SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
2.3 ภาพตัด(section view)
คาจากัดความ
งานที่มีลักษณะซับซ้อนหรือถูกบังถ้าเขียนด้วยเส้นประจะให้รายละเอียดไม่ชัดเจนมีวิธีการที่ดีกว่าและสามารถเห็น
ส่วนประกอบภายในได้ คือการเขียนภาพตัด แต่การตัดนั้นเราไม่ได้ตัดจริงแต่จะตัดจากจินตนาการโดยตัดชิ้นงานออกเป็น
สองส่วนแล้วเขียนลงในแบบเช่น งานเจาะรู งานร่องลิ่ม รูคว้าน หรืองานที่ต้องการทราบรายละเอียดภายในในการเขียนภาพ
ตัดแต่ละภาพต้องเขียนคาว่า SECTION ตามด้วยตัวอักษรเช่นSECTION A-Aไว้ใต้ภาพตัดเสมอเพื่อจะได้ทราบว่าภาพตัดมา
จากตาแหน่งใดภาพตัดสามารถแบ่งออกเป็น 8 ชนิด คือ
2.3.1 ภาพตัดเต็ม (Full section)
2.3.2 ภาพตัดครึ่ง (Half section)
2.3.3 ภาพตัดแยกแนว (Offset section)
2.3.4 ภาพตัดเฉพาะส่วน (Partial section)
2.3.5 ภาพตัดหมุน (Revolved section)
2.3.6 ภาพตัดเคลื่อน (Removed section)
2.3.7 ภาพตัดช่วย (Auxiliary section)
2.3.8 ภาพตัดประกอบ (Assembly section)
เส้นลายตัด (section line)
ใช้แสดงพื้นที่หน้าตัดของชิ้นงานเขียนด้วยเส้นเต็มบางเอียงเป็นมุม 45 องศากับเส้นแกนหลักของชิ้นงานวัสดุแต่ละ
ชนิดจะเขียนเส้นลายตัดไม่เหมือนกันเพื่อป้ องกันความสับสนในการใช้งานระยะห่างของเส้นลายตัดแต่ละเส้นขึ้นอยู่กับความ
กว้างของชิ้นงานชิ้นงานที่กว้างมากจะมีระยะห่างของเส้นลายตัดจะห่างมากกว่าชิ้นงานที่แคบชิ้นงานชิ้นเดียวกันจะเขียน
เส้นลายตัดเอียงไปในทิศทางเดียวกัน ดังรูป
รูปที่ 2.26 แสดงสัญลักษณ์เส้นลายตัด
การเขียนเส้นลายตัดที่ถูกต้องจะต้องเขียนเป็นมุม 45 องศาและระยะห่างของเส้นลายตัดจะต้องเท่ากัน ขึ้นอยู่กับ
ขนาดของภาพที่เขียนถ้ารูปมีขนาดใหญ่เส้นลายตัดจะมีระยะห่างรูปขนาดเล็กลายตัดจะมีขนาดเล็กลงตามรูปและไม่เขียน
เส้นลายตัดเกินกรอบรูป
รูปที่ 2.27แสดงมุมเส้นลายตัดที่ถูกและผิด
เส้นระนาบตัด(cutting plane)
- ใช้แสดงทิศทางและตาแหน่งการตัดของชิ้นงาน
- ที่ปลายเส้นมีลูกศรชี้
- มีตัวอักษรกากับที่ลูกศรทั้งสองข้าง
- ที่กึ่งกลางภาพตัดต้องเขียน section A-A
เส้นลายตัดถูกต้อง
ระยะห่างขึ้นอยู่กับ
ขนาดของชิ้นงาน
เส้นลายตัดผิด
ระยะห่างและมุมไม่ได้
ตามข้อกาหนด
เส้นลายตัดผิดมุมที่ใช้
ไม่ได้ตามข้อกาหนด
