SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชาง33201-33202ชื่อวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน สตรอว์เบอร์รี
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว ประภาศิริ บัวเขียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3เลขที่ 49
นางสาว เบญญานันท์ ตุ้ยแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3เลขที่ 49
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทองมูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2ปีการศึกษา2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย)สตรอว์เบอร์รี
ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ)STRAWBERRY
ประเภทโครงงานโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวประภาศิริ บัวเขียว
นางสาวเบญญานันท์ตุ้ยแก้ว
ชื่อที่ปรึกษาครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน(อธิบายถึงที่มาแนวคิด และเหตุผลของการทาโครงงาน)
สตรอว์เบอร์รีได้รับการยอมรับว่าเป็นผลไม้ที่ให้คุณค่าทางโภชนาการสูงเพราะมีสารต้านอนุมูล
อิสระที่ช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งและโรคหลอดเลือดอุดตันซึ่งผลจากการศึกษาพบว่าเมื่อเทียบน้าหนักที่
เท่ากับผลไม้ชนิดอื่นๆแล้วพลังในการต้านอนุมูลอิสระของสตรอว์เบอร์รีจะสูงกว่าส้มถึงหนึ่งเท่าครึ่งสูง กว่าองุ่นแดง 2เท่า
สูงกว่า กีวี 3เท่าเป็นต้นปัจจุบันประเทศไทยมีการปลูกสตรอว์เบอร์รีเพื่อการค้า หลายพันธุ์ซึ่งมูลนิธิโครงการหลวง
เป็นหน่วยงานหลักที่ให้ความสนับสนุนโดยจะเน้นส่งเสริมการปลูกสต
รอว์เบอร์รีพันธุ์ที่มีคุณภาพในการรับประกันสดสูงอันได้แก่ พันธุ์พระราชทาน 50(พระราชทานเมื่อปี พ.ศ. 2539
ซึ่งเป็นปีฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี)เป็นพันธุ์ที่เกิดจากการผสมในประเทศสหรัฐอเมริกา
แล้วนาเข้ามาคัดเลือกโดยการผสมตัวเองตั้งแต่ปี พ.ศ.2536 สามารถเจริญเติบโตและให้ผลผลิตดีใน สภาพอากาศเย็นปานกลาง
ทรงพุ่มปานกลางถึงค่อนข้างแน่น ผลผลิตมีคุณภาพดีโดยเฉพาะใกล้สุกเต็มที่ น้าหนัก/ผล 12-18 กรัม
รูปร่างเป็นลิ่มสีแดงถึงสีแดงเข้ม ค่อนข้างแข็งไม่ต้านทานต่อไรแต่ต้านทานรา แป้งได้ดี พันธุ์พระราชทาน 70 (ตรงกับปี
พ.ศ.2540 ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯทรงมีพระ ชนมพรรษาครบ 70พรรษา) เป็นสายพันธุ์จากประเทศญี่ปุ่น
ใบมีลักษณะกลมใหญ่ และสีเขียวเข้มไม่ทนต่อราแป้ง แต่ทนต่อโรคเหี่ยว ให้ผลผลิตค่อนข้างสูง น้าหนัก/ผล 11.5-13.0 กรัม
ผลมีลักษณะทรง กลมหรือทรงกรวย สีแดงสดใสแต่ไม่สม่าเสมอ เนื้อและผลค่อนข้างแข็งมีกลิ่นหอม มีความฉ่าและ
รสชาติหวาน พันธุ์พระราชทาน 72(ตรงกับปี พ.ศ.2542ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงมีพระชนมพรรษาครบ 72
