและครอบครัว รวมทั้งแนวทางการ            /                     /
         รักษาและทางเลือกของการรักษา
  7 1.3 มีการประเมินผู#ป+วยและวางแผนให#บริการ เพื่อตอบสนองความ                       /                     /
    ต#องการด#านป4ญหาทันตสุขภาพของผู#รับบริการ
  8 1.4 มีระบบการดูแลผู#ป+วยฉุกเฉินกอน,ระหวางและ หลังรับบริการ                       /                     /
  9 1.5 มีระบบการดูแลผู#ป+วยตอเนื่องในรายที่จําเปน                                   /                     /
 10 1.6 มีการให#บริการทันตกรรมเปนไปตามมาตรฐานแหงวิชาชีพ ซึ่ง                         /                     /
    เปนที่ยอมรับวาดีที่สุดภายใต#สถานการณCของหนวยงาน
 11 1.7 มีบันทึกข#อมูลของผู#รับบริการ แผนการรักษา และผลของการ                        /                     /
    รักษาเพื่อให#เกิดการสื่อสารที่ดีระหวางทีมผู#ให#บริการ และเกิดความ
    ตอเนื่องในการให#บริการ
 12 1.8 มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ โดยความรวมมือของผู#ปฏิบัติงาน ทุก                       /                     /
    ระดับทั้งภายในและระหวางหนวยงาน รวมทั้งมีการกําหนดตัวชี้วัดที่
    สําคัญของหนวยงานเพื่อพัฒนาการบริการ
 13 1.9 มีการวิเคราะหC วางแผนและบริหารความเสี่ยงของหนวยงาน ทั้ง                      /                     /
    ทางด#านคลินิก, สิ่งแวดล#อม และการบริการทั่วไป
 14 ๒ ขอบเขตการจัดบริการทันตกรรม
 15 ๒.๑ มีการจัดบริการทันตกรรมด#านการรักษาขั้นพื้นฐาน ตามขอบเขต                      /                     /
    ความสามารถที่กระทรวงกําหนด
 16 ๒.๒ สามารถจัดบริการทันตกรรมในกรณีอุบัติเหตุ หรือเจ็บป+วยฉุกเฉิน                  /                     /
    ได# หรือมีระบบเครือขายสงตอผู#มารับบริการไปรับบริการยังหนวย
    บริการอื่น
 17 ๒.๓ มีการจัดบริการทันตกรรมด#านการสงเสริมปKองกันภายในหนวย                         /                     /
    บริการและหรือในพื้นที่รับผิดชอบ
 18 ๓. ประเภทบริการทันตกรรม
เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการปฐมภูม ิ



เลขที่                         หมวดการจัดบริการ                               รพ.สต. P2              ศสม. P1
 แถว                                                                    มี ทภ.ประจํา หรือทันต มี ทพ. และ ทภ.ประจํา
                                                                           บุคลากรหมุนเวียน
 19      ๓.๑ การจัดบริการบําบัดรักษา และฟMNนฟูสภาพทางทันตกรรม
 20      ๓.๑.๑ ศัลยกรรมชองปากและแม็กซิโลเฟเชียล
 21         - ทันตศัลยกรรม 1                                                     /                     /
 22         - ทันตศัลยกรรม 2                                                                           /
 23         - ศัลยกรรมชองปาก 1                                                                         /
 24         - ศัลยกรรมชองปาก 2                                                                         /
 25      ๓.๑.๒ ทันตกรรมสําหรับเด็ก
 26         - ทันตกรรมสําหรับเด็ก 3                                                                    /
 27      ๓.๑.๓ วิทยาเอนโดดอนทC
 28         - รักษาคลองรากฟ4น 5 รวมขั้นตอนการรักษา                                                     /
 29      ๓.๑.๔ ทันตกรรมบูรณะ
 30         - ทันตกรรมหัตถการ 1                                                  /                     /
 31         - ทันตกรรมหัตถการ ๒                                                  /                     /
 32         - ทันตกรรมหัตถการ 3 เฉพาะงานอุดฟ4น                                   /                     /
 33      ๓.๑.๕ ปริทันตวิทยา
 34         - ปริทันตC 2                                                         /                     /
 35         - ปริทันตC 4                                                                               /
 36      ๓.๑.๖ ทันตกรรมบดเคี้ยว
 37         - ทันตกรรมบดเคี้ยว 5 เฉพาะแก#ไขการสบฟ4นที่ผิดปกติบนตัวฟ4น                                  /
         เฉพาะที่
 38 ๓.๑.๗ เวชศาสตรCชองปาก
 39    - เวชศาสตรCชองปาก ๑                                                       /                     /
 40 ๓.๑.๘ ถายภาพรังสีเอกซเรยC
 41    - ทันตรังสี 1                                                                                   /
 42 ๓.๑.๙ ทันตกรรมประดิษฐC
 43    - Temporary plate/ARPD (acrylic base removable partial                                          /
    denture)
 44    - Complete Denture (Simple Case)                                                                /
 45
 46 ๓.๒ การจัดบริการส/งเสริมทันตสุขภาพและทันตกรรมป0องกัน
เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการปฐมภูม ิ



เลขที่                         หมวดการจัดบริการ                                 รพ.สต. P2              ศสม. P1
 แถว                                                                      มี ทภ.ประจํา หรือทันต มี ทพ. และ ทภ.ประจํา
                                                                             บุคลากรหมุนเวียน
 47 ๓.๒.๑ งานทันตกรรมปKองกัน
 48    - การทําความสะอาดฟ4น (Prophylaxis Cleansing)                                /                     /
 49    - การเคลือบฟลูออไรดC (Fluoride Application)                                 /                     /
 50    - การเคลือบหลุมรองฟ4น (Sealant)                                             /                     /
 51    - การทํา PRR                                                                /                     /
 52 ๓.๒.๒ บริการสงเสริมปKองกันในกลุมหญิงตั้งครรภC
 53    - การจัดทําฐานข#อมูลสุขภาพชองปากหญิงตั้งครรภCให#ถูกต#อง                     /                     /
    ครบถ#วนและเปนป4จจุบัน
 54          - การตรวจสุขภาพชองปากและให#ทันตสุขศึกษาแกหญิงตั้งครรภC                /                     /
 55          - การฝvกแปรงฟ4นและควบคุมแผนคราบจุลินทรC แกหญิงตั้งครรภC               /                     /
 56          - การบริการรักษาหญิงตั้งครรภCที่มีป4ญหาสุขภาพชองปาก หรือ              /                     /
         การสงตอหญิงตั้งครรภCที่มีป4ญหาสุขภาพชองปากไปรับการรักษาที่
         โรงพยาบาลแมขาย
 57    - การติดตามเยี่ยมบ#านหลังคลอด                                               /                     /
 58 ๓.๒.๓ บริการสงเสริมปKองกันในคลินิกเด็กดี
 59    - การจัดทําฐานข#อมูลสุขภาพชองปากเด็กอายุ ๐-๒ ปxให#ถูกต#อง                   /                     /
    ครบถ#วน และเปนป4จจุบัน
 60         - การตรวจสุขภาพชองปากและให#ทันตสุขศึกษาในเด็กอายุ ๐-๒ ปx               /                     /

 61         - การให#ทันตสุขศึกษา และสอน / ฝvกวิธีการทําความสะอาดชอง                /                     /
         ปากเด็กแกผู#ปกครองของเด็กอายุ๙ เดือน
 62         - การให#ทันตสุขศึกษา และสอน / ฝvกวิธีการทําความสะอาดชอง                /                     /
         ปากเด็กแกผู#ปกครองของเด็กอายุ๑๘ เดือน
 63          - การบริการรักษาเด็กที่มีป4ญหาสุขภาพชองปาก หรือ การสงตอ               /                     /
         เด็กที่มีป4ญหาสุขภาพชองปากไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลแมขาย
 64         - การติดตามเยี่ยมบ#าน                                                  /                     /
 65         - การทาฟลูออไรดC วารCนิชในเด็กอายุ ๐-๒ ปx (ตามความจําเปนของ            /                     /
         แตละพื้นที่ )
 66 ๓.๒.๔ บริการสงเสริมปKองกันในกลุมผู#สูงอายุ
เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการปฐมภูม ิ



เลขที่                           หมวดการจัดบริการ                                    รพ.สต. P2              ศสม. P1
 แถว                                                                           มี ทภ.ประจํา หรือทันต มี ทพ. และ ทภ.ประจํา
                                                                                  บุคลากรหมุนเวียน
 67         - สํารวจและจัดทําฐานข#อมูลสุขภาพชองปากผู#สูงอายุอยางน#อยปx                  /                     /
         ละ ๑ ครั้ง
 68          - ให#บริการสงเสริม ปKองกัน รักษาและฟMNนฟูสุขภาพชองปาก หรือ                 /                     /
         สงตอผู#สูงอายุไปเพื่อสงเสริม ปKองกัน รักษาและฟMNนฟูสุขภาพชองปากที่
         โรงพยาบาลแมขาย
 69            - สงเสริม สนับสนุนให#มีกิจกรรมสงเสริมทันตสุขภาพในชมรม                    /                     /
         ผู#สูงอายุ
 70 ๓.๒.๕ บริการสงเสริมปKองกันในศูนยCพัฒนาเด็กเล็ก/โรงเรียนอนุบาล
 71     - จัดทําฐานข#อมูลสุขภาพชองปากเด็กครบถ#วน ถูกต#อง และเปน                         /                     /
    ป4จจุบัน
 72          - การตรวจสุขภาพชองปาก                                                      /                     /
 73          - การบริการรักษาเด็กในศพด./รร.อนุบาลที่มีป4ญหาสุขภาพชอง                    /                     /
         ปาก หรือ การสงตอเด็กในศพด./รร.อนุบาลที่มีป4ญหาสุขภาพชองปาก
         ไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลแมขาย
 74         - สงเสริมการจัดกิจกรรมแปรงฟ4นหลังอาหารกลางวัน                               /                     /
 75         - การให#ทันตสุขศึกษาในศูนยCพัฒนาเด็กเล็ก/โรงเรียนอนุบาล                     /                     /
 76         - การกระตุ#นให# ศพด./รร.อนุบาลจัดสิ่งแวดล#อมให#เอื้อตอการที่เด็ก            /                     /
         จะมีสุขภาพชองปากที่ดี
 77         - ประสานกับ อปท. เพื่อให#มีการสนับสนุนการสงเสริมทันตสุขภาพ                  /                     /
         ในศพด./รร.อนุบาล
 78 ๓.๒.๖ บริการสงเสริมปKองกันในโรงเรียนประถมศึกษา
 79     - ให#บริการตรวจสุขภาพชองปากนักเรียน และจัดทําฐานข#อมูล                          /                     /
    สุขภาพชองปากนักเรียน อยางน#อยปxละ ๑ ครั้ง
 80          - ให#บริการเคลือบหลุมรองฟ4นกรามถาวรซี่ที่ ๑ หรือสงตอ เด็ก ป.๑              /                     /
         ให#ได#รับบริการเคลือบหลุมรองฟ4นที่โรงพยาบาลแมขาย
 81           - ให#บริการอุดฟ4นแท#หรือสงตอ เด็กประถมศึกษาให#ได#รับบริการ                /                     /
         อุดฟ4นแท#ที่โรงพยาบาลแมขาย
 82          - การบริการรักษาเด็กประถมศึกษาที่มีป4ญหาสุขภาพชองปาก หรือ                  /                     /
          การสงตอเด็กประถมศึกษาที่มีป4ญหาสุขภาพชองปากไปรับการรักษาที่
         รพ.แมขาย
เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการปฐมภูม ิ



เลขที่                           หมวดการจัดบริการ                                    รพ.สต. P2              ศสม. P1
 แถว                                                                           มี ทภ.ประจํา หรือทันต มี ทพ. และ ทภ.ประจํา
                                                                                  บุคลากรหมุนเวียน
 83          - สงเสริมการจัดกิจกรรมแปรงฟ4นหลังอาหารกลางวัน                              /                     /
 84          - การให#ทันตสุขศึกษาแกเด็กนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา                     /                     /
 85          - การกระตุ#นให#โรงเรียนประถมศึกษาจัดสิ่งแวดล#อมให#เอื้อตอการที่            /                     /
         เด็กจะมีสุขภาพชองปากที่ดี
 86          - ประสานกับ อปท. เพื่อให#มีการสนับสนุนการสงเสริมทันตสุขภาพ                 /                     /
         ในโรงเรียนประถมศึกษา
 87 ๓.๒.๗ บริการสงเสริมปKองกันอยางมีสวนรวมของชุมชน
 88    - สํารวจ ค#นหาปzญหา รวบรวมความคิดเห็นและเสนอแนะเกี่ยวกับ                         /                     /
    ป4ญหาสุขภาพชองปากเพื่อให#ชุมชนตระหนักและมีสวนรวม
 89         - รวมวิเคราะหCป4ญหา วางแผน ดําเนินการแก#ไขป4ญหาสุขภาพชอง                    /                     /
         ปากของชุมชน
 90         - ประเมินผลโดยการผสมผสานกับงานเวชปฎิบัติครอบครัว                            /                     /
 91
 92      ด%านที่ ๒ อัตรากําลังคน
 93      ๑. ด%านอัตรากําลัง
 94      ๑.1 ทันตแพทยCปฏิบัติประจําเพื่อดูแลประชากร                                                     อยางน#อย ๑ คน
 95      ๑.๒ เจ#าพนักงานทันตสาธารณสุข/นักวิชาการสาธารณสุข (ทันต                     1:๘,๐00             อยางน#อย ๑ คน
         สาธารณสุข) ปฏิบัติประจําเพื่อดูแลประชากร
 96 ๑.๓ มีผู#ชวยงานทันตกรรม: ทันตบุคคลากรผู#ให#บริการ                                 1:๑                   1:๑
 97 ๑.๔ ในพื้นที่ขาดแคลนทันตบุคลากร เครือขายบริการสุขภาพจัดให#มี                       /
    บริการทันตกรรม ใน รพ.สต.ทุกแหงอยางน#อยสัปดาหCละ ๑ ครั้ง
 98 ๑.๕ สาขาของทันตแพทยCเฉพาะทาง                                                                              /
    เมื่อจบการศึกษาเฉพาะทาง ยกเว#นสาขา ทันตกรรมทั่วไป และทันต
    สาธารณสุข/สาธารณสุขศาสตรC ควรย#ายไปปฎิบัติงานที่หนวยงานระดับ
     รพ.
 99
100 ด%านที่ ๓ ด%านโครงสร%างกายภาพ ครุภัณฑ3 และเครื่องมือ
101 1. โครงสร%างกายภาพ
เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการปฐมภูม ิ