เส้นลายตัดถูกต้อง
ระยะห่างและมุม
ถูกต้อง
รูปที่ 2.28 แสดงเส้นระนาบตัด (cutting plane)
วัสดุบาง(Thin material) ที่มีพื้นที่หน้าตัดแคบมากจะไม่เขียนเส้นลายตัดจะลงด้วยเส้นทึบ เช่น งานโลหะแผ่น เหล็ก
ฉาก
รูปที่ 2.29 แสดงวัสดุบาง (Thin material)
ชิ้นงานประกอบตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไปเส้นลายตัดจะต้องมีทิศทางตรงข้ามกันหรือใช้วิธีเปลี่ยนมุม เส้นลายตัด เช่น 30,60
องศา
รูปที่ 2.30 แสดงมุมเส้นลายตัดภาพประกอบ
ภาพประกอบและชิ้นส่วนมาตรฐานที่ไม่ต้องเขียนเส้นลายตัด เช่น เพลา สลัก เฟือง น๊อต สกรู ลิ่ม หมุดย้า แต่จะ
เขียนรูปเต็มให้เห็นทั้งตัว
รูปที่ 2.31แสดงชิ้นส่วนมาตรฐานและภาพประกอบไม่มีเส้นลายตัด
รูปที่ 2.32แสดงชิ้นส่วนมาตรฐานไม่มีเส้นลายตัด
การเขียนภาพตัดเกลียวทั้งเกลียวนอกและเกลียวในการเขียนเส้นลายตัดจะเขียนทับสัญลักษณ์เกลียว ถ้าเป็นเกลียว
ประกอบการเขียนเส้นลายตัดจะไม่เขียนทับสัญลักษณ์เกลียวบริเวณที่เกลียวขบกัน
รูปที่ 2.33 แสดงภาพตัดและสัญลักษณ์เกลียว
ภาพตัดพิเศษเป็นการเขียนที่แตกต่างจากภาพตัดทั่วไปแต่วัตถุประสงค์ในการเขียนยังคงเหมือนเดิม คือต้องการให้
เห็นส่วนประกอบภายในที่มองไม่เห็น เช่น ภาพตัดที่เป็นสันและเป็นครีบไม่นิยมเขียนเส้นลายตัดผ่านเช่นงานที่มีแขนหรือซี่
กงล้อในการเขียนภาพตัดต้องหมุนภาพส่วนที่เป็นแขนหรือซี่กงล้อให้ผ่านเส้นระนาบตัดก่อนจึงเขียนภาพตัดให้มีแขนทั้งสอง
ข้าง
รูปที่ 2.34 แสดงการตัดแบบพิเศษมีสันและครีบด้วยระบบ A-TYPE
ภาพตัดที่เป็นสันหรือครีบในกรณีที่รูไม่อยู่ตรงเส้นระนาบตัดให้หมุนรูเจาะไปที่ตาแหน่งระนาบตัดก่อนจึงทาการ
เขียนภาพตัด ดังรูป A และ B ส่วนรูป C ไม่นิยมเขียน
รูปที่ 2.35 แสดงภาพตัดพิเศษแบบมีสันและครีบ (ribs)ด้วยระบบ A-TYPE
2.3.1 ภาพตัดเต็ม (Full section) เป็นการเขียนภาพตัดโดยการแบ่งชิ้นงานออกเป็นสองส่วนเท่า ๆ กันเพื่อให้เห็น
ส่วนประกอบภายในอย่างชัด เส้นระนาบตัดจะเป็นเส้นตรงเพื่อใช้กาหนดตาแหน่งที่จะทาการตัด
รูปที่ 2.36 แสดงภาพตัดเต็ม(full section) 2 มิติ และ 3มิติ
การเขียนเส้นระนาบตัดของภาพตัดเต็ม
- ใช้แสดงทิศทางและตาแหน่งการตัดของชิ้นงาน
- ที่ปลายเส้นมีลูกศรชี้
- มีตัวอักษรกากับที่ลูกศรทั้งสองข้าง
