SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน คลื่นยักษ์สึนามิ (Tsunami)
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.น.ส.ปวันรัตน์ กันจินะ เลขที่ 5 ชั้น ม.6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.น.ส.ปวันรัตน์ กันจินะ เลขที่ 5
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
สึนามิ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Tsunami
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อความรู้
ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.ปวันรัตน์ กันจินะ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 - 2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากในปัจจุบันมีการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติเป็นจานวนมาก และประชาชนส่วนใหญ่ได้รับ
ผลกระทบ เสียหายจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ โดยไม่ทันเตรียมตัวหรือระมัดระวัง จึงอยากศึกษาค้นคว้า
เกี่ยวกับภัยพิบัติ สึนามิ เนื่องจากเป็นภัยพิบัติที่สร้างความเสียหายรุนแรงและคร่าชีวิตผู้คนเป็นจานวนมาก
และมีคนจานวนมากที่ไม่รู้เกี่ยวกับลักษณะของคลื่นสึนามิ จึงทาให้ป้องกันไม่ทันท่วงที
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.เพื่ออธิบายการเกิดคลื่นสึนามิ
2.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับลักษณะของคลื่นสึนามิ
3
3.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันภัยสึนามิ
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ผู้สนใจเกี่ยวกับภัยสึนามิ (Tsunami) การป้องกันและลักษณะต่างๆ
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
สึนามิ (tsunami) เป็นคลื่นขนาดยักษ์ที่มีกาเนิดจากในมหาสมุทรและเคลื่อนที่เข้าสู่ชายฝั่ง คาว่าสึ
นามินี้เป็นภาษาญี่ปุ่น มีความหมายตามรากศัพท์ว่า คลื่นท่าเรือ ในภาษาอังกฤษบางครั้งอาจเรียกคลื่นนี้
ว่าไทดัลเวฟ (tidal wave) อันหมายถึงคลื่นที่เกิดจากกระแสน้าขึ้นน้าลง แต่ในทางวิทยาศาสตร์แล้วถือ
ว่าผิดความหมายเพราะสึนามิไม่ได้เกิดจากกระแสน้าขึ้นน้าลงแต่อย่างใด
สึนามิมักเกิดในมหาสมุทรแปซิฟิก และประเทศที่ต้องผจญกับสึนามิบ่อยๆไม่ต้องบอกก็คงเดากันได้ว่าคือ
ประเทศญี่ปุ่น เพราะเป็นข่าวบ่อยครั้งจนศัพท์สึนามินี้เป็นที่รู้จักกันดีทั่วไป ในรอบศตวรรษที่ผ่านมา
ประเทศญี่ปุ่นต้องเผชิญกับสึนามิถึง 250 ครั้ง มีผู้เสียชีวิตรวมกันแล้วกว่า 100,000 คน
สึนามิเกิดขึ้นได้อย่างไร
สึนามิและคลื่นตามชายฝั่งธรรมดานั้นมีกาเนิดที่แตกต่างกัน คลื่นโดยทั่วไปเกิดจากกระแสน้าขึ้นน้าลง
และกระแสลม แต่สึนามินั้นเกิดจากการแทนที่น้าอย่างรุนแรง ทาให้มวลของน้าเกิดการเคลื่อนที่ด้วย
ความเร็วสูง
ลองนึกเปรียบเทียบกับการที่เราโยนก้อนหินลงในน้า หากเราโยนหินก้อนเล็กๆ เราจะสังเกตเห็นว่าผิวน้า
เกิดเป็นระลอกแผ่ออกไปจากจุดที่ก้อนหินตกลงน้า ยิ่งหินก้อนใหญ่เท่าไร ระลอกที่เกิดก็ยิ่งมีขนาดใหญ่
ขึ้น ทั้งนี้เพราะเมื่อหินตกลงในน้าจะเกิดการแทนที่น้า และพลังงานที่ก้อนหินตกใส่น้าก็จะถูกถ่ายเทจาก
ก้อนหินไปสู่น้า ทาให้มวลของน้าเกิดการเคลื่อนที่ ทาให้เราเห็นเป็นระลอกคลื่น หินก้อนยิ่งใหญ่ พลังงาน
ที่ถ่ายเทให้แก่น้าก็ยิ่งมาก ระลอกที่เกิดจึงมีขนาดใหญ่และแผ่ออกไปได้ไกลมากยิ่งขึ้น
ในทานองเดียวกัน ในธรรมชาติสามารถเกิดปรากฏการณ์แทนที่น้าได้ ยกตัวอย่างเช่นการเกิดภูเขาไฟ
ระเบิดในทะเล การเกิดแผ่นดินไหวหรือแผ่นดินถล่มในทะเล การเกิดแผ่นดินไหวบนแผ่นดินใกล้ชายฝั่ง
ฯลฯ เหล่านี้ล้วนแต่ทาให้เกิดการแทนที่น้าอย่างรุนแรงได้ทั้งสิ้น และนอกจากปรากฏการณ์ธรรมชาติใน
โลกเหล่านี้แล้ว ปรากฏการณ์ธรรมชาติจากนอกโลกอันได้แก่การที่อุกาบาตหรือดาวหางตกลงใน
มหาสมุทรก็ทาให้เกิดการแทนที่น้าอย่างรุนแรงได้เช่นกัน ผลจากปรากฏการณ์เหล่านี้จะเกิดการถ่ายเท
พลังงานให้แก่น้า และมวลของน้าก็จะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงแผ่กระจายออกจากจุดที่น้าถูกแทนที่ ทา
ให้เกิดเป็นสึนามิขึ้น
4
สึนามิแตกต่างจากคลื่นธรรมดาอย่างไร
เมื่อสึนามิมีกาเนิดที่แตกต่างจากคลื่นชายฝั่งโดยทั่วไป ดังนั้นคลื่นเพชฌฆาตนี้จึงมีลักษณะเฉพาะหลาย
อย่างที่แตกต่างไปจากคลื่นชายฝั่งนอกเหนือไปจากขนาดอันมหึมาของคลื่น
ความแตกต่างที่สาคัญประการแรกก็คือความยาวคลื่น คลื่นทั่วๆไปนั้นจะมีระยะห่างระหว่างคลื่นแต่ละ
ลูกเพียงไม่กี่เมตร อาจเป็น 10 เมตรหรือไปจนถึง 100 เมตร หรือ 150 เมตร ซึ่งระยะระหว่างคลื่น 2 ลูก
นี้เราเรียกว่า ความยาวคลื่น หรือ ช่วงคลื่น แต่สาหรับสึนามิแล้วระยะห่างระหว่างคลื่นแต่ละลูกจะห่าง
กันถึงกว่า 100 กิโลเมตรเลยทีเดียว
ระยะห่างระหว่างคลื่น 2 ลูก เรียกว่าความยาวคลื่นหรือช่วงคลื่น สึนามิจะมีความยาวคลื่นถึง 100
กิโลเมตรหรืออาจมากกว่านั้น
นอกจากนี้สึนามิยังมีความเร็วอย่างที่คาดไม่ถึง หรือเรียกได้ว่าเร็วอย่างเหลือเชื่อ ความเร็วของสึนามิจะ
แปรผันไปตามความลึกของมหาสมุทร หากมหาสมุทรยิ่งลึก ความเร็วของสึนามิก็ยิ่งสูงขึ้น ยกตัวอย่าง
เช่นสึนามิที่เกิดในมหาสมุทรแปซิฟิกซึ่งมีความลึกประมาณ 4,000 เมตร (4 กิโลเมตร) จะมีความเร็ว
ประมาณ 700 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ซึ่งความเร็วนี้พอๆกับเครื่องบินไอพ่นเลยทีเดียว
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
5
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
6
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
Ja Palm
 
มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียน
Ja Palm
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
rungthiwa_
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
Ratchasin Poomchor
 
2559 project -ฟลุ๊กกี้
2559 project -ฟลุ๊กกี้2559 project -ฟลุ๊กกี้
2559 project -ฟลุ๊กกี้
Thanyathorn Somrup
 

What's hot (20)

2562 final-project-18
2562 final-project-182562 final-project-18
2562 final-project-18
 
2561 project thitichaya
2561 project  thitichaya2561 project  thitichaya
2561 project thitichaya
 
อาเซียน
อาเซียนอาเซียน
อาเซียน
 
มหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียนมหัศจรรย์อาเซียน
มหัศจรรย์อาเซียน
 
11111
1111111111
11111
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2559 project -1
2559 project -12559 project -1
2559 project -1
 
604 35 project
604 35 project604 35 project
604 35 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2562 final-project 1
2562 final-project 12562 final-project 1
2562 final-project 1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Work1 pjcom
Work1 pjcomWork1 pjcom
Work1 pjcom
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ปัญหาเด็กติดเกม
 
2559 project -ฟลุ๊กกี้
2559 project -ฟลุ๊กกี้2559 project -ฟลุ๊กกี้
2559 project -ฟลุ๊กกี้
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
รัชนาท 2559-project com
รัชนาท 2559-project comรัชนาท 2559-project com
รัชนาท 2559-project com
 

Similar to โครงงานคอม

2559 project01
2559 project012559 project01
2559 project01
dewdrw
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Polly Rockheels
 

Similar to โครงงานคอม (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project -3
2560 project -32560 project -3
2560 project -3
 
น.ส.นนทรพร งานโครงงาน
น.ส.นนทรพร งานโครงงานน.ส.นนทรพร งานโครงงาน
น.ส.นนทรพร งานโครงงาน
 
พลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิพลาสเตอร์มะลิ
พลาสเตอร์มะลิ
 
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
โครงงานแบบร่างคอมพิวเตอร์
 
project มหัศจรรย์โลมา
project มหัศจรรย์โลมา project มหัศจรรย์โลมา
project มหัศจรรย์โลมา
 
โครงร่างโครงงาน คอม
โครงร่างโครงงาน คอมโครงร่างโครงงาน คอม
โครงร่างโครงงาน คอม
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้2560 project .doc กี้
2560 project .doc กี้
 
2559 project01
2559 project012559 project01
2559 project01
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Project com-31
Project com-31Project com-31
Project com-31
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
โครงงานคอม2559 project
โครงงานคอม2559 project โครงงานคอม2559 project
โครงงานคอม2559 project
 
มหัศจรรย์โลมา
มหัศจรรย์โลมามหัศจรรย์โลมา
มหัศจรรย์โลมา
 
ใบงานที่5
ใบงานที่5ใบงานที่5
ใบงานที่5
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2560 project -1
2560 project -12560 project -1
2560 project -1
 

More from cham45314 (7)

Minibook1
Minibook1Minibook1
Minibook1
 
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
ขั้นตอนการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กิจกรรมที่ 2-คอม-เสร็จแล้ว (1)
กิจกรรมที่ 2-คอม-เสร็จแล้ว (1)กิจกรรมที่ 2-คอม-เสร็จแล้ว (1)
กิจกรรมที่ 2-คอม-เสร็จแล้ว (1)
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
พ.ร.บ.คอม 2560
พ.ร.บ.คอม 2560พ.ร.บ.คอม 2560
พ.ร.บ.คอม 2560
 
work1
work1work1
work1
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเองใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
 