เลขที่                              หมวดการจัดบริการ                                 รพ.สต. P2              ศสม. P1
 แถว                                                                           มี ทภ.ประจํา หรือทันต มี ทพ. และ ทภ.ประจํา
                                                                                  บุคลากรหมุนเวียน
102 1.1 มีพื้นที่ห#องตรวจและห#องให#บริการทันตกรรมไมน#อยกวา 9 ตาราง                      /                     /
    เมตรตอ 1 ยูนิตทันตกรรม กั้นเปนสัดสวนและมิดชิดไมให#ผู#อื่นเห็นการ
    ตรวจรักษา
103 1.2 มีโต}ะทํางานของทันตบุคลากร และเจ#าหน#าที่ของกลุมงาน แยก                         /                     /
    จากคลินิกบริการทันตกรรม
104 1.3 มีพื้นที่สําหรับการสาธิตและฝvกปฏิบัติแปรงฟ4น                                    /                     /
105 1.4 การสัญจรและการเคลื่อนย#ายผู#ป+วยต#องกระทําได#โดยสะดวก                           /                     /
106 1.5 มีบริเวณสําหรับให#ผู#ป+วยและญาตินั่งรอ แยกจากบริเวณที่ให#การ                    /                     /
    รักษา ตั้งเก#าอี้สําหรับผู#พักคอยจํานวนเพียงพอกับการให#บริการผู#ป+วย
    อยางน#อย ๕ คนตอ 1 ยูนิตทันตกรรม
107 1.6 ห#องตรวจหรือห#องให#การรักษาต#องมีอางฟอกมือชนิดไมใช#มือเป~ด                      /                     /
    ป~ดน้ํา และไมใช#ปะปนกับอางล#างเครื่องมือ
108 1.7 มีแสงสวางเพียงพอสามารถมองเห็นสิ่งตาง ๆในห#องที่ให#บริการ ได#                    /                     /
    ชัดเจนในเวลาปฏิบัติงาน
109 1.๘ มีการระบายอากาศที่ดี ไมมีกลิ่นอับทึบ ให#พิจารณาจากลักษณะ
    ของห#องบริการ ดังนี้คือ
110              - ควรมีความสูงของเพดานห#องไมต่ํากวา 2.60 เมตร                          /                     /
111              - ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ เพื่อประสิทธิภาพในการควบคุมการติด            /                     /
         เชื้อ
112         - ต#องติดตั้งเครื่องระบายอากาศ ที่สามารถถายเทอากาศออกสู                     /                     /
         ภายนอกอาคารได#
113 1.๙ มีเครื่องหมายหรือปKายประกาศติดเป~ดเผยในที่ผู#รับบริการเห็นงาย                   /                     /
    ให#รายละเอียดชัดเจนวาเปนหนวยบริการทันตกรรม แสดงรายชื่อ รูป
    ถายผู#ให#บริการ ตําแหนงงาน วันและเวลาประจําการ แจ#งสิทธิ
    ประโยชนCในการใช#บริการทันตกรรม และสิทธิผู#ป+วย
114 1.๑๐ มีปKายเครื่องหมายห#ามสูบบุหรี่ติดในบริเวณที่ผู#รับบริการมองเห็น                /                     /
    ได#ชัดเจน และมีมาตรการห#ามผู#มารับบริการสูบบุหรี่ในบริเวณคลินิก

115 2. ครุภัณฑ3และเครื่องมือ
116 2.1 ยูนิตทําฟ4น ต#องมีอยางน#อย 1 ยูนิตตอผู#ให#บริการ 1 คน                           /                     /
เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการปฐมภูม ิ



เลขที่                           หมวดการจัดบริการ                                   รพ.สต. P2              ศสม. P1
 แถว                                                                          มี ทภ.ประจํา หรือทันต มี ทพ. และ ทภ.ประจํา
                                                                                 บุคลากรหมุนเวียน
117 2.2 ชุดออกหนวยทันตกรรมเคลื่อนที่ ต#องมีอยางน#อย 1 ชุด                              /                     /
118 2.๓ มีเครื่องมือสําหรับการให#บริการที่สอดคล#อง และมีจํานวนเพียงพอ                  /                     /
    ตอการให#บริการ โดยคํานึงถึงปริมาณผู#รับบริการ และเวลาที่ต#องใช#ใน
    การเตรียมเครื่องมือตามระบบควบคุมและปKองกันการติดเชื้อ


119 2.๔ มีตู#เย็นสําหรับเก็บยาหรือเวชภัณฑCอื่น โดยตู#เย็นนั้นต#องไมมีอาหาร             /                     /
    หรือเครื่องดื่มปะปน
120 2.๕ มีตู# หรือชั้นเก็บยาและเวชภัณฑCเปนสัดสวน                                       /                     /
121 2.๖ มีคุรุภัณฑCทางทันตกรรมตาง ๆ ที่จําเปน
122     - ตู#เก็บวัสดุทันตกรรม อยางน#อย 1 ตู#ตอ1 ยูนิต ทันตกรรม                        /                     /
123     - เครื่องขูดหินปูนไฟฟKา (Electric scaler) 1 เครื่องตอ 1 ยูนิตทัน               /                     /
    ตกรรม และมีสํารองอยางน#อย ๑ เครื่อง
124          - เครื่องฉายแสงสําหรับวัสดุอุดฟ4น (Light cured unit) 1 เครื่อง            /                     /
         ตอ 1 ยูนิตทันตกรรม
125      - เครื่องป4‚นผสมอมัลกัม (Amalgamator) อยางน#อย 1 เครื่อง                      /                     /
126      - เครื่องนึ่งฆาเชื้อ (autoclave) อยางน#อย 1 เครื่อง                           /                     /
127      - เครื่องเอ็กซเรยCฟ4น (Dental X-tay) อยางน#อย 1 เครื่อง                                             /
128
129 หมวดการบริหารจัดการและการสนับสนุน
130
131 ด%านที่ ๑ แผนงาน/โครงการ
132 ๑. หนวยงานทันตกรรม มีสวนรวมในการกําหนดวิสัยทัศนC เปKาหมาย                          /                     /
    และวัตถุประสงคCของหนวยงาน มีความเข#าใจตอวิสัยทัศนC เปKาหมาย
    และวัตถุประสงคCโดยถูกต#องตรงกัน มีการปรับวิสัยทัศนCของหนวยงาน
    ให#เปนรูปธรรมนําไปสูการปฏิบัติงานสุขภาพชองปาก
133 ๒. มีการกําหนดแผนยุทธศาสตรCที่สอดคล#องกับวิสัยทัศนCและเปKาหมาย                     /                     /

134 ๓. มีการวางแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปาก ที่สอดคล#องกับ                           /                     /
    ผลการวิเคราะหCศักยภาพ/สวนขาด ความจําเปนในการลงทุน และ
    พัฒนาบริการ
เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการปฐมภูม ิ



เลขที่                         หมวดการจัดบริการ                                รพ.สต. P2              ศสม. P1
 แถว                                                                     มี ทภ.ประจํา หรือทันต มี ทพ. และ ทภ.ประจํา
                                                                            บุคลากรหมุนเวียน
135 ๔. มีแผนงาน/โครงการด#านทันตสาธารณสุขประจําปx                                  /                     /
136 ๕. มีการจัดทําผังภูมิโครงสร#างของหนวยงานทั้งสายการบังคับบัญชา                 /                     /
    และ สายการประสานงานของหนวยงานครบถ#วนและติดให#เห็นชัดเจน

137 ๖. เข#ารวมหรือรับทราบผลการประชุมของหนวยงาน อยางสม่ําเสมอ                      /                     /
138 ๗. มีการกําหนดความรับผิดชอบและอํานาจหน#าที่ของเจ#าหน#าที่เปน                  /                     /
    รายบุคคล โดย เจ#าหน#าที่และหัวหน#าหนวยงานลงนามรับทราบ และมี
    การปรับปรุงให#เหมาะสมทุกปx
139 ๘. มีการนําป4ญหาการให#บริการ หรือการประเมินผลการให#บริการมา                   /                     /
    พิจารณาเพื่อการปรับปรุงพัฒนา
140 ๙. มีการใช#กลไกเพื่อรับทราบความต#องการของประชาชนและนํามา
    กําหนด เปKาหมาย และทิศทางของหนวยงาน
141            - ข#อมูลการเจ็บป+วยของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ                    /                     /
142            - การสอบถามความคิดเห็น ความต#องการและความพึงพอใจของ                /                     /
         ผู#ใช#บริการ อยางน#อยปxละ 1 ครั้ง
143         - มีการจัดระบบให#ผู#ใช#บริการที่มีป4ญหาได#แจ#งป4ญหาของตนตอ            /                     /
         หนวย งานโดยสะดวก และมีการวิเคราะหCป4ญหาดังกลาวอยางสม่ําเสมอ

144 ด%านที่ ๒ ด%านงบประมาณ
145 ๑. มีระบบการสนับสนุนงบประมาณอยางเปนระบบ                                       /                     /
146 ๒. มีแผนการใช#จายงบประมาณที่สนองตอบตอการแก#ป4ญหาและการ                        /                     /
    พัฒนาที่จําเปนตามบริบทของพื้นที่
147 3. มีการติดตามการใช#จายงบประมาณทุก ๓ เดือน                                    /                     /
148 4. มีการประสานความรวมมือกับ อปท.ในสนับสนุนการสงเสริมทันต                      /                     /
    สุขภาพชองประชาชนในพื้นที่
149 ด%านที่ ๓ การพัฒนาระบบข%อมูล
150 ๑. มีการพัฒนาระบบข#อมูล ๔ ระบบคือ
151 - มีระบบข#อมูลบริการทันตสุขภาพ ที่ให#บริการกับบุคคล                           /                     /
152 - มีระบบข#อมูลเฝKาระวังสภาวะทันตสุขภาพ                                        /                     /
เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการปฐมภูม ิ



เลขที่                           หมวดการจัดบริการ                                 รพ.สต. P2              ศสม. P1
 แถว                                                                        มี ทภ.ประจํา หรือทันต มี ทพ. และ ทภ.ประจํา
                                                                               บุคลากรหมุนเวียน
153          - มีระบบข#อมูลพื้นฐาน, บริการทันตสุขภาพที่ไมได#ให#บริการกับ             /                     /
         บุคคล
154          - มีมีระบบข#อมูลทรัพยากรทันตสาธารณสุข                                   /                     /
155      ๒. มีการรวบรวมและรายงานผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทุกคน                       /                     /
156      ๓. มีการกําหนดความถี่ของการเก็บข#อมูลแตละประเภทไว#ชัดเจน                    /                     /
157      ด%านที่ ๔ การติดตามและการประเมินผลการปฏิบัติงาน
158      ๑. แนวทางการประเมินผลการให#บริการ
159           - มีการกําหนดตัวชี้วัดในการประเมินผลการให#บริการ ซึ่ง                  /                     /
         ครอบคลุมทั้งด#านเทคนิคบริการและด#านความพึงพอใจของผู#ป+วย
160      - มีการเก็บข#อมูล ตัวชี้วัดที่กําหนดไว#และนําเสนอตอผู#เกี่ยวข#อง            /                     /
161      - มีการปรับปรุงการให#บริการจากข#อมูลที่ได#                                  /                     /
162 ๒. ตัวชี้วัดการจัดบริการ
163 ๒.๑ ด#านคุณลักษณะของหนวยบริการและป4จจัยนําเข#า เชน สัดสวน                        /                     /
    ประชากรตอผู#ให#บริการทันตกรรม, สัดสวนยูนิตทันตกรรมตอผู#
    ให#บริการทันตกรรม ฯลฯ
164 ๒.๒ ด#านการเข#าถึงบริการทันตสุขภาพและความเปนธรรม เชน อัตรา                       /                     /
    การใช#บริการทันตกรรม (ครั้ง) รวมทุกสิทธิ/UC ฯลฯ
165 ๒.๓ คุณภาพและประสิทธิภาพบริการทันตสุขภาพ เชน ร#อยละจํานวน                        /                     /
    รายบริการ P&P ตอบริการทั้งหมด, จํานวนคนไข# (ครั้ง) เฉลี่ย ตอผู#
    ให#บริการทันตกรรมตอปx ฯลฯ
166 ๒.๔ ด#านประสิทธิภาพการบริหารงบประมาณ เชน ต#นทุนดําเนินการ                        /                     /
    เฉลี่ยบริการทันตกรรม (Quick method) ฯลฯ
167
168 ด%านที่ ๕ ด%านการพัฒนาบุคลากรและวิชาการ
169 ๑. บุคลากรทุกคนมีโอกาสเข#ารวมการประชุมวิชาการอยางสม่ําเสมอ                       /                     /
เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการทุตยภูม ิ และตติยภูม ิ
                                                                        ิ