- ที่กึ่งกลางภาพตัดต้องเขียน section A-A
รูปที่ 2.37 แสดงเส้นระนาบตัดภาพตัดเต็ม(full section)ด้วยระบบ A-TYPE
2.3.2 ตัดภาพตัดครึ่ง (half section)
ใช้ในการเขียนแบบชิ้นงานที่มีรูปทรงเท่ากันทั้งสองด้านหรือเป็นรูปทรงที่สมมาตรกันในการตัดนั้นจะตัดออกเป็น1/4
เสี้ยวของชิ้นงานโดยการใช้เส้นผ่าศูนย์กลางเป็นตัวแบ่งด้านหนึ่งจะเห็นผิวภายนอกของชิ้นงานอีกด้านหนึ่งจะเห็น
ส่วนประกอบภายในซึ่งเป็นการประกอบภายในและเป็นการประหยัดเวลาในการเขียนแบบ
รูปที่ 2.38 แสดงภาพตัดครึ่ง
รูปที่ 2.39แสดงภาพตัดครึ่ง(half section) 2 มิติ และ 3 มิติด้วยระบบ A-TYPE
2.3.3 ภาพตัดแยกแนว (offset section)
ในการเขียนภาพตัดแยกแนวจะมีลักษณะภาพเหมือนตัดเต็มแต่ในการตัดชิ้นงานจะตัดแบบซิกแซกคือไม่ตัดในแนว
เดียวตลอดแต่จะตัดหลายแนวในรูปเดียวกันจะเป็นการประหยัดเวลาไม่ต้องตัดหลายครั้ง
รูปที่ 2.40 แสดงภาพตัดแยกแนว (offset section) 2 มิติ และ 3 มิติ
การเขียนภาพตัดแยกแนวจะมีลักษณะภาพเหมือนตัดเต็มแต่ในการตัดชิ้นงานจะตัดแบบซิกแซกคือไม่ตัดในแนวเดียว
ตลอดแต่จะตัดหลายแนวในรูปเดียวกันจะเป็นการประหยัดเวลาไม่ต้องตัดหลายครั้ง
รูปที่ 2.41 แสดงระนาบตัดภาพตัดแยกแนว (offset section)ด้วยระบบ A-TYPE
2.3.4 ภาพตัดเคลื่อน (removed section)
การตัดเคลื่อนมีลักษณะเหมือนการตัดหมุนเพียงแต่พื้นที่หน้าตัดของงานที่ตัดจะเคลื่อนมาอยู่ด้านนอกของชิ้นงานและ
การเขียนภาพตัดอาจจาเป็นต้องเขียนหลายครั้งเพราะงานบางชิ้นจะมีพื้นที่หน้าตัดไม่เหมือนกันหรือแต่ละส่วนไม่เท่ากันใน
การเขียนภาพตัดจาเป็นต้องเขียนตัวอักษรกากับในตาแหน่งที่ต้องการแสดงภาพตัดให้เห็นอย่างชัดเจนเพื่อให้รู้ว่าเป็นภาพตัด
จากตาแหน่งใดดังรูป
รูปที่2.42 แสดงภาพตัดเคลื่อน(removed section)
การเขียนภาพตัดเคลื่อนชิ้นงานรูปเดียวกันมีรูปร่างที่แตกต่างกันจะต้องเขียนตัวอักษรกากับบริเวณเส้นระนาบตัดให้
ชัดเจนเพื่อจะได้ทราบว่าภาพตัดที่เกิดขึ้นมาจากตาแหน่งใด
ภาพตัดที่เกิดขึ้นแต่ละภาพจะต้องเขียนหมายเลขกากับไว้ใต้ภาพทุกภาพเสมอ เช่น A-A , B-B ดังภาพ
รูปที่ 2.43 แสดงภาพตัดเคลื่อน(removed section)
2.3.5 ภาพตัดหมุน (revolved section)
การเขียนภาพตัดหมุนเป็นการเขียนเพื่อต้องการทราบพื้นที่หน้าตัดของชิ้นงานลักษณะ การเขียนเป็นการหมุนภาพ