พรรษา) เป็นสายพันธุ์นาเข้ามาจากประเทศญี่ปุ่นชื่อพันธุ์TOCHIOTOMEตั้งแต่ปี พ.ศ.2542 น้าหนัก/ผล 14กรัม
เนื้อผลแข็งกว่าพันธุ์พระราชทาน 70 แต่มีความหวานน้อยกว่า มีกลิ่น หอมเมื่อเริ่มสุกเนื้อภายในผลมีสีขาว
ผิวผลเมื่อสุกเต็มที่จะมีสีแดงถึงแดงจัด เงาเป็นมันที่ผิวผลทนต่อ การขนส่งมากกว่าพันธุ์อื่นเป็นสกุลไม้ดอกในวงศ์กุหลาบ
ผลสามารถรับประทานได้ ในอดีตปลูกเป็นพืช คลุมดินให้กับต้นไม้ปลูกเลี้ยงอื่น ซึ่งอาจเป็นที่มาของชื่อก็เป็นได้มีมากกว่า 20
สปีชีส์ และมีลูกผสม มากมาย แต่สตรอว์เบอร์รีที่นิยมปลูกมากในปัจจุบันก็คือสตรอว์เบอร์รีสวน (Fragaria × ananassa)ผล
ของสตรอว์เบอร์รีมีรสชาติหลากหลายขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ มีตั้งแต่รสหวานจนถึงเปรี้ยว สตรอว์เบอร์รีเป็น
ผลไม้ทางการค้าที่สาคัญ มีปลูกกันเป็นวงกว้างหลายสภาพอากาศทั่วโลกเป็นพืชล้มลุก แตกกิ่งก้านแผ่ปก คลุมดิน
ใบจะรวมกันอยู่ 3ใบใน 1ก้าน ขอบใบมีรอยหยักมีดอกสีขาว ผลมีก้านยาวเชื่อมกับต้น มี เสี้ยนเล็กๆบาง ๆ กระจายอยู่ทั่วผล
มีกลีบเลี้ยงบนขั้วของผลเมื่ออ่อนมีสีขาวเหลือง เมื่อสุกจะเป็นสีส้ม หรือแดง รสชาติอมเปรี้ยวถึงหวาน
ขึ้นอยู่กับผลที่สุกทางภาคเหนือของประเทศไทยได้มีการปลูก
สตอว์เบอร์รี่มานานหลายปีแล้วแต่ที่นับว่าเริ่มมีความสาคัญเป็นพืชเศรษฐกิจก็ตั้งแต่ พ.ศ. 2522 เป็นต้นมา
ชาวอังกฤษที่มาทางานเกี่ยวกับป่าไม้ในจังหวัดเชียงใหม่เป็นผู้นาต้นสตรอว์เบอร์รี่เข้ามาประมาณ พ.ศ. 2477
ซึ่งต่อมาสตรอว์เบอร์รี่พันธุ์นี่ถูกเรียกว่า พันธุ์พื้นเมืองเพราะไม่ทราบชื่อพันธุ์ที่แน่นอนผลของพันธุ์นี้จะมีลักษณะนิ่ม
มีขนาดเล็กสีผลออกเป็นสีปูนแห้ง และให้ผลผลิตต่อพื้นที่ต่างๆต่อมาหลังจาก
ที่ได้มีการแนะนาวิธีการปลูกสตรอว์เบอร์รี่แล้วก็มีการแพร่ขยายการปลูก ในฐานะเป็นผลไม้ชนิดใหม่ภายในส่วนของโรงเรียน
และสถานีทดลองเกษตรของส่วนราชการต่างๆ แต่อย่างไรก็ตามยังไม่ได้มี การ ปลูกเพื่อการค้าในพื้นที่ใหญ่ๆ
แต่ก็ไม่ได้รับความ สาหรับเท่าที่ควร
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อการศึกษาหาความรู้เกี่ยวสตรอว์เบอร์รี
2. เพื่อศึกษาหาประโยชน์จากสตรอว์เบอร์รี
3. เพื่อศึกษาสายพันธุ์ของสตรอว์เบอร์รีที่มีอยู่
ขอบเขตโครงงาน(คุณลักษณะ ขอบเขตเงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง สตรอว์เบอร์รี
หลักการและทฤษฎี(ความรู้หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
สตรอว์เบอร์รีเป็นพืชล้มลุก แตกกิ่งก้านแผ่ปกคลุมดิน ใบจะรวมกันอยู่ 3ใบใน1 ก้าน ขอบใบมีรอยหยักมีดอกสีขาว
ผลมีก้านยาวเชื่อมกับต้นรูปทรงคล้ายรูปหัวใจ มีเสี้ยนเล็กๆบางๆ กระจายอยู่ทั่วผล มีกลีบ เลี้ยงบนขั้วของผลเมื่ออ่อนมีสีขาว