เลขที่                  หมวดการจัดบริการ                    รพช.   รพช.    รพช.   รพช.    รพท.     รพท.   รพศ.
 แถว                                                        F3     F2      F1      M2         M1    S      A
  1      หมวดการจัดบริการสุขภาพ
  2
  3      ด%านที่ ๑ ขีดความสามารถการให%บริการ
  4      1. คุณภาพและประสิทธิภาพของระบบบริการ
  5      1.1 มีการทํางานรวมกันเปนทีมระหวางสาขาวิชาชีพตางๆ    /      /       /       /         /     /      /

  6 1.2 มีการให#ข#อมูลที่จําเปนแกผู#ป+วยและครอบครัว          /      /       /       /         /     /      /
    รวมทั้งแนวทางการรักษาและทางเลือกของการรักษา
  7 1.3 มีการประเมินผู#ป+วยและวางแผนให#บริการ เพื่อ          /      /       /       /         /     /      /
    ตอบสนองความต#องการด#านป4ญหาทันตสุขภาพของ
    ผู#รับบริการ
  8 1.4 มีระบบการดูแลผู#ป+วยฉุกเฉินกอน,ระหวางและ หลัง        /      /       /       /         /     /      /
    รับบริการ
 9 1.5 มีระบบการดูแลผู#ป+วยตอเนื่องในรายที่จําเปน            /      /       /       /         /     /      /
 10 1.6 มีการให#บริการทันตกรรมเปนไปตามมาตรฐานแหง             /      /       /       /         /     /      /
    วิชาชีพ ซึ่งเปนที่ยอมรับวาดีที่สุดภายใต#สถานการณCของ
    หนวยงาน
 11 1.7 มีบันทึกข#อมูลของผู#รับบริการ แผนการรักษา และ        /      /       /       /         /     /      /
    ผลของการรักษาเพื่อให#เกิดการสื่อสารที่ดีระหวางทีมผู#
    ให#บริการ และเกิดความตอเนื่องในการให#บริการ
 12 1.8 มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ โดยความรวมมือของ                /      /       /       /         /     /      /
    ผู#ปฏิบัติงาน ทุกระดับทั้งภายในและระหวางหนวยงาน
    รวมทั้งมีการกําหนดตัวชี้วัดที่สําคัญของหนวยงานเพื่อ
    พัฒนาการบริการ
 13 1.9 มีการวิเคราะหC วางแผนและบริหารความเสี่ยงของ          /      /       /       /         /     /      /
    หนวยงาน ทั้งทางด#านคลินิก, สิ่งแวดล#อม และการ
    บริการทั่วไป
 14 ๒ ขอบเขตการจัดบริการทันตกรรม
 15 ๒.๑ มีการจัดบริการทันตกรรมด#านการรักษาขั้นพื้นฐาน        /      /       /       /         /     /      /
    ตามขอบเขตความสามารถที่กระทรวงกําหนด
เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการทุตยภูม ิ และตติยภูม ิ
                                                                      ิ



เลขที่                หมวดการจัดบริการ                   รพช.    รพช.    รพช.   รพช.    รพท.     รพท.   รพศ.
 แถว                                                     F3      F2      F1      M2         M1    S      A
 16 ๒.๒ สามารถจัดบริการทันตกรรมในกรณีอุบัติเหตุ หรือ      /       /       /       /         /     /      /
    เจ็บป+วยฉุกเฉินได# หรือมีระบบเครือขายสงตอผู#มารับ
    บริการไปรับบริการยังหนวยบริการอื่น
 17 ๒.๓ มีการจัดบริการทันตกรรมด#านการสงเสริมปKองกัน       /       /       /       /         /     /      /
    ภายในหนวยบริการและหรือในพื้นที่รับผิดชอบ
 18 ๒.๔ เพิ่มการเข#าถึงบริการสุขภาพชองปาก โดยจัดระบบ              /       /       /         /
    การให#บริการแกคนไข#เฉลี่ยอยางน#อย ๑๘๔๐ ครั้งตอผู#
    ให#บริการทันตกรรมตอปx
 19 ๓. ประเภทบริการทันตกรรม
 20 ๓.๑ การจัดบริการบําบัดรักษา และฟMNนฟูสภาพทางทัน
    ตกรรม
 21 ๓.๑.๑ ศัลยกรรมชองปากและแม็กซิโลเฟเชียล
 22    - ทันตศัลยกรรม 1                                   /       /       /       /         /     /      /
 23    - ทันตศัลยกรรม 2                                   /       /       /       /         /     /      /
 24    - ศัลยกรรมชองปาก 1                                 /       /       /       /         /     /      /
 25    - ศัลยกรรมชองปาก 2                                         /       /       /         /     /      /
 26    - ศัลยกรรมชองปาก 3                                                                   /     /      /
 27    - ศัลยกรรมชองปาก 4                                                                   /     /      /
 28    - ศัลยกรรมชองปาก 5                                                                   /     /      /
 29    - ศัลยกรรมชองปาก 6                                                                   /     /      /
 30    - ศัลยกรรมชองปาก 7                                                                                /
 31    - Orthognathic Surgery                                                                            /
 32 ๓.๑.๒ ทันตกรรมสําหรับเด็ก
 33    - ทันตกรรมสําหรับเด็ก 3                            /       /       /       /         /     /      /
 34    - ทันตกรรมสําหรับเด็ก 4                            /       /       /       /         /     /      /
 35    - ทันตกรรมสําหรับเด็ก 5                            /       /       /       /         /     /      /
 36    - ทันตกรรมสําหรับเด็ก 6                            /       /       /       /         /     /      /
 37    - ทันตกรรมสําหรับเด็ก 7                                                              /     /      /
 38 ๓.๑.๓ วิทยาเอนโดดอนทC
 39    - รักษาคลองรากฟ4น 5 รวมขั้นตอนการรักษา             /       /       /       /         /     /      /
 40    - รักษาคลองรากฟ4น 6 รวมขั้นตอนการรักษา             /       /       /       /         /     /      /
เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการทุตยภูม ิ และตติยภูม ิ
                                                                        ิ



เลขที่                  หมวดการจัดบริการ                   รพช.    รพช.    รพช.   รพช.    รพท.     รพท.   รพศ.
 แถว                                                       F3      F2      F1      M2         M1    S      A
 41     - รักษาคลองรากฟ4น 7 รวมขั้นตอนการรักษา                                      /         /     /      /
 42     - รักษาคลองรากฟ4น 8 รวมขั้นตอนการรักษา                                                      /      /
 43     - Endodontic Surgery                                                                        /      /
 44 ๓.๑.๔ ทันตกรรมบูรณะ
 45     - ทันตกรรมหัตถการ 1                                 /       /       /       /         /     /      /
 46     - ทันตกรรมหัตถการ ๒                                 /       /       /       /         /     /      /
 47     - ทันตกรรมหัตถการ 3                                 /       /       /       /         /     /      /
 48     - ทันตกรรมหัตถการ 4                                                                   /     /      /
 49     - bleaching vital / non-vital tooth
 50 ๓.๑.๕ ปริทันตวิทยา
 51     - ปริทันตC 2                                        /       /       /       /         /     /      /
 52     - ปริทันตC 4                                        /       /       /       /         /     /      /
 53     - ปริทันตC 5                                                                /         /     /      /
 54     - ปริทันตC 6                                                                /         /     /      /
 55     - ปริทันตC 7                                                                /         /     /      /
 56     - ปริทันตC 8                                                                /         /     /      /
 57 ๓.๑.๖ ทันตกรรมบดเคี้ยว
 58     - ทันตกรรมบดเคี้ยว 3                                /       /       /       /         /     /      /
 59     - ทันตกรรมบดเคี้ยว 5 เฉพาะแก#ไขการสบฟ4นที่          /       /       /       /         /     /      /
    ผิดปกติบนตัวฟ4น เฉพาะที่
 60    - ทันตกรรมบดเคี้ยว 5                                                                         /      /
 61    - ทันตกรรมบดเคี้ยว 6                                                                         /      /
 62 ๓.๑.๗ ทันตกรรมจัดฟ4น
 63    - Preventive Orthodontics                            /       /       /       /         /     /      /
 64    - Interceptive Orthodontics - Minor tooth            /       /       /       /         /     /      /
    movement
 65         - Corrective Orthodontic - Simple case                                            /     /      /
         และจัดฟ4นสําหรับฟ4นบางสวน
 66          - Corrective Orthodontic - Complicate case                                             /      /
         / Full mouth
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕
แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕

More Related Content

Similar to แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕

นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง. ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง.  ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง.  ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง. ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...Utai Sukviwatsirikul
 
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...Utai Sukviwatsirikul
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)สุริยา ชื่นวิเศษ
 
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2กันย์ สมรักษ์
 
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพการบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพChuchai Sornchumni
 
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุลService plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุลKamol Khositrangsikun
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.nhs0
 
Slide share service plan 5 กรกฎาคม 2559
Slide share service plan 5 กรกฎาคม  2559 Slide share service plan 5 กรกฎาคม  2559
Slide share service plan 5 กรกฎาคม 2559 Kamol Khositrangsikun
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง Tuang Thidarat Apinya
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี (ปวส.) โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี (ปวส.) โรงพยาบาลราชวิถีLoadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี (ปวส.) โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี (ปวส.) โรงพยาบาลราชวิถีปลั๊ก พิมวิเศษ
 
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้าUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕ (20)

551212 moph policy
551212 moph policy551212 moph policy
551212 moph policy
 
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง. ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง.  ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง.  ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
นโยบายและยุทธศาสตร์ด้านการเงินการคลัง. ➢ มาตรการพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารเวช...
 
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
ยุทธศาสตร์-ตัวชี้วัด-และแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข KPI-ฉบับปรับปร...
 
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
การนำเสนอเพื่อรับการประเมินจาพ สรพ. (IM โรงพยาบาลปากน้ำหลังสวน)
 
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
ระบบสุขภาพอำเภอ Ln นำเสนอประชุมขับเคลื่อนยุทธศาสตร์2
 
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพการบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
การบริหารการจ่ายงบประมาณตามเกณฑ์ชี้วัดคุณภาพ
 
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
Thailand's Health IT Future Directions (April 4, 2019)
 
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุลService plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
Service plan 15 ธันวาคม 2558 _ นพ.กมล โฆษิตรังสิกุล
 
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
โครงสร้างหน่วยงานภูมิภาคสังกัด สปสธ.
 