เป็นมุม 90 องศาเข้าหาตาเรา และจะเขียนรูปพื้นที่หน้าตัดอยู่ในแบบหรือชิ้นงานสาเหตุเพราะอาจจะมีพื้นที่จากัดในการเขียน
กรณีที่ชิ้นงานมีพื้นที่หน้าตัดที่แตกต่างกันการเขียนภาพตัดจะต้องแสดงส่วนต่างๆของภาพตัดให้ชัดเจนยิ่งข้นเพื่อ
สะดวกในการปฏิบัติงาน ดังรูป
รูปที่ 2.44 แสดงภาพตัดหมุน (revolved section)
2.3.6 ภาพตัดเฉพาะส่วน (partial section)
การตัดเฉพาะส่วนเป็นการตัดให้เห็นส่วนประกอบภายในบางส่วนเท่านั้นโดยเฉพาะส่วนที่ต้องการให้เห็น
รายละเอียดที่ชัดเจนเพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการทางานและยังเป็นการประหยัดเวลาในการเขียนแบบ บริเวณที่ต้องการ
แสดงรายละเอียดของภาพตัดจะเขียนด้วยเส้น
Free hand แต่เส้นลายตัดต้องเขียนตามข้อกาหนดของการเขียนภาพตัด ดังรูป
รูปที่ 2.45 แสดงภาพตัดเฉพาะส่วน (partial section)
2.3.7 ภาพตัดช่วย (auxiliary section)
การเขียนภาพตัดช่วยจะเป็นการเขียนเพื่อต้องการให้เห็นพื้นที่หน้าตัดจริงของชิ้นงานที่มีลักษณะเอียงเท่านั้นและ
สามารถตัดเต็มและตัดเฉพาะส่วนได้ ในกรณีที่ต้องการทราบรายละเอียดของชิ้นงานที่มีการตัดแบบเฉียงการมองภาพต้อง
มองให้ตั้งฉากกับชิ้นงานเป็นมุม 90 องศาจะได้ภาพที่มีขนาดความกว้างเท่าเดิมแต่ความยาวจะเปลี่ยนแปลงไปตามขนาดความ
เอียงของพื้นที่หน้าตัด A-A , B-B , C-C ดังรูป
รูปที่ 2.46แสดงภาพตัดช่วย (auxiliary section)
การเขียนภาพตัดช่วยชิ้นงานที่มีลักษณะบิดเบี้ยวผิดปกติจะทาให้การมองภาพผิดไปจากความเป็นจริงโดยเฉพาะ
ชิ้นงานที่มีความเอียงมีวิธีการแก้ไขคือการให้รายละเอียดโดยการเขียนภาพตัดช่วยเพื่อแสดงขนาดความกว้างยาวจริงของ
พื้นที่หน้าตัดชิ้นงาน ดังรูป
รูปที่ 2.47แสดงภาพตัดช่วย (auxiliary section)
2.3.8 ภาพตัดประกอบ (Assembly section)
การเขียนภาพตัดประกอบเป็นการเขียนแบบชิ้นงานที่ประกอบกันตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไปเพื่อให้เห็นส่วนประกอบภายใน
ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น การเขียนเส้นลายตัดต้องมีทิศทางตรงข้ามกัน หรือ ใช้วิธีเปลี่ยนมุมเส้นลายตัดจากมุม 45 องศาเป็น 30 หรือ60
องศา
รูปที่ 2.48 แสดงภาพตัดประกอบ (Assembly section)