โครงงานคอม

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน คลื่นยักษ์สึนามิ (Tsunami) ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.น.ส.ปวันรัตน์ กันจินะ เลขที่ 5 ชั้น ม.6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.น.ส.ปวันรัตน์ กันจินะ เลขที่ 5 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) สึนามิ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Tsunami ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อความรู้ ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.ปวันรัตน์ กันจินะ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 - 2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากในปัจจุบันมีการเกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติเป็นจานวนมาก และประชาชนส่วนใหญ่ได้รับ ผลกระทบ เสียหายจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ โดยไม่ทันเตรียมตัวหรือระมัดระวัง จึงอยากศึกษาค้นคว้า เกี่ยวกับภัยพิบัติ สึนามิ เนื่องจากเป็นภัยพิบัติที่สร้างความเสียหายรุนแรงและคร่าชีวิตผู้คนเป็นจานวนมาก และมีคนจานวนมากที่ไม่รู้เกี่ยวกับลักษณะของคลื่นสึนามิ จึงทาให้ป้องกันไม่ทันท่วงที วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.เพื่ออธิบายการเกิดคลื่นสึนามิ 2.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับลักษณะของคลื่นสึนามิ
  • 3. 3 3.เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกันภัยสึนามิ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ผู้สนใจเกี่ยวกับภัยสึนามิ (Tsunami) การป้องกันและลักษณะต่างๆ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) สึนามิ (tsunami) เป็นคลื่นขนาดยักษ์ที่มีกาเนิดจากในมหาสมุทรและเคลื่อนที่เข้าสู่ชายฝั่ง คาว่าสึ นามินี้เป็นภาษาญี่ปุ่น มีความหมายตามรากศัพท์ว่า คลื่นท่าเรือ ในภาษาอังกฤษบางครั้งอาจเรียกคลื่นนี้ ว่าไทดัลเวฟ (tidal wave) อันหมายถึงคลื่นที่เกิดจากกระแสน้าขึ้นน้าลง แต่ในทางวิทยาศาสตร์แล้วถือ ว่าผิดความหมายเพราะสึนามิไม่ได้เกิดจากกระแสน้าขึ้นน้าลงแต่อย่างใด สึนามิมักเกิดในมหาสมุทรแปซิฟิก และประเทศที่ต้องผจญกับสึนามิบ่อยๆไม่ต้องบอกก็คงเดากันได้ว่าคือ ประเทศญี่ปุ่น เพราะเป็นข่าวบ่อยครั้งจนศัพท์สึนามินี้เป็นที่รู้จักกันดีทั่วไป ในรอบศตวรรษที่ผ่านมา ประเทศญี่ปุ่นต้องเผชิญกับสึนามิถึง 250 ครั้ง มีผู้เสียชีวิตรวมกันแล้วกว่า 100,000 คน สึนามิเกิดขึ้นได้อย่างไร สึนามิและคลื่นตามชายฝั่งธรรมดานั้นมีกาเนิดที่แตกต่างกัน คลื่นโดยทั่วไปเกิดจากกระแสน้าขึ้นน้าลง และกระแสลม แต่สึนามินั้นเกิดจากการแทนที่น้าอย่างรุนแรง ทาให้มวลของน้าเกิดการเคลื่อนที่ด้วย ความเร็วสูง ลองนึกเปรียบเทียบกับการที่เราโยนก้อนหินลงในน้า หากเราโยนหินก้อนเล็กๆ เราจะสังเกตเห็นว่าผิวน้า เกิดเป็นระลอกแผ่ออกไปจากจุดที่ก้อนหินตกลงน้า ยิ่งหินก้อนใหญ่เท่าไร ระลอกที่เกิดก็ยิ่งมีขนาดใหญ่ ขึ้น ทั้งนี้เพราะเมื่อหินตกลงในน้าจะเกิดการแทนที่น้า และพลังงานที่ก้อนหินตกใส่น้าก็จะถูกถ่ายเทจาก ก้อนหินไปสู่น้า ทาให้มวลของน้าเกิดการเคลื่อนที่ ทาให้เราเห็นเป็นระลอกคลื่น หินก้อนยิ่งใหญ่ พลังงาน ที่ถ่ายเทให้แก่น้าก็ยิ่งมาก ระลอกที่เกิดจึงมีขนาดใหญ่และแผ่ออกไปได้ไกลมากยิ่งขึ้น ในทานองเดียวกัน ในธรรมชาติสามารถเกิดปรากฏการณ์แทนที่น้าได้ ยกตัวอย่างเช่นการเกิดภูเขาไฟ ระเบิดในทะเล การเกิดแผ่นดินไหวหรือแผ่นดินถล่มในทะเล การเกิดแผ่นดินไหวบนแผ่นดินใกล้ชายฝั่ง ฯลฯ เหล่านี้ล้วนแต่ทาให้เกิดการแทนที่น้าอย่างรุนแรงได้ทั้งสิ้น และนอกจากปรากฏการณ์ธรรมชาติใน โลกเหล่านี้แล้ว ปรากฏการณ์ธรรมชาติจากนอกโลกอันได้แก่การที่อุกาบาตหรือดาวหางตกลงใน มหาสมุทรก็ทาให้เกิดการแทนที่น้าอย่างรุนแรงได้เช่นกัน ผลจากปรากฏการณ์เหล่านี้จะเกิดการถ่ายเท พลังงานให้แก่น้า และมวลของน้าก็จะเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูงแผ่กระจายออกจากจุดที่น้าถูกแทนที่ ทา ให้เกิดเป็นสึนามิขึ้น
  • 4. 4 สึนามิแตกต่างจากคลื่นธรรมดาอย่างไร เมื่อสึนามิมีกาเนิดที่แตกต่างจากคลื่นชายฝั่งโดยทั่วไป ดังนั้นคลื่นเพชฌฆาตนี้จึงมีลักษณะเฉพาะหลาย อย่างที่แตกต่างไปจากคลื่นชายฝั่งนอกเหนือไปจากขนาดอันมหึมาของคลื่น ความแตกต่างที่สาคัญประการแรกก็คือความยาวคลื่น คลื่นทั่วๆไปนั้นจะมีระยะห่างระหว่างคลื่นแต่ละ ลูกเพียงไม่กี่เมตร อาจเป็น 10 เมตรหรือไปจนถึง 100 เมตร หรือ 150 เมตร ซึ่งระยะระหว่างคลื่น 2 ลูก นี้เราเรียกว่า ความยาวคลื่น หรือ ช่วงคลื่น แต่สาหรับสึนามิแล้วระยะห่างระหว่างคลื่นแต่ละลูกจะห่าง กันถึงกว่า 100 กิโลเมตรเลยทีเดียว ระยะห่างระหว่างคลื่น 2 ลูก เรียกว่าความยาวคลื่นหรือช่วงคลื่น สึนามิจะมีความยาวคลื่นถึง 100 กิโลเมตรหรืออาจมากกว่านั้น นอกจากนี้สึนามิยังมีความเร็วอย่างที่คาดไม่ถึง หรือเรียกได้ว่าเร็วอย่างเหลือเชื่อ ความเร็วของสึนามิจะ แปรผันไปตามความลึกของมหาสมุทร หากมหาสมุทรยิ่งลึก ความเร็วของสึนามิก็ยิ่งสูงขึ้น ยกตัวอย่าง เช่นสึนามิที่เกิดในมหาสมุทรแปซิฟิกซึ่งมีความลึกประมาณ 4,000 เมตร (4 กิโลเมตร) จะมีความเร็ว ประมาณ 700 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ซึ่งความเร็วนี้พอๆกับเครื่องบินไอพ่นเลยทีเดียว วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 5. 5 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
  • 6. 6 _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________