Slide share service plan 5 กรกฎาคม 2559
Slide share service plan 5 กรกฎาคม  2559 Slide share service plan 5 กรกฎาคม  2559
Slide share service plan 5 กรกฎาคม 2559
 
Primary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao TPrimary Health Care System_Padkao T
Primary Health Care System_Padkao T
 
Thai2009 2
Thai2009 2Thai2009 2
Thai2009 2
 
Thai Informatics Year In Review 2012
Thai Informatics Year In Review 2012Thai Informatics Year In Review 2012
Thai Informatics Year In Review 2012
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
Siiim
SiiimSiiim
Siiim
 
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
คู่มือการอบรมเพื่อพัฒนาศักยภาพ อสม ในการดำเนินงานเพื่อลดโรคไตเรื้อรัง
 
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี (ปวส.) โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี (ปวส.) โรงพยาบาลราชวิถีLoadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี (ปวส.) โรงพยาบาลราชวิถี
Loadแนวข้อสอบ เจ้าพนักงานการเงินและบัญชี (ปวส.) โรงพยาบาลราชวิถี
 
Narathiwat Health Strategic plan_56
Narathiwat Health Strategic plan_56Narathiwat Health Strategic plan_56
Narathiwat Health Strategic plan_56
 
ไตรมาส2 54
ไตรมาส2 54ไตรมาส2 54
ไตรมาส2 54
 
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้ารายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการการจัดทำข้อเสนอ ร้านยาคุณภาพกับระบบบริการสขุภาพถ้วนหน้า
 

More from dentalfund

การดำเนินงานทันตสาธารสุข2554
การดำเนินงานทันตสาธารสุข2554การดำเนินงานทันตสาธารสุข2554
การดำเนินงานทันตสาธารสุข2554dentalfund
 
ระบบบริการทันตกรรมในประเทศไทย
ระบบบริการทันตกรรมในประเทศไทยระบบบริการทันตกรรมในประเทศไทย
ระบบบริการทันตกรรมในประเทศไทยdentalfund
 
แนวทางทันตสสจ
แนวทางทันตสสจแนวทางทันตสสจ
แนวทางทันตสสจdentalfund
 
แนวทางทันตรพสต
แนวทางทันตรพสตแนวทางทันตรพสต
แนวทางทันตรพสตdentalfund
 
แนวทางจัดบริการสุขภาพช่องปาก0 5ปี
แนวทางจัดบริการสุขภาพช่องปาก0 5ปีแนวทางจัดบริการสุขภาพช่องปาก0 5ปี
แนวทางจัดบริการสุขภาพช่องปาก0 5ปีdentalfund
 
แนวทางการจัดบริการสุขภาพช่องปากเชิงรุก
แนวทางการจัดบริการสุขภาพช่องปากเชิงรุกแนวทางการจัดบริการสุขภาพช่องปากเชิงรุก
แนวทางการจัดบริการสุขภาพช่องปากเชิงรุกdentalfund
 
การประเมินผลความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก
การประเมินผลความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากการประเมินผลความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก
การประเมินผลความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากdentalfund
 
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555dentalfund
 
2010 แนวทางทันตรพ.สต.
2010 แนวทางทันตรพ.สต.2010 แนวทางทันตรพ.สต.
2010 แนวทางทันตรพ.สต.dentalfund
 
องค์กรปกครอวส่วนท้องถิ่นกับการส่งเสิรมทันต
องค์กรปกครอวส่วนท้องถิ่นกับการส่งเสิรมทันตองค์กรปกครอวส่วนท้องถิ่นกับการส่งเสิรมทันต
องค์กรปกครอวส่วนท้องถิ่นกับการส่งเสิรมทันตdentalfund
 
ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 8 ประเทศ
ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 8 ประเทศระบบบริการสุขภาพช่องปาก 8 ประเทศ
ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 8 ประเทศdentalfund
 

More from dentalfund (11)

การดำเนินงานทันตสาธารสุข2554
การดำเนินงานทันตสาธารสุข2554การดำเนินงานทันตสาธารสุข2554
การดำเนินงานทันตสาธารสุข2554
 
ระบบบริการทันตกรรมในประเทศไทย
ระบบบริการทันตกรรมในประเทศไทยระบบบริการทันตกรรมในประเทศไทย
ระบบบริการทันตกรรมในประเทศไทย
 
แนวทางทันตสสจ
แนวทางทันตสสจแนวทางทันตสสจ
แนวทางทันตสสจ
 
แนวทางทันตรพสต
แนวทางทันตรพสตแนวทางทันตรพสต
แนวทางทันตรพสต
 
แนวทางจัดบริการสุขภาพช่องปาก0 5ปี
แนวทางจัดบริการสุขภาพช่องปาก0 5ปีแนวทางจัดบริการสุขภาพช่องปาก0 5ปี
แนวทางจัดบริการสุขภาพช่องปาก0 5ปี
 
แนวทางการจัดบริการสุขภาพช่องปากเชิงรุก
แนวทางการจัดบริการสุขภาพช่องปากเชิงรุกแนวทางการจัดบริการสุขภาพช่องปากเชิงรุก
แนวทางการจัดบริการสุขภาพช่องปากเชิงรุก
 
การประเมินผลความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก
การประเมินผลความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปากการประเมินผลความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก
การประเมินผลความเป็นธรรมในการเข้าถึงบริการสุขภาพช่องปาก
 
การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555การดำเนินงานทันตปี2555
การดำเนินงานทันตปี2555
 
2010 แนวทางทันตรพ.สต.
2010 แนวทางทันตรพ.สต.2010 แนวทางทันตรพ.สต.
2010 แนวทางทันตรพ.สต.
 
องค์กรปกครอวส่วนท้องถิ่นกับการส่งเสิรมทันต
องค์กรปกครอวส่วนท้องถิ่นกับการส่งเสิรมทันตองค์กรปกครอวส่วนท้องถิ่นกับการส่งเสิรมทันต
องค์กรปกครอวส่วนท้องถิ่นกับการส่งเสิรมทันต
 
ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 8 ประเทศ
ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 8 ประเทศระบบบริการสุขภาพช่องปาก 8 ประเทศ
ระบบบริการสุขภาพช่องปาก 8 ประเทศ
 

แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปาก ๑๘มิย๕๕

  • 1. แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปาก (Oral Health Service Plan) สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มิถุนายน ๒๕๕๕
  • 2. คํานํา จากนโยบายของกระทรวงสาธารณสุ ขที่ ใหหนวยบริ การสุขภาพ จังหวั ด และเขต จัด ทํ า แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ระยะเวลา ๕ ป4 ( ๒๕๕๕-๒๕๕๙) เพื่อ ใหบริการแตละระดับที่มีบทบาทหนาที่ที่แตกตางกัน มีการเชื่อมโยงกันดวยระบบสงตอ (Referral System) สามารถจัดบริการสุขภาพที่มีคุณภาพ และเกิดการใชทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัด อยางมี ประสิ ท ธิ ภ าพ ตลอดจนเปD น ระบบบริ ก ารสุ ข ภาพที่ มี ศั ก ยภาพรองรั บ ปF ญ หาทางการแพทยH แ ละ สาธารณสุขที่มีความซับซอนในระดับพื้นที่ได สํานักบริหารการสาธารณสุขมีแผนงานให วิชาชีพ/งานบริการภายในสถานบริการสุขภาพ มี เกณฑHพัฒนาระบบบริการสุขภาพเพื่อใชประเมินศักยภาพ สวนขาด สําหรับเปDนขอมูลไปใชจัดทํา แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ระบบงานบริการสุขภาพชองปากก็เปDนสวนหนึ่งที่ตองดําเนินงานรวม ไปกั บ งานบริ ก ารสุ ขภาพอื่ น ในหนวยงาน ทางสํ า นั กบริ ห ารการสาธารณสุ ข จึ งไดจั ด ทํ า เอกสาร แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปาก (Oral Health Service Plan) ขึ้นโดยความรวมมือของ สํานักทันตสาธาณสุข กรมอนามัย ทันตบุคลากรจาก สถาบันทันตกรรม กรมการแพทยH ศูนยHสงเสริม สุขภาพเขต สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลศูนยH โรงพยาบาลทั่วไป และโรงพยาบาลชุมชน เพื่อใหงานสุขภาพชองปาก สามารถดําเนินการวิเคราะหHหนวยงาน และจัดทําแผนพัฒนาระบบบริการ สุขภาพชองปาก รองรับปFญหาสุขภาพชองปากและความตองการของประชาชนในพื้นที่ ไดอยางมี คุณภาพ และบูรณาการไปกับแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพของระบบสุขภาพ สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มิถุนายน ๒๕๕๕
  • 3. สารบัญ หน6า - แนวคิดของแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ๑ - แนวทางจัดทําแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปาก (Oral Health Service Plan) ระดับจังหวัดป4 ๒๕๕๖ – ๒๕๖๐ ๕ - เกณฑHพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปากในหนวยบริการปฐมภูมิ ๘ - เกณฑHพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปากในหนวยบริการทุตติภูมิ และตติยภูมิ ๑๗ - ภาคผนวก ความหมายของกลุมหัตถการ งานทันตกรรม ๓๒
  • 4. แนวคิดของแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ดัดแปลงมาจาก เอกสารประกอบการประชุมสัมมนาเพื่อพัฒนาระบบบริการสุขภาพสวนภูมภาคิ วันที่ ๒๙ กุมภาพันธ% ๒๕๕๕ ณ โรงแรมมิราเคิลแกรนด% กรุงเทพมหานคร สํานักบริหารการสาธารณสุข สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ๑. หลักการและเหตุผล กระทรวงสาธารณสุข มีหน*าที่รับผิดชอบดูแลสุขภาพของประชาชน โดยการจัดให*มีระบบบริการ สุขภาพที่ครอบคลุมทั้งการสงเสริมสุขภาพ การป/องกันโรค การรักษาพยาบาลและการฟ23นฟูสภาพ มีการ จัดระบบบริการสุขภาพออกเป4นหลายระดับ ได*แก บริการระดับปฐมภูมิ (Primary Care) บริการระดับทุติยภูมิ (Secondary Care) และบริการระดับตติยภูมิ (Tertiary Care) โดยมุงหวังให*บริการแตละระดับมีบทบาท หน*าที่ที่แตกตางกัน และเชื่อมโยงกันด*วยระบบสงตอ (Referral System) เพื่อให*สามารถจัดบริการสุขภาพที่มี คุณภาพ และเกิดการใช*ทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนเป4นระบบบริการสุขภาพที่มี ศักยภาพรองรับปPญหาทางการแพทย%และสาธารณสุขที่มีความซับซ*อนในระดับพื้นที่ได* ปPจจุบันระบบบริการสุขภาพของประเทศไทย ประสบกับปPญหาสําคัญหลายประการ ได*แก ปPญหา เรื่องประสิทธิภาพ คุณภาพบริการ ความเป4นธรรมในการเข*าถึงบริการ ความแออัดของผู*รับบริการในสถาน บริการระดับสูง สะท*อนถึงการใช*ทรัพยากรที่ไมเหมาะสม ไมสอดคล*องกับบทบาทของสถานพยาบาลในการ ให*บริการ มีการแขงขันขยายบริการและเกิดการจัดสรรทรัพยากรที่มีอยูอยางจํากัดโดยขาดการวาง แผนการจัดระบบบริการที่ดี กอให*เกิดความไมเป4นธรรมในการพัฒนาและการเข*าถึงบริการของประชาชน กระทรวงสาธารณสุขจึงจําเป4นต*องทบทวนแนวทางการพัฒนาหนวยบริการให*มีทิศทางที่ชัดเจนและ เป4นระบบ ต*องดําเนินการให*มีแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) โดยมีระยะเวลาอยางน*อย ๕ ปU ( ๒๕๕๕-๒๕๕๙) มุงพัฒนาระบบบริการทุกระดับตั้งแตระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ ระดับตติยภูมิ ซึ่งรวมถึง การพัฒนาความเชี่ยวชาญระดับสูง สร*างระบบที่เชื่อมโยงกันเป4นเครือขายทั้งภายในจังหวัด ภายในเขต และ เป4น เครื อขายระดับประเทศ อีกทั้งสมควรดํ าเนิ นการจัด ทําแผนการสนับ สนุน ทรัพยากรให* สอดคล*องกั บ แผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ มีการจัดสรรทรัพยากรสนับสนุนตามบทบาทหน*าที่ของบริการแตละระดับ และสงเสริมสนับสนุนให*ดําเนินการพัฒนาตามแผนพัฒนาคุณภาพบริการ ตามเกณฑ%มาตรฐานคุณภาพบริการ ที่เป4นที่ยอมรับกันในปPจจุบัน การกําหนดกรอบนโยบายการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ จึงมีความจําเป4นต*องปรับเปลี่ยนกรอบ พื้นฐานความคิด (Paradigm shift) ทั้งแนวคิดพื้นฐาน มุมมองตอปPญหา และแนวปฏิบัติ เพื่อสามารถ ตอบสนองแนวโน*มความเปลี่ยนแปลงของสังคมและประชากร ตลอดจนความต*องการด*านสุขภาพของประเทศ ได*ทันทวงที อาทิเชน การขยายสถานบริการปฐมภูมิที่มีขีดความสามารถในเขตเมือง ควบคูกับการพัฒนา บริ การเวชปฏิ บั ติ ครอบครั ว การพั ฒ นาโรงพยาบาลชุ มชนในพื้ น ที่ สํ า คั ญ การพั ฒ นาความเชี่ ย วชาญทาง การแพทย%ระดับสูงในระดับภาค เป4นต*น ในปU ๒๕๕๓–๒๕๕๔ สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข มีนโยบายจัดทําแผนพัฒนาระบบบริการ สุขภาพ จึงได*แตงตั้งคณะกรรมการอํานวยการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ โดยมีปลัดกระทรวงสาธารณสุข
  • 5. ๒ (นายแพทย%ไพจิตร% วราชิต) เป4นประธาน เพื่อพิจารณากรอบแนวทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพของ กระทรวงสาธารณสุข ๒. วัตถุประสงค0 ๒.๑ เพื่อกําหนดทิศทางการพัฒนาและออกแบบระบบบริการสุขภาพในสวนภูมิภาคทั้งระบบ ให*มีขีด ความสามารถที่จะรองรับความท*าทายและบริบทที่เปลี่ยนแปลงในอนาคตได* ๒.๒ เพื่อจัดทําแผนพัฒนาระบบบริการเป4นเครือขายให*สอดคล*องกับทิศทางการพัฒนาดังกลาว โดย สอดประสานกันทั้งด*านโครงสร*าง บุคลากร และคุณภาพบริการ ๒.๓ ริเริ่มและขยายสถานบริการที่จําเป4น ตลอดจนการปรับปรุง หรือเสริมสร*างศักยภาพของสถาน บริการสาธารณสุขในสวนภูมิภาคให*เป4นไปตามแผนพัฒนาเครือขายบริการ ๓. กรอบแนวคิด ๓.๑ ความจําเป4นของการจัดระบบบริการสุขภาพในรูปแบบเครือขาย แทนการขยายโรงพยาบาลเป4น แหงๆ โดยใช*หลักการ “เครือขายบริการที่ไรรอยตอ (Seamless Health Service Network)” ที่ สามารถเชื่อมโยงบริการทั้ง ๓ ระดับเข*าด*วยกัน ตั้งแตระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ ทั้งนี้ให*เป4นไป ตามสภาพข*อเท็จจริงทางภูมิศาสตร%และการคมนาคม โดยไมมีเส*นแบงของการปกครองหรือการแบงเขตตรวจ ราชการ เป4นตัวขวางกั้น ๒. แตละจังหวัดจะต*องมี “เครือขายบริการระดั บจังหวัด (Provincial Health Service Network)” ที่สามารถรองรับการสงตอตามมาตรฐานระดับจังหวัดได*อยางสมบูรณ% (Self-containment for Referral Provincial Network) อยางน*อย ๑ เครือขาย โดยเครือขายจะต*องพัฒนาประสิทธิภาพในการ ให*บริการของเครือขายให*สูงขึ้นตามมาตรฐานที่กําหนด ประกอบด*วยโรงพยาบาลทั่วไปที่อยูในระดับมาตรฐาน เป4นแมขาย และรับผิดชอบการจัดบริการของโรงพยาบาลระดับทุติยภูมิและเครือขายบริการปฐมภูมิ (CUP) เครือขายอาจสงตอผู*ปfวยไปนอกเครือขายเทาที่จําเป4นหรือในรายที่เกินขีดความสามารถเทานั้น ทั้งนี้การ บริหารเครือขายให*ดําเนินการในรูปของคณะกรรมการ ๓. ให*มีการจัด “ระดับโรงพยาบาลรับผูป8วยสงตอ (Referral Hospital Cascade)” ตามขีด ความสามารถของโรงพยาบาลแตละระดับ เพื่อใช*ทรัพยากรภายในเครือขายที่มีอยางจํากัดให*มีประสิทธิภาพ สูงสุด หลีกเลี่ยงการลงทุนที่ซ้ําซ*อน และขจัดสภาพการแขงขันกัน ๔. ทิศทางการพัฒนาระบบบริการในแผน ๕ ป6 จะให*ความให*ความสําคัญในเชิงยุทธศาสตร% ๓ ประเด็น (Key Strategic Areas) ดังนี้ ๔.๑ การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในชุมชนเมืองที่มีประชากรหนาแนน (ทั้งเขตเมืองที่ตั้งของ ตัวจังหวัด และเขตเมืองอื่นๆ) ให*มีขีดความสามารถระดับแพทย%เวชปฏิบัติครอบครัวหรือแพทย%เวชปฏิบัติ ทั่วไป เพื่อรองรับการเติบโตของชุมชนเมืองและประชากรวัยสูงอายุ ซึ่งจะมีภาระของการดูแลโรคเรื้อรัง โรคที่ เกิดจากความเสื่อมของรางกาย และสุขภาพจิตที่เพิ่มขึ้นมาก ๔.๒ การพั ฒ นาโรงพยาบาลระดั บ ตางๆ ให* เ ป4 น สวนหนึ่ ง ของระบบเครื อ ขายบริ ก าร เพื่ อ ให* โรงพยาบาลแตละแหงเติบโตอยางมีทิศทาง มีภารกิจหน*าที่ชัดเจน มีจังหวะก*าว และเกื้อหนุนซึ่งกันและกัน ภายในเครือขาย