More Related Content

What's hot

การเขียนแบบด้วยcad
การเขียนแบบด้วยcadการเขียนแบบด้วยcad
การเขียนแบบด้วยcadguest0ca794
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตTutor Ferry
 
สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01Narasak Sripakdee
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานNut Veron
 
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์Krukae Technicsakon
 
การเขียนภาพแผ่นคลี่
การเขียนภาพแผ่นคลี่การเขียนภาพแผ่นคลี่
การเขียนภาพแผ่นคลี่prasong singthom
 
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้างแจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้างchupol bamrungchok
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นSuphol Sutthiyutthasenee
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์dnavaroj
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์ ณัฐพล บัวพันธ์
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์peter dontoom
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาดkruood
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเจื๋อง เมืองลื้อ
 

What's hot (20)

การเขียนแบบด้วยcad
การเขียนแบบด้วยcadการเขียนแบบด้วยcad
การเขียนแบบด้วยcad
 
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซตคณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
คณิตศาสตร์ ม.4 เรื่องเซต
 
สมการตรีโกณ
สมการตรีโกณสมการตรีโกณ
สมการตรีโกณ
 
สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01สัญลักษณ์เชื่อม01
สัญลักษณ์เชื่อม01
 
8 3
8 38 3
8 3
 
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐานSolidworks ขั้นพื้นฐาน
Solidworks ขั้นพื้นฐาน
 
9
99
9
 
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
บทที่ 1 พื้นฐานไมโครโปรเซสเซอร์และไมโครคอนโทรลเลอร์
 
การเขียนภาพแผ่นคลี่
การเขียนภาพแผ่นคลี่การเขียนภาพแผ่นคลี่
การเขียนภาพแผ่นคลี่
 
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้างแจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
แจกเอกสารประกอบการสอนใช้งาน Sketch up ในการประยุกต์ใช้ในการก่อสร้าง
 
การถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้นการถ่ายภาพเบื้องต้น
การถ่ายภาพเบื้องต้น
 
ภาคผนวก
ภาคผนวกภาคผนวก
ภาคผนวก
 
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
เซลล์พืชและเซลล์สัตว์
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการตัดต่อภาพยนตร์
 
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
เฉลยข้อสอบเพาเวอร์พ้อยท์
 
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาดเรื่องที่ 4  มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
เรื่องที่ 4 มาตราส่วนและการกำหนดขนาด
 
5 1
5 15 1
5 1
 
welding
weldingwelding
welding
 
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเกษตรตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
6 3
6 36 3
6 3
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