เหลือง เมื่อสุกจะเป็นสีส้มหรือแดง รสชาติอมเปรี้ยวถึงหวาน ขึ้นอยู่กับผลที่สุก
สายพันธ์สตรอว์เบอร์รี่ในไทย :พันธุ์พระราชทานเบอร์ 16 (Tioga)
สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้อย่างกว้างขวาง ผลขนาด ปานกลางถึงใหญ่ มีจานวนผลต่อช่อมาก ผลแข็ง ผลผลิตสูง
สีแดง ค่อนข้างทนต่อสภาพอุณหภูมิสูง ทนทานต่อการขนส่ง ค่อนข้างอ่อนแอต่อโรคใบจุด เหมาะสาหรับการแปรรูป
พันธุ์พระราชทาน 20(Sequoia) สามารถเจริญได้ดีในสภาพอุณหภูมิต่า ให้ผลขนาดใหญ่ถึง50 กรัม มี
จานวนผลต่อช่อน้อย ผลนิ่ม สีแดงสด กลิ่นหอม รสหวาน ทนทานต่อโรคใบจุด และ สภาพที่มีความชื้น สัมพัทธ์สูง
ไม่ทนทานการขนส่ง
พันธุ์เนียวโฮ(Nyoho) ใช้รับประทานผลสด รสชาติหวานอมเปรี้ยว กลิ่นหอม เนื้อแข็งปานกลาง
พันธุ์เซลวา(Selva) ใช้รับประทานผลสด เนื้อแข็ง
พันธุ์พระราชทาน 50(B5) (พระราชทานเมื่อปี พ.ศ. 2539 ซึ่งเป็นปีฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี)
เป็นพันธุ์ที่เกิดจากการผสมในประเทศสหรัฐอเมริกา แล้วนาเข้ามาคัดเลือกโดยการผสมตัวเองตั้งแต่ปี พ.ศ.2536
สามารถเจริญเติบโตและให้ผลผลิตดีในสภาพอากาศเย็นปานกลาง ทรงพุ่มปานกลางถึง ค่อนข้างแน่น
ผลผลิตมีคุณภาพดีโดยเฉพาะใกล้สุกเต็มที่ น้าหนัก/ผล 12-18 กรัม รูปร่างเป็นลิ่มสีแดงถึง สีแดงเข้ม
ค่อนข้างแข็งไม่ต้านทานต่อไรแต่ต้านทานราแป้งได้ดี
พันธุ์พระราชทาน 70(Toyonoka)(ตรงกับปี พ.ศ.2540ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯทรงมีพระ ชนมพรรษาครบ
70พรรษา) เป็นสายพันธุ์จากประเทศญี่ปุ่นใบมีลักษณะกลมใหญ่และสีเขียวเข้มไม่ทนต่อราแป้ง แต่ทนต่อโรคเหี่ยว
ให้ผลผลิตค่อนข้างสูง น้าหนัก/ผล 11.5-13.0 กรัม ผลมีลักษณะทรง กลมหรือทรงกรวย สีแดงสดใสแต่ไม่สม่าเสมอ
เนื้อและผลค่อนข้างแข็งมีกลิ่นหอม มีความฉ่าและรส หวาน
พันธุ์พระราชทาน 72(ตรงกับปี พ.ศ.2542 ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯทรงมีพระชนมพรรษาครบ 72พรรษา)
เป็นสายพันธุ์นาเข้ามาจากประเทศญี่ปุ่นชื่อพันธุ์TOCHIOTOMEตั้งแต่ปี พ.ศ.2542 น้าหนัก/ผล 14กรัม เนื้อผลแข็งกว่า
พันธุ์พระราชทาน 70แต่มีความหวานน้อยกว่า มีกลิ่นหอมเมื่อเริ่มสุกเนื้อภายในผลมีสีขาว
ผิวผลเมื่อสุกเต็มที่จะมีสีแดงถึงแดงจัด เงาเป็นมันที่ผิวผลทนต่อการขนส่ง มากกว่าพันธุ์อื่น
พันธุ์พระราชทาน 80(ตรงกับปี พ.ศ.2550 ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯทรงมีพระชนมพรรษาครบ 80พรรษา)
เป็นพันธุ์รับประทานผลสด และเป็นพันธุ์ที่ต้องการอากาศหนาวเย็นมากกว่าพันธุ์อื่น ๆ คือ ต้องปลูกในพื้นที่สูงตั้งแต่ 800
เมตรขึ้นไปอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ16-20 องศาเซลเซียสไม่น้อยกว่า30 วัน
ซึ่งสถานีวิจัยเกษตรหลวงอ่างขางจะเป็นพื้นที่ปลูกได้ผลดี เพราะมีความสูงประมาณ 1,400 เมตร