  • 6. ๔.๓ การพัฒนาศูนย%ความเชี่ยวชาญระดับสูง ๔ สาขา ดังนี้ ทารกแรกเกิด มะเร็ง อุบัติเหตุ หัวใจ เพื่ อรองรั บ ระบบสงตอผู* ปf ว ยที่ มีความยุ งยากซั บ ซ* อนและใช* เ ทคโนโลยี ร ะดั บ สู งและราคาแพง แบงขี ด ความสามารถในการให*บริการเป4น ๓ ระดับ โดยกระจายครอบคลุมพื้นที่ทั้งประเทศอยางทั่วถึง ๕. โครงสร8างใหม:ตามภารกิจของสถานบริการภายในเครือข:าย จาก Key Strategic Areas ทั้ง ๓ ประเด็น จะนําไปสูการจัดโครงสร*างของสถานบริการตางๆ ตาม ภารกิ จที่ เหมาะสมกั บพื้ นที่ โดยมี จุดเดนอยูที่ การขยายหรื อยกระดั บ สถานบริ การให* สู งขึ้ น ในพื้ นที่ จํ า เป4 น ตลอดจนการพัฒนาปรับปรุงขีดความสามารถของสถานบริการให*เป4นไปตามแผนพัฒนาเครือขายบริการ ดังนี้ ๕.๑ การพัฒนาระบบบริการปฐมภูมิในชุมชนเมือง / หนาแนน ๕.๑.๑ จัดตั้ง “ศูนย%สุขภาพชุมชนเมือง” ที่สามารถดูแลประชากรในเขตเมืองขนาดไมเกิน แหงละ ๓๐,๐๐๐ คน ได*อยางตอเนื่อง ผสมผสาน และเป4นองค%รวม โดยมีรูปแบบที่หลากหลาย และให* ท*องถิ่น/เอกชนมีสวนรวมอยางเต็มที่ ๕.๑.๒ พั ฒ นาศั ก ยภาพของโรงพยาบาลสงเสริ ม สุ ข ภาพตํ า บลขนาดใหญที่ รั บ ผิ ด ชอบ ประชากรตั้งแต ๘,๐๐๐ คนขึ้นไป จํานวน ๑,๐๐๐ แหง ๕.๑.๓ สงเสริม สนับสนุนการดําเนินการบริการปฐมภูมิ แก รพ.สต. ๘,๗๕๕ แหง ๕.๑.๔ พัฒนาระบบเชื่อมโยงข*อมูล ได*แก ข*อมูลสุขภาพที่เชื่อมโยงกับแมขาย พัฒนาระบบ การตรวจทางห*องปฏิบัติการและการรายงานผล Online ระบบปรึกษาทางไกล ๕.๓ การพัฒนาศูนย%ความเชี่ยวชาญระดับสูง จัดตั้งศูนย%ความเชี่ยวชาญระดับสูงภายใน รพศ./ รพท. ๔ สาขา ได*แก หัวใจ มะเร็ง อุบัติเหตุ ทารกแรกเกิด สาขาละ ๓ ระดับ กระจายทั่วทุกภาค ศูนย0ความเชี่ยวชาญ เดิม ป6งบประมาณ ๒๕๕๕ ระดับสูง ระดับ ๑ ระดับ ๒ ระดับ ๑ ระดับ ๒ ๑. ศูนย%โรคหัวใจ ๐ ๗ ๑๐ ๑๑ ๒. ศูนย%โรคมะเร็ง ๐ ๑๐ ๙ ๑๓ ๓. ศูนย%อุบัติเหตุ ๐ ๑๘ ๑๒ ๑๑ ๔. ศูนย%ทารกแรกเกิด ๐ ๐ ๙ ๑๘ ทั้ ง นี้ กํ า หนดให* มี โ รงพยาบาลที่ มี ขีด ความสามารถอยางน* อ ยระดั บ ๓ ของศู น ย% ค วามเชี่ ย วชาญ ระดับสูง ๔ สาขา ในทุกจังหวัด เพื่อเป4นหลักประกันวาประชาชนในจังหวัดมีความเทาเทียมกันในการเข*าถึง บริการพื้นฐาน ๖. การบริหารจัดการเครือข:ายบริการในส:วนภูมิภาค ดําเนินการในรูปแบบของเครือขายบริการ โดยเชื่อมโยงบริการตั้งแตระดับตติยภูมิถึงระดับปฐมภูมิ ครอบคลุมสถานบริการภายใน ๔-๘ จังหวัด ดูแลประชากรประมาณ ๕ ล*านคน เป4น ๑ เครือขาย รวมทั้งสิ้น ๑๒ เครือขาย โดยมีคณะกรรมการบริหารเครือขายบริการ ทําหน*าที่ดูแลระบบบริการ การเงินการคลังและ การสงตอภายในเครือขาย เพื่อเพิ่มคุณภาพระบบหลักประกันสุขภาพ ประชาชนได*รั บบริการที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ทั่วถึง เป4นธรรม และสร*างระบบบริหารจัดการที่มีเอกภาพ
  • 7. ๔ ๗. การจัดหาแหล:งทุนเพื่อการพัฒนา แหลงทุนหรืองบประมาณเพื่อพัฒนาเครือขายบริการให*เป4นไปตามแผน ๕ ปU ได*แก ๗.๑ งบประมาณรายจายประจําปUของกระทรวงสาธารณสุข โครงการพัฒนาเครือขายบริการ ๗.๒ งบคาเสื่อมของสํานักงานหลักประกันสุขภาพแหงชาติ ปUละ ๕,๐๐๐ล*านบาท ๗.๓ รายจายคาเสื่อมจากยอดสินทรัพย%ไมหมุนเวียน บริหารจัดการภายในเขต
  • 8. 5 แนวทางจัดทําแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปาก (Oral Health Service Plan) ระดับจังหวัดป- 2556-2560 กรอบการพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปาก 1. เกณฑพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปาก เปนเครื่องมือสําหรับใช$ประเมินศักยภาพ และสวนขาด ของ งานบริการ ทรัพยากร และระบบการดําเนินงานสุขภาพชองปาก ของสถานบริการสุขภาพตั้งแตระดับปฐมภูมิ จนถึงระดับตติยภูมิ เพื่อให$ได$ข$อมูลสําหรับสถานบริการสุขภาพนําไปใช$วางแผนพัฒนาระบบบริการ กอนนําไปใช$ จังหวัดควรดําเนินการ ดังนี้ 1.1. พิจารณาปรับปรุง เพิ่มเติม เกณฑตางๆ ให$เหมาะสมกับลักษณะการทํางานในแตละพื้นที่ กรณีปรับ เกณฑให$ด$อยลงควรมีเหตุผลความจําเปนประกอบ 1.2. ชี้แจ$งทําความเข$าใจกับทุกหนวยงาน ในจังหวัด 2. จากหลักการของการวางแผนพัฒนาระบบบริการ ที่มุงหวังให$มีระบบบริการสุขภาพที่มีศักยภาพ เกิดการ ใช$ทรัพยากรที่จํากัดอยางมีประสิทธิภาพ ตลอดจนรองรับป:ญหาทางการแพทยและสาธารณสุขที่มีความซับซ$อนใน ระดับพื้นที่ได$ 2.1. ควรใช$ศักยภาพของสถานบริการสุขภาพตามที่จังหวัดได$กําหนดไว$ และเพิ่มรายละเอียดของศักยภาพ งานสุขภาพชองปาก 2.2. ควรกําหนดโซนรับผิดชอบของโรงพยาบลาศักยภาพสูง ภายในจังหวัด เพื่อให$การสงตอสามารถสงตอ ในจุดที่ไมหางไกลเกินไปตามความซับซ$อนของโรค 3. จังหวัดควรใช$กลไกของ คณะกรรมการพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปาก ในการดําเนินงานพัฒนาระบบ บริการสุขภาพชองปาก ผลลัพธ5ที่ต9องการ 1. จังหวัดสามารถใช$ประโยชนจากแผนจัดการทรัพยากร เพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบบริการสุขภาพ ของจังหวัดได$จริง เชน การจัดทําคําของบประมาณ การจัดสรรงบลงทุน UC การจัดสรรกําลังคน ฯลฯ 2. จังหวัดสามารถใช$ประโยชนจากแผนงบกองทุนทันตกรรม เพื่อสนับสนุนการพัฒนาบริการสุขภาพ ชองปากของจังหวัด ในทิศทางที่เน$นการการสงเสริมปBองกัน ที่ตอบสนองตอการแก$ป:ญหาสุขภาพ ชองปากของกลุมเปBาหมายตางๆในแตละพื้นที่ 3. สถานบริการสุขภาพและระบบบริการสุขภาพได$รับการติดตามประเมินผล เพื่อให$คําแนะนะ ปรับปรุงแก$ไขอยางตอเนื่อง
  • 9. 6 แผนพัฒนาศักยภาพบริการสุขภาพชองปากของโรงพยาบาล/สถานบริการสุขภาพ เปนแผนพัฒนาระยะ 5 ปD (2556-2560) ของโรงพยาบาล/สถานบริการแตละแหง เปBาประสงค เพื่อการพัฒนาสถานบริการให$มีขีดความสามารถขั้นสูงของระดับบริการนั้นๆ (ตามกรอบ เกณฑพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปากในหนวยบริการบริการสุขภาพขั้นต่ําของสถานบริการแตละระดับ) แผนควรนําเสนอ “เปBาหมายพัฒนาบริการ” ในเชิงผลลัพธที่แสดงขีดความสามารถที่สูงขึ้น หรือ เพื่อการ ขยายบริการเดิมอยางเปนรูปธรรม และ ปฏิบัติได$จริง หรือ เน$นบริการสงเสริมปBองกันเพื่อแก$ป:ญหาสุขภาพชอง ปากในแตละกลุมวัย ให$กลุมเปBาหมายเข$าถึงบริการอยางครอบคลุมและได$รับบริการที่มีคุณภาพ จากนั้นจึงเสนอรายละเอียดของ “แผนลงทุน” ที่เชื่อมโยงสอดรับกับการบรรลุเปBาหมายที่เปน Package แตละกรณี มีการจัดลําดับความสําคัญกอนหลังในแตละเปBาหมาย ควรใช$แผนฯ เปนตัวขับเคลื่อนองคกรและระดมสรรพกําลังที่มีอยูเพื่อพัฒนาองคกร หรือเพื่อสะท$อน ความสําคัญของการพัฒนาบริการ รวมทั้งเพื่อติดตามกํากับความก$าวหน$าของการดําเนินงาน องคประกอบของแผนพัฒนา ควรประกอบด$วย 5 สวน ดังนี้ 1. ข$อมูลพื้นฐาน 1.1 ข$อมูลทั่วไป ประชากร สถานะทันสุขภาพ และ พฤติกรรมเสี่ยง 1.2 ข$อมูลทรัพยากร ได$แก หนวยบริการ อัตรากําลัง และ ข$อมูลการเงินการคลัง 1.3 ข$อมูลผลการจัดการบริการสุขภาพชองปากในแตละประเภทย$อนหลัง 3 ปD 2. การวิเคราะหศักยภาพบริการของโรงพยาบาลที่เปนอยูป:จจุบัน การวิเคราะหสวนขาดของการ จัดบริการ โดยใช$เกณฑพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปากในหนวยบริการบริการสุขภาพ และการ กําหนด “เปBาหมาย” การพัฒนา และการสนับสนุนเพื่อการพัฒนาบริการตามเปBาหมาย 3. การจัดลําดับความสําคัญของ “บริการ” ที่เปนเปBาหมายการพัฒนาในระยะ 5 ปD ตามสภาพป:ญหา และทิศทางการพัฒนาตามนโยบายสุขภาชองปากของจังหวัด 4. การจัดลําดับความสําคัญของการลงทุนที่สอดคล$องกับข$อ 3 ได$แก ครุภัณฑทันตกรรม และกําลังทันต บุคลากรที่น เชน ทันตาแพทย ทันตาภิบาล นักวิชากการทันตสาธารณสุข และ ผู$ชวยทันตกรรม ชาง ทันตกรรม ฯลฯ 5. สรุปภาพรวมของเปBาหมายบริการ ความต$องการและประมาณการด$านลงทุนในระยะ 5 ปD แผนพัฒนาระบบบริการระดับจังหวัด จังหวัดจัดทําแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปาก ที่เปนแผนในภาพรวมจังหวัด ตั้งแตระดับปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ ระยะเวลา 5 ปD (2556-2560) ให$ผสมผสานเปนองคประกอบหนึ่งของแผนพัฒนาระบบ บริการสุขภาพระดับจังหวัด ได$แก ครุภัณฑและทันตบุคลากร โดยพิจารณาจากแผนพัฒนาศักยภาพบริการของ สถานบริการแตละแหงในจังหวัด มีการจัดลําดับความสําคัญกอนหลังเปนภาพรวมจังหวัด และแผนพัฒนาบริการ สุขภาพชองปากที่ใช$งบกองทุนทันตกรรมในกรอบเวลา 5 ปD เปนแผนที่มีการวิเคราะหป:ญหาของในกลุมเปBาหมาย
  • 10. 7 ที่สําคัญ สรุปบทเรียนจุดออนในการดําเนินการที่ผาน และกําหนดกลยุทธ มาตรการ โครงการ และกิจกรรมสําคัญ ที่ต$องดําเนินการในกลุมเปBาหมายตางๆที่สําคัญของจังหวัด องคประกอบของแผนพัฒนาระบบบริการระดับจังหวัด 1. ข$อมูลพื้นฐานของจังหวัด (หัวข$อให$จังหวัดกําหนดเองตามความเหมาะสม) 2. เปBาหมายการพัฒนาศักยภาพที่สําคัญ แบงตามระดับบริการปฐมภูมิ ทุติยภูมิ และตติยภูมิ 3. ลําดับความสําคัญของงบลงทุน (อาคารสถานที่ ครุภัณฑ) แบงตามระดับบริการ 4. ลําดับความสําคัญของความต$องการอัตรากําลัง แบงตามระดับบริการ 5. การติดตามกํากับ และประเมินผล เกณฑ5พัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปากในหนวยบริการบริการสุขภาพ ประกอบด9วยเกณฑ5มาตรฐาน ๒ หมวด คือ หมวดที่ ๑ การจัดบริการสุขภาพ ด$านที่ ๑ มาตรฐานขีดความสามารถการให$บริการประกอบด$วย ๑. คุณภาพและประสิทธิภาพของระบบบริการ ๒. ขอบเขตการจัดบริการทันตกรรม ๓. ประเภทบริการทันตกรรม ๓.๑ ด$านบริการบําบัดรักษาทันตกรรม และฟZ[นฟูสภาพ ๓.๒ ด$านบริการสงเสริมทันตสุขภาพและทันตกรรมปBองกัน ด$านที่ ๒ อัตรากําลังคน ด$านที่ ๓ โครงสร$างกายภาพ ครุภัณฑและเครื่องมือ ๑. โครงสร$างกายภาพ ๒. ครุภัณฑและเครื่องมือ หมวดการบริหารจัดการและการสนับสนุน ด$านที่ ๑ แผนงาน/โครงการ ด$านที่ ๒ งบประมาณ ด$านที่ ๓ การพัฒนาระบบข$อมูล ด$านที่ ๔ การติดตามและการประเมินผลการปฏิบัติงาน ด$านที่ ๕ การพัฒนาบุคลากร/วิชาการ ดังรายละเอียดในเอกสารแนบท9าย
  • 11. เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการปฐมภูม ิ เลขที่ หมวดการจัดบริการ รพ.สต. P2 ศสม. P1 แถว มี ทภ.ประจํา หรือทันต มี ทพ. และ ทภ.ประจํา บุคลากรหมุนเวียน 1 หมวดการจัดบริการสุขภาพ 2 3 ด%านที่ ๑ ขีดความสามารถการให%บริการ 4 1. คุณภาพและประสิทธิภาพของระบบบริการ 5 1.1 มีการทํางานรวมกันเปนทีมระหวางสาขาวิชาชีพตางๆ / / 6 1.2 มีการให#ข#อมูลที่จําเปนแกผู#ป+วยและครอบครัว รวมทั้งแนวทางการ / / รักษาและทางเลือกของการรักษา 7 1.3 มีการประเมินผู#ป+วยและวางแผนให#บริการ เพื่อตอบสนองความ / / ต#องการด#านป4ญหาทันตสุขภาพของผู#รับบริการ 8 1.4 มีระบบการดูแลผู#ป+วยฉุกเฉินกอน,ระหวางและ หลังรับบริการ / / 9 1.5 มีระบบการดูแลผู#ป+วยตอเนื่องในรายที่จําเปน / / 10 1.6 มีการให#บริการทันตกรรมเปนไปตามมาตรฐานแหงวิชาชีพ ซึ่ง / / เปนที่ยอมรับวาดีที่สุดภายใต#สถานการณCของหนวยงาน 11 1.7 มีบันทึกข#อมูลของผู#รับบริการ แผนการรักษา และผลของการ / / รักษาเพื่อให#เกิดการสื่อสารที่ดีระหวางทีมผู#ให#บริการ และเกิดความ ตอเนื่องในการให#บริการ 12 1.8 มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ โดยความรวมมือของผู#ปฏิบัติงาน ทุก / / ระดับทั้งภายในและระหวางหนวยงาน รวมทั้งมีการกําหนดตัวชี้วัดที่ สําคัญของหนวยงานเพื่อพัฒนาการบริการ 13 1.9 มีการวิเคราะหC วางแผนและบริหารความเสี่ยงของหนวยงาน ทั้ง / / ทางด#านคลินิก, สิ่งแวดล#อม และการบริการทั่วไป 14 ๒ ขอบเขตการจัดบริการทันตกรรม 15 ๒.๑ มีการจัดบริการทันตกรรมด#านการรักษาขั้นพื้นฐาน ตามขอบเขต / / ความสามารถที่กระทรวงกําหนด 16 ๒.๒ สามารถจัดบริการทันตกรรมในกรณีอุบัติเหตุ หรือเจ็บป+วยฉุกเฉิน / / ได# หรือมีระบบเครือขายสงตอผู#มารับบริการไปรับบริการยังหนวย บริการอื่น 17 ๒.๓ มีการจัดบริการทันตกรรมด#านการสงเสริมปKองกันภายในหนวย / / บริการและหรือในพื้นที่รับผิดชอบ 18 ๓. ประเภทบริการทันตกรรม