2 3

  • 1. 2.3 ภาพตัด(section view) คาจากัดความ งานที่มีลักษณะซับซ้อนหรือถูกบังถ้าเขียนด้วยเส้นประจะให้รายละเอียดไม่ชัดเจนมีวิธีการที่ดีกว่าและสามารถเห็น ส่วนประกอบภายในได้ คือการเขียนภาพตัด แต่การตัดนั้นเราไม่ได้ตัดจริงแต่จะตัดจากจินตนาการโดยตัดชิ้นงานออกเป็น สองส่วนแล้วเขียนลงในแบบเช่น งานเจาะรู งานร่องลิ่ม รูคว้าน หรืองานที่ต้องการทราบรายละเอียดภายในในการเขียนภาพ ตัดแต่ละภาพต้องเขียนคาว่า SECTION ตามด้วยตัวอักษรเช่นSECTION A-Aไว้ใต้ภาพตัดเสมอเพื่อจะได้ทราบว่าภาพตัดมา จากตาแหน่งใดภาพตัดสามารถแบ่งออกเป็น 8 ชนิด คือ 2.3.1 ภาพตัดเต็ม (Full section) 2.3.2 ภาพตัดครึ่ง (Half section) 2.3.3 ภาพตัดแยกแนว (Offset section) 2.3.4 ภาพตัดเฉพาะส่วน (Partial section) 2.3.5 ภาพตัดหมุน (Revolved section) 2.3.6 ภาพตัดเคลื่อน (Removed section) 2.3.7 ภาพตัดช่วย (Auxiliary section) 2.3.8 ภาพตัดประกอบ (Assembly section) เส้นลายตัด (section line) ใช้แสดงพื้นที่หน้าตัดของชิ้นงานเขียนด้วยเส้นเต็มบางเอียงเป็นมุม 45 องศากับเส้นแกนหลักของชิ้นงานวัสดุแต่ละ ชนิดจะเขียนเส้นลายตัดไม่เหมือนกันเพื่อป้ องกันความสับสนในการใช้งานระยะห่างของเส้นลายตัดแต่ละเส้นขึ้นอยู่กับความ กว้างของชิ้นงานชิ้นงานที่กว้างมากจะมีระยะห่างของเส้นลายตัดจะห่างมากกว่าชิ้นงานที่แคบชิ้นงานชิ้นเดียวกันจะเขียน เส้นลายตัดเอียงไปในทิศทางเดียวกัน ดังรูป
  • 2. รูปที่ 2.26 แสดงสัญลักษณ์เส้นลายตัด การเขียนเส้นลายตัดที่ถูกต้องจะต้องเขียนเป็นมุม 45 องศาและระยะห่างของเส้นลายตัดจะต้องเท่ากัน ขึ้นอยู่กับ ขนาดของภาพที่เขียนถ้ารูปมีขนาดใหญ่เส้นลายตัดจะมีระยะห่างรูปขนาดเล็กลายตัดจะมีขนาดเล็กลงตามรูปและไม่เขียน เส้นลายตัดเกินกรอบรูป
  • 3. รูปที่ 2.27แสดงมุมเส้นลายตัดที่ถูกและผิด เส้นระนาบตัด(cutting plane) - ใช้แสดงทิศทางและตาแหน่งการตัดของชิ้นงาน - ที่ปลายเส้นมีลูกศรชี้ - มีตัวอักษรกากับที่ลูกศรทั้งสองข้าง - ที่กึ่งกลางภาพตัดต้องเขียน section A-A เส้นลายตัดถูกต้อง ระยะห่างขึ้นอยู่กับ ขนาดของชิ้นงาน เส้นลายตัดผิด ระยะห่างและมุมไม่ได้ ตามข้อกาหนด เส้นลายตัดผิดมุมที่ใช้ ไม่ได้ตามข้อกาหนด เส้นลายตัดถูกต้อง ระยะห่างและมุม ถูกต้อง
  • 5. วัสดุบาง(Thin material) ที่มีพื้นที่หน้าตัดแคบมากจะไม่เขียนเส้นลายตัดจะลงด้วยเส้นทึบ เช่น งานโลหะแผ่น เหล็ก ฉาก รูปที่ 2.29 แสดงวัสดุบาง (Thin material) ชิ้นงานประกอบตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไปเส้นลายตัดจะต้องมีทิศทางตรงข้ามกันหรือใช้วิธีเปลี่ยนมุม เส้นลายตัด เช่น 30,60 องศา รูปที่ 2.30 แสดงมุมเส้นลายตัดภาพประกอบ
  • 6. ภาพประกอบและชิ้นส่วนมาตรฐานที่ไม่ต้องเขียนเส้นลายตัด เช่น เพลา สลัก เฟือง น๊อต สกรู ลิ่ม หมุดย้า แต่จะ เขียนรูปเต็มให้เห็นทั้งตัว รูปที่ 2.31แสดงชิ้นส่วนมาตรฐานและภาพประกอบไม่มีเส้นลายตัด รูปที่ 2.32แสดงชิ้นส่วนมาตรฐานไม่มีเส้นลายตัด การเขียนภาพตัดเกลียวทั้งเกลียวนอกและเกลียวในการเขียนเส้นลายตัดจะเขียนทับสัญลักษณ์เกลียว ถ้าเป็นเกลียว ประกอบการเขียนเส้นลายตัดจะไม่เขียนทับสัญลักษณ์เกลียวบริเวณที่เกลียวขบกัน
  • 7. รูปที่ 2.33 แสดงภาพตัดและสัญลักษณ์เกลียว ภาพตัดพิเศษเป็นการเขียนที่แตกต่างจากภาพตัดทั่วไปแต่วัตถุประสงค์ในการเขียนยังคงเหมือนเดิม คือต้องการให้ เห็นส่วนประกอบภายในที่มองไม่เห็น เช่น ภาพตัดที่เป็นสันและเป็นครีบไม่นิยมเขียนเส้นลายตัดผ่านเช่นงานที่มีแขนหรือซี่ กงล้อในการเขียนภาพตัดต้องหมุนภาพส่วนที่เป็นแขนหรือซี่กงล้อให้ผ่านเส้นระนาบตัดก่อนจึงเขียนภาพตัดให้มีแขนทั้งสอง ข้าง
  • 8. รูปที่ 2.34 แสดงการตัดแบบพิเศษมีสันและครีบด้วยระบบ A-TYPE ภาพตัดที่เป็นสันหรือครีบในกรณีที่รูไม่อยู่ตรงเส้นระนาบตัดให้หมุนรูเจาะไปที่ตาแหน่งระนาบตัดก่อนจึงทาการ เขียนภาพตัด ดังรูป A และ B ส่วนรูป C ไม่นิยมเขียน รูปที่ 2.35 แสดงภาพตัดพิเศษแบบมีสันและครีบ (ribs)ด้วยระบบ A-TYPE
  • 9. 2.3.1 ภาพตัดเต็ม (Full section) เป็นการเขียนภาพตัดโดยการแบ่งชิ้นงานออกเป็นสองส่วนเท่า ๆ กันเพื่อให้เห็น ส่วนประกอบภายในอย่างชัด เส้นระนาบตัดจะเป็นเส้นตรงเพื่อใช้กาหนดตาแหน่งที่จะทาการตัด รูปที่ 2.36 แสดงภาพตัดเต็ม(full section) 2 มิติ และ 3มิติ การเขียนเส้นระนาบตัดของภาพตัดเต็ม - ใช้แสดงทิศทางและตาแหน่งการตัดของชิ้นงาน - ที่ปลายเส้นมีลูกศรชี้ - มีตัวอักษรกากับที่ลูกศรทั้งสองข้าง - ที่กึ่งกลางภาพตัดต้องเขียน section A-A รูปที่ 2.37 แสดงเส้นระนาบตัดภาพตัดเต็ม(full section)ด้วยระบบ A-TYPE
  • 10. 2.3.2 ตัดภาพตัดครึ่ง (half section) ใช้ในการเขียนแบบชิ้นงานที่มีรูปทรงเท่ากันทั้งสองด้านหรือเป็นรูปทรงที่สมมาตรกันในการตัดนั้นจะตัดออกเป็น1/4 เสี้ยวของชิ้นงานโดยการใช้เส้นผ่าศูนย์กลางเป็นตัวแบ่งด้านหนึ่งจะเห็นผิวภายนอกของชิ้นงานอีกด้านหนึ่งจะเห็น ส่วนประกอบภายในซึ่งเป็นการประกอบภายในและเป็นการประหยัดเวลาในการเขียนแบบ รูปที่ 2.38 แสดงภาพตัดครึ่ง รูปที่ 2.39แสดงภาพตัดครึ่ง(half section) 2 มิติ และ 3 มิติด้วยระบบ A-TYPE 2.3.3 ภาพตัดแยกแนว (offset section) ในการเขียนภาพตัดแยกแนวจะมีลักษณะภาพเหมือนตัดเต็มแต่ในการตัดชิ้นงานจะตัดแบบซิกแซกคือไม่ตัดในแนว เดียวตลอดแต่จะตัดหลายแนวในรูปเดียวกันจะเป็นการประหยัดเวลาไม่ต้องตัดหลายครั้ง
  • 11. รูปที่ 2.40 แสดงภาพตัดแยกแนว (offset section) 2 มิติ และ 3 มิติ การเขียนภาพตัดแยกแนวจะมีลักษณะภาพเหมือนตัดเต็มแต่ในการตัดชิ้นงานจะตัดแบบซิกแซกคือไม่ตัดในแนวเดียว ตลอดแต่จะตัดหลายแนวในรูปเดียวกันจะเป็นการประหยัดเวลาไม่ต้องตัดหลายครั้ง
  • 12. รูปที่ 2.41 แสดงระนาบตัดภาพตัดแยกแนว (offset section)ด้วยระบบ A-TYPE 2.3.4 ภาพตัดเคลื่อน (removed section) การตัดเคลื่อนมีลักษณะเหมือนการตัดหมุนเพียงแต่พื้นที่หน้าตัดของงานที่ตัดจะเคลื่อนมาอยู่ด้านนอกของชิ้นงานและ การเขียนภาพตัดอาจจาเป็นต้องเขียนหลายครั้งเพราะงานบางชิ้นจะมีพื้นที่หน้าตัดไม่เหมือนกันหรือแต่ละส่วนไม่เท่ากันใน การเขียนภาพตัดจาเป็นต้องเขียนตัวอักษรกากับในตาแหน่งที่ต้องการแสดงภาพตัดให้เห็นอย่างชัดเจนเพื่อให้รู้ว่าเป็นภาพตัด จากตาแหน่งใดดังรูป