  • 12. เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการปฐมภูม ิ เลขที่ หมวดการจัดบริการ รพ.สต. P2 ศสม. P1 แถว มี ทภ.ประจํา หรือทันต มี ทพ. และ ทภ.ประจํา บุคลากรหมุนเวียน 19 ๓.๑ การจัดบริการบําบัดรักษา และฟMNนฟูสภาพทางทันตกรรม 20 ๓.๑.๑ ศัลยกรรมชองปากและแม็กซิโลเฟเชียล 21 - ทันตศัลยกรรม 1 / / 22 - ทันตศัลยกรรม 2 / 23 - ศัลยกรรมชองปาก 1 / 24 - ศัลยกรรมชองปาก 2 / 25 ๓.๑.๒ ทันตกรรมสําหรับเด็ก 26 - ทันตกรรมสําหรับเด็ก 3 / 27 ๓.๑.๓ วิทยาเอนโดดอนทC 28 - รักษาคลองรากฟ4น 5 รวมขั้นตอนการรักษา / 29 ๓.๑.๔ ทันตกรรมบูรณะ 30 - ทันตกรรมหัตถการ 1 / / 31 - ทันตกรรมหัตถการ ๒ / / 32 - ทันตกรรมหัตถการ 3 เฉพาะงานอุดฟ4น / / 33 ๓.๑.๕ ปริทันตวิทยา 34 - ปริทันตC 2 / / 35 - ปริทันตC 4 / 36 ๓.๑.๖ ทันตกรรมบดเคี้ยว 37 - ทันตกรรมบดเคี้ยว 5 เฉพาะแก#ไขการสบฟ4นที่ผิดปกติบนตัวฟ4น / เฉพาะที่ 38 ๓.๑.๗ เวชศาสตรCชองปาก 39 - เวชศาสตรCชองปาก ๑ / / 40 ๓.๑.๘ ถายภาพรังสีเอกซเรยC 41 - ทันตรังสี 1 / 42 ๓.๑.๙ ทันตกรรมประดิษฐC 43 - Temporary plate/ARPD (acrylic base removable partial / denture) 44 - Complete Denture (Simple Case) / 45 46 ๓.๒ การจัดบริการส/งเสริมทันตสุขภาพและทันตกรรมป0องกัน
  • 13. เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการปฐมภูม ิ เลขที่ หมวดการจัดบริการ รพ.สต. P2 ศสม. P1 แถว มี ทภ.ประจํา หรือทันต มี ทพ. และ ทภ.ประจํา บุคลากรหมุนเวียน 47 ๓.๒.๑ งานทันตกรรมปKองกัน 48 - การทําความสะอาดฟ4น (Prophylaxis Cleansing) / / 49 - การเคลือบฟลูออไรดC (Fluoride Application) / / 50 - การเคลือบหลุมรองฟ4น (Sealant) / / 51 - การทํา PRR / / 52 ๓.๒.๒ บริการสงเสริมปKองกันในกลุมหญิงตั้งครรภC 53 - การจัดทําฐานข#อมูลสุขภาพชองปากหญิงตั้งครรภCให#ถูกต#อง / / ครบถ#วนและเปนป4จจุบัน 54 - การตรวจสุขภาพชองปากและให#ทันตสุขศึกษาแกหญิงตั้งครรภC / / 55 - การฝvกแปรงฟ4นและควบคุมแผนคราบจุลินทรC แกหญิงตั้งครรภC / / 56 - การบริการรักษาหญิงตั้งครรภCที่มีป4ญหาสุขภาพชองปาก หรือ / / การสงตอหญิงตั้งครรภCที่มีป4ญหาสุขภาพชองปากไปรับการรักษาที่ โรงพยาบาลแมขาย 57 - การติดตามเยี่ยมบ#านหลังคลอด / / 58 ๓.๒.๓ บริการสงเสริมปKองกันในคลินิกเด็กดี 59 - การจัดทําฐานข#อมูลสุขภาพชองปากเด็กอายุ ๐-๒ ปxให#ถูกต#อง / / ครบถ#วน และเปนป4จจุบัน 60 - การตรวจสุขภาพชองปากและให#ทันตสุขศึกษาในเด็กอายุ ๐-๒ ปx / / 61 - การให#ทันตสุขศึกษา และสอน / ฝvกวิธีการทําความสะอาดชอง / / ปากเด็กแกผู#ปกครองของเด็กอายุ๙ เดือน 62 - การให#ทันตสุขศึกษา และสอน / ฝvกวิธีการทําความสะอาดชอง / / ปากเด็กแกผู#ปกครองของเด็กอายุ๑๘ เดือน 63 - การบริการรักษาเด็กที่มีป4ญหาสุขภาพชองปาก หรือ การสงตอ / / เด็กที่มีป4ญหาสุขภาพชองปากไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลแมขาย 64 - การติดตามเยี่ยมบ#าน / / 65 - การทาฟลูออไรดC วารCนิชในเด็กอายุ ๐-๒ ปx (ตามความจําเปนของ / / แตละพื้นที่ ) 66 ๓.๒.๔ บริการสงเสริมปKองกันในกลุมผู#สูงอายุ
  • 14. เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการปฐมภูม ิ เลขที่ หมวดการจัดบริการ รพ.สต. P2 ศสม. P1 แถว มี ทภ.ประจํา หรือทันต มี ทพ. และ ทภ.ประจํา บุคลากรหมุนเวียน 67 - สํารวจและจัดทําฐานข#อมูลสุขภาพชองปากผู#สูงอายุอยางน#อยปx / / ละ ๑ ครั้ง 68 - ให#บริการสงเสริม ปKองกัน รักษาและฟMNนฟูสุขภาพชองปาก หรือ / / สงตอผู#สูงอายุไปเพื่อสงเสริม ปKองกัน รักษาและฟMNนฟูสุขภาพชองปากที่ โรงพยาบาลแมขาย 69 - สงเสริม สนับสนุนให#มีกิจกรรมสงเสริมทันตสุขภาพในชมรม / / ผู#สูงอายุ 70 ๓.๒.๕ บริการสงเสริมปKองกันในศูนยCพัฒนาเด็กเล็ก/โรงเรียนอนุบาล 71 - จัดทําฐานข#อมูลสุขภาพชองปากเด็กครบถ#วน ถูกต#อง และเปน / / ป4จจุบัน 72 - การตรวจสุขภาพชองปาก / / 73 - การบริการรักษาเด็กในศพด./รร.อนุบาลที่มีป4ญหาสุขภาพชอง / / ปาก หรือ การสงตอเด็กในศพด./รร.อนุบาลที่มีป4ญหาสุขภาพชองปาก ไปรับการรักษาที่โรงพยาบาลแมขาย 74 - สงเสริมการจัดกิจกรรมแปรงฟ4นหลังอาหารกลางวัน / / 75 - การให#ทันตสุขศึกษาในศูนยCพัฒนาเด็กเล็ก/โรงเรียนอนุบาล / / 76 - การกระตุ#นให# ศพด./รร.อนุบาลจัดสิ่งแวดล#อมให#เอื้อตอการที่เด็ก / / จะมีสุขภาพชองปากที่ดี 77 - ประสานกับ อปท. เพื่อให#มีการสนับสนุนการสงเสริมทันตสุขภาพ / / ในศพด./รร.อนุบาล 78 ๓.๒.๖ บริการสงเสริมปKองกันในโรงเรียนประถมศึกษา 79 - ให#บริการตรวจสุขภาพชองปากนักเรียน และจัดทําฐานข#อมูล / / สุขภาพชองปากนักเรียน อยางน#อยปxละ ๑ ครั้ง 80 - ให#บริการเคลือบหลุมรองฟ4นกรามถาวรซี่ที่ ๑ หรือสงตอ เด็ก ป.๑ / / ให#ได#รับบริการเคลือบหลุมรองฟ4นที่โรงพยาบาลแมขาย 81 - ให#บริการอุดฟ4นแท#หรือสงตอ เด็กประถมศึกษาให#ได#รับบริการ / / อุดฟ4นแท#ที่โรงพยาบาลแมขาย 82 - การบริการรักษาเด็กประถมศึกษาที่มีป4ญหาสุขภาพชองปาก หรือ / / การสงตอเด็กประถมศึกษาที่มีป4ญหาสุขภาพชองปากไปรับการรักษาที่ รพ.แมขาย
  • 15. เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการปฐมภูม ิ เลขที่ หมวดการจัดบริการ รพ.สต. P2 ศสม. P1 แถว มี ทภ.ประจํา หรือทันต มี ทพ. และ ทภ.ประจํา บุคลากรหมุนเวียน 83 - สงเสริมการจัดกิจกรรมแปรงฟ4นหลังอาหารกลางวัน / / 84 - การให#ทันตสุขศึกษาแกเด็กนักเรียนในโรงเรียนประถมศึกษา / / 85 - การกระตุ#นให#โรงเรียนประถมศึกษาจัดสิ่งแวดล#อมให#เอื้อตอการที่ / / เด็กจะมีสุขภาพชองปากที่ดี 86 - ประสานกับ อปท. เพื่อให#มีการสนับสนุนการสงเสริมทันตสุขภาพ / / ในโรงเรียนประถมศึกษา 87 ๓.๒.๗ บริการสงเสริมปKองกันอยางมีสวนรวมของชุมชน 88 - สํารวจ ค#นหาปzญหา รวบรวมความคิดเห็นและเสนอแนะเกี่ยวกับ / / ป4ญหาสุขภาพชองปากเพื่อให#ชุมชนตระหนักและมีสวนรวม 89 - รวมวิเคราะหCป4ญหา วางแผน ดําเนินการแก#ไขป4ญหาสุขภาพชอง / / ปากของชุมชน 90 - ประเมินผลโดยการผสมผสานกับงานเวชปฎิบัติครอบครัว / / 91 92 ด%านที่ ๒ อัตรากําลังคน 93 ๑. ด%านอัตรากําลัง 94 ๑.1 ทันตแพทยCปฏิบัติประจําเพื่อดูแลประชากร อยางน#อย ๑ คน 95 ๑.๒ เจ#าพนักงานทันตสาธารณสุข/นักวิชาการสาธารณสุข (ทันต 1:๘,๐00 อยางน#อย ๑ คน สาธารณสุข) ปฏิบัติประจําเพื่อดูแลประชากร 96 ๑.๓ มีผู#ชวยงานทันตกรรม: ทันตบุคคลากรผู#ให#บริการ 1:๑ 1:๑ 97 ๑.๔ ในพื้นที่ขาดแคลนทันตบุคลากร เครือขายบริการสุขภาพจัดให#มี / บริการทันตกรรม ใน รพ.สต.ทุกแหงอยางน#อยสัปดาหCละ ๑ ครั้ง 98 ๑.๕ สาขาของทันตแพทยCเฉพาะทาง / เมื่อจบการศึกษาเฉพาะทาง ยกเว#นสาขา ทันตกรรมทั่วไป และทันต สาธารณสุข/สาธารณสุขศาสตรC ควรย#ายไปปฎิบัติงานที่หนวยงานระดับ รพ. 99 100 ด%านที่ ๓ ด%านโครงสร%างกายภาพ ครุภัณฑ3 และเครื่องมือ 101 1. โครงสร%างกายภาพ
  • 16. เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการปฐมภูม ิ เลขที่ หมวดการจัดบริการ รพ.สต. P2 ศสม. P1 แถว มี ทภ.ประจํา หรือทันต มี ทพ. และ ทภ.ประจํา บุคลากรหมุนเวียน 102 1.1 มีพื้นที่ห#องตรวจและห#องให#บริการทันตกรรมไมน#อยกวา 9 ตาราง / / เมตรตอ 1 ยูนิตทันตกรรม กั้นเปนสัดสวนและมิดชิดไมให#ผู#อื่นเห็นการ ตรวจรักษา 103 1.2 มีโต}ะทํางานของทันตบุคลากร และเจ#าหน#าที่ของกลุมงาน แยก / / จากคลินิกบริการทันตกรรม 104 1.3 มีพื้นที่สําหรับการสาธิตและฝvกปฏิบัติแปรงฟ4น / / 105 1.4 การสัญจรและการเคลื่อนย#ายผู#ป+วยต#องกระทําได#โดยสะดวก / / 106 1.5 มีบริเวณสําหรับให#ผู#ป+วยและญาตินั่งรอ แยกจากบริเวณที่ให#การ / / รักษา ตั้งเก#าอี้สําหรับผู#พักคอยจํานวนเพียงพอกับการให#บริการผู#ป+วย อยางน#อย ๕ คนตอ 1 ยูนิตทันตกรรม 107 1.6 ห#องตรวจหรือห#องให#การรักษาต#องมีอางฟอกมือชนิดไมใช#มือเป~ด / / ป~ดน้ํา และไมใช#ปะปนกับอางล#างเครื่องมือ 108 1.7 มีแสงสวางเพียงพอสามารถมองเห็นสิ่งตาง ๆในห#องที่ให#บริการ ได# / / ชัดเจนในเวลาปฏิบัติงาน 109 1.๘ มีการระบายอากาศที่ดี ไมมีกลิ่นอับทึบ ให#พิจารณาจากลักษณะ ของห#องบริการ ดังนี้คือ 110 - ควรมีความสูงของเพดานห#องไมต่ํากวา 2.60 เมตร / / 111 - ติดตั้งเครื่องปรับอากาศ เพื่อประสิทธิภาพในการควบคุมการติด / / เชื้อ 112 - ต#องติดตั้งเครื่องระบายอากาศ ที่สามารถถายเทอากาศออกสู / / ภายนอกอาคารได# 113 1.๙ มีเครื่องหมายหรือปKายประกาศติดเป~ดเผยในที่ผู#รับบริการเห็นงาย / / ให#รายละเอียดชัดเจนวาเปนหนวยบริการทันตกรรม แสดงรายชื่อ รูป ถายผู#ให#บริการ ตําแหนงงาน วันและเวลาประจําการ แจ#งสิทธิ ประโยชนCในการใช#บริการทันตกรรม และสิทธิผู#ป+วย 114 1.๑๐ มีปKายเครื่องหมายห#ามสูบบุหรี่ติดในบริเวณที่ผู#รับบริการมองเห็น / / ได#ชัดเจน และมีมาตรการห#ามผู#มารับบริการสูบบุหรี่ในบริเวณคลินิก 115 2. ครุภัณฑ3และเครื่องมือ 116 2.1 ยูนิตทําฟ4น ต#องมีอยางน#อย 1 ยูนิตตอผู#ให#บริการ 1 คน / /