  • 13. รูปที่2.42 แสดงภาพตัดเคลื่อน(removed section) การเขียนภาพตัดเคลื่อนชิ้นงานรูปเดียวกันมีรูปร่างที่แตกต่างกันจะต้องเขียนตัวอักษรกากับบริเวณเส้นระนาบตัดให้ ชัดเจนเพื่อจะได้ทราบว่าภาพตัดที่เกิดขึ้นมาจากตาแหน่งใด ภาพตัดที่เกิดขึ้นแต่ละภาพจะต้องเขียนหมายเลขกากับไว้ใต้ภาพทุกภาพเสมอ เช่น A-A , B-B ดังภาพ
  • 14. รูปที่ 2.43 แสดงภาพตัดเคลื่อน(removed section) 2.3.5 ภาพตัดหมุน (revolved section) การเขียนภาพตัดหมุนเป็นการเขียนเพื่อต้องการทราบพื้นที่หน้าตัดของชิ้นงานลักษณะ การเขียนเป็นการหมุนภาพ เป็นมุม 90 องศาเข้าหาตาเรา และจะเขียนรูปพื้นที่หน้าตัดอยู่ในแบบหรือชิ้นงานสาเหตุเพราะอาจจะมีพื้นที่จากัดในการเขียน กรณีที่ชิ้นงานมีพื้นที่หน้าตัดที่แตกต่างกันการเขียนภาพตัดจะต้องแสดงส่วนต่างๆของภาพตัดให้ชัดเจนยิ่งข้นเพื่อ สะดวกในการปฏิบัติงาน ดังรูป
  • 15. รูปที่ 2.44 แสดงภาพตัดหมุน (revolved section) 2.3.6 ภาพตัดเฉพาะส่วน (partial section) การตัดเฉพาะส่วนเป็นการตัดให้เห็นส่วนประกอบภายในบางส่วนเท่านั้นโดยเฉพาะส่วนที่ต้องการให้เห็น รายละเอียดที่ชัดเจนเพื่อไม่ให้เกิดความผิดพลาดในการทางานและยังเป็นการประหยัดเวลาในการเขียนแบบ บริเวณที่ต้องการ แสดงรายละเอียดของภาพตัดจะเขียนด้วยเส้น Free hand แต่เส้นลายตัดต้องเขียนตามข้อกาหนดของการเขียนภาพตัด ดังรูป
  • 16. รูปที่ 2.45 แสดงภาพตัดเฉพาะส่วน (partial section) 2.3.7 ภาพตัดช่วย (auxiliary section) การเขียนภาพตัดช่วยจะเป็นการเขียนเพื่อต้องการให้เห็นพื้นที่หน้าตัดจริงของชิ้นงานที่มีลักษณะเอียงเท่านั้นและ สามารถตัดเต็มและตัดเฉพาะส่วนได้ ในกรณีที่ต้องการทราบรายละเอียดของชิ้นงานที่มีการตัดแบบเฉียงการมองภาพต้อง มองให้ตั้งฉากกับชิ้นงานเป็นมุม 90 องศาจะได้ภาพที่มีขนาดความกว้างเท่าเดิมแต่ความยาวจะเปลี่ยนแปลงไปตามขนาดความ เอียงของพื้นที่หน้าตัด A-A , B-B , C-C ดังรูป
  • 17. รูปที่ 2.46แสดงภาพตัดช่วย (auxiliary section) การเขียนภาพตัดช่วยชิ้นงานที่มีลักษณะบิดเบี้ยวผิดปกติจะทาให้การมองภาพผิดไปจากความเป็นจริงโดยเฉพาะ ชิ้นงานที่มีความเอียงมีวิธีการแก้ไขคือการให้รายละเอียดโดยการเขียนภาพตัดช่วยเพื่อแสดงขนาดความกว้างยาวจริงของ พื้นที่หน้าตัดชิ้นงาน ดังรูป
  • 18. รูปที่ 2.47แสดงภาพตัดช่วย (auxiliary section) 2.3.8 ภาพตัดประกอบ (Assembly section) การเขียนภาพตัดประกอบเป็นการเขียนแบบชิ้นงานที่ประกอบกันตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไปเพื่อให้เห็นส่วนประกอบภายใน ได้ชัดเจนยิ่งขึ้น การเขียนเส้นลายตัดต้องมีทิศทางตรงข้ามกัน หรือ ใช้วิธีเปลี่ยนมุมเส้นลายตัดจากมุม 45 องศาเป็น 30 หรือ60 องศา