  • 17. เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการปฐมภูม ิ เลขที่ หมวดการจัดบริการ รพ.สต. P2 ศสม. P1 แถว มี ทภ.ประจํา หรือทันต มี ทพ. และ ทภ.ประจํา บุคลากรหมุนเวียน 117 2.2 ชุดออกหนวยทันตกรรมเคลื่อนที่ ต#องมีอยางน#อย 1 ชุด / / 118 2.๓ มีเครื่องมือสําหรับการให#บริการที่สอดคล#อง และมีจํานวนเพียงพอ / / ตอการให#บริการ โดยคํานึงถึงปริมาณผู#รับบริการ และเวลาที่ต#องใช#ใน การเตรียมเครื่องมือตามระบบควบคุมและปKองกันการติดเชื้อ 119 2.๔ มีตู#เย็นสําหรับเก็บยาหรือเวชภัณฑCอื่น โดยตู#เย็นนั้นต#องไมมีอาหาร / / หรือเครื่องดื่มปะปน 120 2.๕ มีตู# หรือชั้นเก็บยาและเวชภัณฑCเปนสัดสวน / / 121 2.๖ มีคุรุภัณฑCทางทันตกรรมตาง ๆ ที่จําเปน 122 - ตู#เก็บวัสดุทันตกรรม อยางน#อย 1 ตู#ตอ1 ยูนิต ทันตกรรม / / 123 - เครื่องขูดหินปูนไฟฟKา (Electric scaler) 1 เครื่องตอ 1 ยูนิตทัน / / ตกรรม และมีสํารองอยางน#อย ๑ เครื่อง 124 - เครื่องฉายแสงสําหรับวัสดุอุดฟ4น (Light cured unit) 1 เครื่อง / / ตอ 1 ยูนิตทันตกรรม 125 - เครื่องป4‚นผสมอมัลกัม (Amalgamator) อยางน#อย 1 เครื่อง / / 126 - เครื่องนึ่งฆาเชื้อ (autoclave) อยางน#อย 1 เครื่อง / / 127 - เครื่องเอ็กซเรยCฟ4น (Dental X-tay) อยางน#อย 1 เครื่อง / 128 129 หมวดการบริหารจัดการและการสนับสนุน 130 131 ด%านที่ ๑ แผนงาน/โครงการ 132 ๑. หนวยงานทันตกรรม มีสวนรวมในการกําหนดวิสัยทัศนC เปKาหมาย / / และวัตถุประสงคCของหนวยงาน มีความเข#าใจตอวิสัยทัศนC เปKาหมาย และวัตถุประสงคCโดยถูกต#องตรงกัน มีการปรับวิสัยทัศนCของหนวยงาน ให#เปนรูปธรรมนําไปสูการปฏิบัติงานสุขภาพชองปาก 133 ๒. มีการกําหนดแผนยุทธศาสตรCที่สอดคล#องกับวิสัยทัศนCและเปKาหมาย / / 134 ๓. มีการวางแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพชองปาก ที่สอดคล#องกับ / / ผลการวิเคราะหCศักยภาพ/สวนขาด ความจําเปนในการลงทุน และ พัฒนาบริการ
  • 18. เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการปฐมภูม ิ เลขที่ หมวดการจัดบริการ รพ.สต. P2 ศสม. P1 แถว มี ทภ.ประจํา หรือทันต มี ทพ. และ ทภ.ประจํา บุคลากรหมุนเวียน 135 ๔. มีแผนงาน/โครงการด#านทันตสาธารณสุขประจําปx / / 136 ๕. มีการจัดทําผังภูมิโครงสร#างของหนวยงานทั้งสายการบังคับบัญชา / / และ สายการประสานงานของหนวยงานครบถ#วนและติดให#เห็นชัดเจน 137 ๖. เข#ารวมหรือรับทราบผลการประชุมของหนวยงาน อยางสม่ําเสมอ / / 138 ๗. มีการกําหนดความรับผิดชอบและอํานาจหน#าที่ของเจ#าหน#าที่เปน / / รายบุคคล โดย เจ#าหน#าที่และหัวหน#าหนวยงานลงนามรับทราบ และมี การปรับปรุงให#เหมาะสมทุกปx 139 ๘. มีการนําป4ญหาการให#บริการ หรือการประเมินผลการให#บริการมา / / พิจารณาเพื่อการปรับปรุงพัฒนา 140 ๙. มีการใช#กลไกเพื่อรับทราบความต#องการของประชาชนและนํามา กําหนด เปKาหมาย และทิศทางของหนวยงาน 141 - ข#อมูลการเจ็บป+วยของประชาชนในพื้นที่รับผิดชอบ / / 142 - การสอบถามความคิดเห็น ความต#องการและความพึงพอใจของ / / ผู#ใช#บริการ อยางน#อยปxละ 1 ครั้ง 143 - มีการจัดระบบให#ผู#ใช#บริการที่มีป4ญหาได#แจ#งป4ญหาของตนตอ / / หนวย งานโดยสะดวก และมีการวิเคราะหCป4ญหาดังกลาวอยางสม่ําเสมอ 144 ด%านที่ ๒ ด%านงบประมาณ 145 ๑. มีระบบการสนับสนุนงบประมาณอยางเปนระบบ / / 146 ๒. มีแผนการใช#จายงบประมาณที่สนองตอบตอการแก#ป4ญหาและการ / / พัฒนาที่จําเปนตามบริบทของพื้นที่ 147 3. มีการติดตามการใช#จายงบประมาณทุก ๓ เดือน / / 148 4. มีการประสานความรวมมือกับ อปท.ในสนับสนุนการสงเสริมทันต / / สุขภาพชองประชาชนในพื้นที่ 149 ด%านที่ ๓ การพัฒนาระบบข%อมูล 150 ๑. มีการพัฒนาระบบข#อมูล ๔ ระบบคือ 151 - มีระบบข#อมูลบริการทันตสุขภาพ ที่ให#บริการกับบุคคล / / 152 - มีระบบข#อมูลเฝKาระวังสภาวะทันตสุขภาพ / /
  • 19. เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการปฐมภูม ิ เลขที่ หมวดการจัดบริการ รพ.สต. P2 ศสม. P1 แถว มี ทภ.ประจํา หรือทันต มี ทพ. และ ทภ.ประจํา บุคลากรหมุนเวียน 153 - มีระบบข#อมูลพื้นฐาน, บริการทันตสุขภาพที่ไมได#ให#บริการกับ / / บุคคล 154 - มีมีระบบข#อมูลทรัพยากรทันตสาธารณสุข / / 155 ๒. มีการรวบรวมและรายงานผลการปฏิบัติงานของบุคลากรทุกคน / / 156 ๓. มีการกําหนดความถี่ของการเก็บข#อมูลแตละประเภทไว#ชัดเจน / / 157 ด%านที่ ๔ การติดตามและการประเมินผลการปฏิบัติงาน 158 ๑. แนวทางการประเมินผลการให#บริการ 159 - มีการกําหนดตัวชี้วัดในการประเมินผลการให#บริการ ซึ่ง / / ครอบคลุมทั้งด#านเทคนิคบริการและด#านความพึงพอใจของผู#ป+วย 160 - มีการเก็บข#อมูล ตัวชี้วัดที่กําหนดไว#และนําเสนอตอผู#เกี่ยวข#อง / / 161 - มีการปรับปรุงการให#บริการจากข#อมูลที่ได# / / 162 ๒. ตัวชี้วัดการจัดบริการ 163 ๒.๑ ด#านคุณลักษณะของหนวยบริการและป4จจัยนําเข#า เชน สัดสวน / / ประชากรตอผู#ให#บริการทันตกรรม, สัดสวนยูนิตทันตกรรมตอผู# ให#บริการทันตกรรม ฯลฯ 164 ๒.๒ ด#านการเข#าถึงบริการทันตสุขภาพและความเปนธรรม เชน อัตรา / / การใช#บริการทันตกรรม (ครั้ง) รวมทุกสิทธิ/UC ฯลฯ 165 ๒.๓ คุณภาพและประสิทธิภาพบริการทันตสุขภาพ เชน ร#อยละจํานวน / / รายบริการ P&P ตอบริการทั้งหมด, จํานวนคนไข# (ครั้ง) เฉลี่ย ตอผู# ให#บริการทันตกรรมตอปx ฯลฯ 166 ๒.๔ ด#านประสิทธิภาพการบริหารงบประมาณ เชน ต#นทุนดําเนินการ / / เฉลี่ยบริการทันตกรรม (Quick method) ฯลฯ 167 168 ด%านที่ ๕ ด%านการพัฒนาบุคลากรและวิชาการ 169 ๑. บุคลากรทุกคนมีโอกาสเข#ารวมการประชุมวิชาการอยางสม่ําเสมอ / /
  • 20. เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการทุตยภูม ิ และตติยภูม ิ ิ เลขที่ หมวดการจัดบริการ รพช. รพช. รพช. รพช. รพท. รพท. รพศ. แถว F3 F2 F1 M2 M1 S A 1 หมวดการจัดบริการสุขภาพ 2 3 ด%านที่ ๑ ขีดความสามารถการให%บริการ 4 1. คุณภาพและประสิทธิภาพของระบบบริการ 5 1.1 มีการทํางานรวมกันเปนทีมระหวางสาขาวิชาชีพตางๆ / / / / / / / 6 1.2 มีการให#ข#อมูลที่จําเปนแกผู#ป+วยและครอบครัว / / / / / / / รวมทั้งแนวทางการรักษาและทางเลือกของการรักษา 7 1.3 มีการประเมินผู#ป+วยและวางแผนให#บริการ เพื่อ / / / / / / / ตอบสนองความต#องการด#านป4ญหาทันตสุขภาพของ ผู#รับบริการ 8 1.4 มีระบบการดูแลผู#ป+วยฉุกเฉินกอน,ระหวางและ หลัง / / / / / / / รับบริการ 9 1.5 มีระบบการดูแลผู#ป+วยตอเนื่องในรายที่จําเปน / / / / / / / 10 1.6 มีการให#บริการทันตกรรมเปนไปตามมาตรฐานแหง / / / / / / / วิชาชีพ ซึ่งเปนที่ยอมรับวาดีที่สุดภายใต#สถานการณCของ หนวยงาน 11 1.7 มีบันทึกข#อมูลของผู#รับบริการ แผนการรักษา และ / / / / / / / ผลของการรักษาเพื่อให#เกิดการสื่อสารที่ดีระหวางทีมผู# ให#บริการ และเกิดความตอเนื่องในการให#บริการ 12 1.8 มีกิจกรรมพัฒนาคุณภาพ โดยความรวมมือของ / / / / / / / ผู#ปฏิบัติงาน ทุกระดับทั้งภายในและระหวางหนวยงาน รวมทั้งมีการกําหนดตัวชี้วัดที่สําคัญของหนวยงานเพื่อ พัฒนาการบริการ 13 1.9 มีการวิเคราะหC วางแผนและบริหารความเสี่ยงของ / / / / / / / หนวยงาน ทั้งทางด#านคลินิก, สิ่งแวดล#อม และการ บริการทั่วไป 14 ๒ ขอบเขตการจัดบริการทันตกรรม 15 ๒.๑ มีการจัดบริการทันตกรรมด#านการรักษาขั้นพื้นฐาน / / / / / / / ตามขอบเขตความสามารถที่กระทรวงกําหนด
  • 21. เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการทุตยภูม ิ และตติยภูม ิ ิ เลขที่ หมวดการจัดบริการ รพช. รพช. รพช. รพช. รพท. รพท. รพศ. แถว F3 F2 F1 M2 M1 S A 16 ๒.๒ สามารถจัดบริการทันตกรรมในกรณีอุบัติเหตุ หรือ / / / / / / / เจ็บป+วยฉุกเฉินได# หรือมีระบบเครือขายสงตอผู#มารับ บริการไปรับบริการยังหนวยบริการอื่น 17 ๒.๓ มีการจัดบริการทันตกรรมด#านการสงเสริมปKองกัน / / / / / / / ภายในหนวยบริการและหรือในพื้นที่รับผิดชอบ 18 ๒.๔ เพิ่มการเข#าถึงบริการสุขภาพชองปาก โดยจัดระบบ / / / / การให#บริการแกคนไข#เฉลี่ยอยางน#อย ๑๘๔๐ ครั้งตอผู# ให#บริการทันตกรรมตอปx 19 ๓. ประเภทบริการทันตกรรม 20 ๓.๑ การจัดบริการบําบัดรักษา และฟMNนฟูสภาพทางทัน ตกรรม 21 ๓.๑.๑ ศัลยกรรมชองปากและแม็กซิโลเฟเชียล 22 - ทันตศัลยกรรม 1 / / / / / / / 23 - ทันตศัลยกรรม 2 / / / / / / / 24 - ศัลยกรรมชองปาก 1 / / / / / / / 25 - ศัลยกรรมชองปาก 2 / / / / / / 26 - ศัลยกรรมชองปาก 3 / / / 27 - ศัลยกรรมชองปาก 4 / / / 28 - ศัลยกรรมชองปาก 5 / / / 29 - ศัลยกรรมชองปาก 6 / / / 30 - ศัลยกรรมชองปาก 7 / 31 - Orthognathic Surgery / 32 ๓.๑.๒ ทันตกรรมสําหรับเด็ก 33 - ทันตกรรมสําหรับเด็ก 3 / / / / / / / 34 - ทันตกรรมสําหรับเด็ก 4 / / / / / / / 35 - ทันตกรรมสําหรับเด็ก 5 / / / / / / / 36 - ทันตกรรมสําหรับเด็ก 6 / / / / / / / 37 - ทันตกรรมสําหรับเด็ก 7 / / / 38 ๓.๑.๓ วิทยาเอนโดดอนทC 39 - รักษาคลองรากฟ4น 5 รวมขั้นตอนการรักษา / / / / / / / 40 - รักษาคลองรากฟ4น 6 รวมขั้นตอนการรักษา / / / / / / /
  • 22. เกณฑ์พัฒนาระบบบริการสุขภาพช่องปากในหน่วยบริการทุตยภูม ิ และตติยภูม ิ ิ เลขที่ หมวดการจัดบริการ รพช. รพช. รพช. รพช. รพท. รพท. รพศ. แถว F3 F2 F1 M2 M1 S A 41 - รักษาคลองรากฟ4น 7 รวมขั้นตอนการรักษา / / / / 42 - รักษาคลองรากฟ4น 8 รวมขั้นตอนการรักษา / / 43 - Endodontic Surgery / / 44 ๓.๑.๔ ทันตกรรมบูรณะ 45 - ทันตกรรมหัตถการ 1 / / / / / / / 46 - ทันตกรรมหัตถการ ๒ / / / / / / / 47 - ทันตกรรมหัตถการ 3 / / / / / / / 48 - ทันตกรรมหัตถการ 4 / / / 49 - bleaching vital / non-vital tooth 50 ๓.๑.๕ ปริทันตวิทยา 51 - ปริทันตC 2 / / / / / / / 52 - ปริทันตC 4 / / / / / / / 53 - ปริทันตC 5 / / / / 54 - ปริทันตC 6 / / / / 55 - ปริทันตC 7 / / / / 56 - ปริทันตC 8 / / / / 57 ๓.๑.๖ ทันตกรรมบดเคี้ยว 58 - ทันตกรรมบดเคี้ยว 3 / / / / / / / 59 - ทันตกรรมบดเคี้ยว 5 เฉพาะแก#ไขการสบฟ4นที่ / / / / / / / ผิดปกติบนตัวฟ4น เฉพาะที่ 60 - ทันตกรรมบดเคี้ยว 5 / / 61 - ทันตกรรมบดเคี้ยว 6 / / 62 ๓.๑.๗ ทันตกรรมจัดฟ4น 63 - Preventive Orthodontics / / / / / / / 64 - Interceptive Orthodontics - Minor tooth / / / / / / / movement 65 - Corrective Orthodontic - Simple case / / / และจัดฟ4นสําหรับฟ4นบางสวน 66 - Corrective Orthodontic - Complicate case / / / Full mouth