เพื่อกระตุ้นการสร้างตาดอกอย่างต่อเนื่อง และให้ได้ผลผลิตในปริมาณมากและยาวนานขึ้น และยังเป็น
พันธุ์ที่ต้านทานต่อโรคแอนแทรคโนสและราแป้งได้ดี นอกจากนี้ยังมีลักษณะเด่นกว่าพันธุ์อื่น ๆ ตรงที่ผล สุกมีกลิ่นหอม
และมีรสชาติหวานกว่า เนื้อผลแน่นสีแดงสด รูปร่างของผลสวยงาม โดยทั่วไปเป็นรูปทรง กรวยถึงทรงกลมปลายแหลม
ผิวไม่ขรุขระ ราก ลาต้นโตเร็วสมบูรณ์ ความสูงของทรงพุ่ม 20-30 เซนติเมตรความกว้างทรงพุ่มเฉลี่ย 27เซนติเมตร
การปลูกสตรอว์เบอร์รี่ในไทย สาหรับการปลูกสตรอเบอร์รี่จะใช้วิธีปลูกต้นไหลสตรอเบอร์รี่ ซึ่งไหลสตรอเบอร์รี่ก็คือ
ส่วนของลาต้น เหนือดินที่ทอดนอนไปตามพื้นและแตกหน่อใหม่พร้อมกับรากเพื่อเจริญเติบโตเป็นต้นสตรอเบอร์รี่ใหม่ นั่นเอง
โดยการปลูกต้นไหลจะต้องนาไปปลูกไว้ที่สูงเพื่อให้เกิดการพัฒนาของตาดอกและเพื่อความ แข็งแรงก่อนปลูก
โดยจะปล่อยให้ได้รับอุณหภูมิเย็นในเวลากลางคืนบนที่สูงซึ่งจะทาให้ออกดอกได้เร็ว กว่าต้นไหลที่ผลิตบนพื้นราบ
การปลูกบนพื้นราบ หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตหมดแล้ว ตอนปลายเดือนมีนาคมถึงต้นเดือนเมษายนต้น ไหลทั้งหมด
ที่ออกมาจะถูกปลูกลงในถุงพลาสติกเล็กที่บรรจุดินแล้วขนาด 3 x5ซม. และปล่อยให้
เจริญเติบโตในแปลงจนกระทั่งเดือนมิถุนายนจึงขนขึ้นไปปลูกบนที่สูงประมาณ1,200-1,400 เมตรเพื่อ
ผลิตต้นไหลต่อไปซึ่งจะตรงกับช่วงฤดูฝน (มิถุนายน-ตุลาคม)
หลังจากที่ปล่อยให้ต้นไหลที่เจริญอยู่ในถุงพลาสติกและได้รับความหนาวเย็นบนที่สูงจนเพียงพอแล้วจะ
นาลงไปปลูกในแปลงที่พื้นราบไม่เกินต้นเดือนตุลาคม เพราะถ้าหากปลูกช้าเกินไปจะทาให้ผลผลิตออกช้า ตามไปด้วย
ต้นไหลที่ผลิตได้จากบนที่สูงนี้จะสามารถตั้งตัวและออกดอกได้เร็วกว่า (ประมาณเดือน ธันวาคม) ปกติเกษตรกรจะใช้ระยะปลูก
30x 40เซนติเมตรสาหรับการปลูกแบบสองแถว และระยะ ปลูก 25x30 เซนติเมตรสาหรับการปลูกแบบสี่แถว
ดังนี้จะใช้จานวนต้นไหลทั้งหมดประมาณ 8,000- 10,000 ต้นต่อไร่
การคลุมแปลงนั้นจะใช้ฟางข้าว ใบตองเหียงหรือใบตองตึง อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือร่วมกันก็ได้คลุม
ระหว่างแถวในแปลงยกร่อง (โดยจะทาการคลุมก่อนหรือ หลังจากปลูกได้ 1-2สัปดาห์แล้วแต่ พื้นที่)
ดอกแรกจะบานได้ในราวต้นเดือนพฤศจิกายน และสามารถเก็บเกี่ยวได้ตั้งแต่เดือนธันวาคม ถึง
เดือนมีนาคมในพื้นที่ปลูกของจังหวัดเชียงใหม่ส่วนจังหวัดเชียงรายซึ่งมีสภาพอากาศที่เย็นกว่าจะเก็บ
เกี่ยวต่อไปได้อีกจนถึงเดือนเมษายนเมื่อถึงปลายฤดูการเก็บเกี่ยวซึ่งเป็นช่วงที่อุณหภูมิสูงขึ้น ต้นไหลที่
เจริญออกมาก็จะถูกบังคับให้เจริญเติบโตในถุงพลาสติกขนาดเล็กใส่ดิน เหมือนที่กล่าวมาแล้วข้างต้น
และเตรียมไว้ใช้เป็นต้นแม่สาหรับการขนขึ้นไปขยายต้นไหลบนที่สูงต่อไปเป็นวงจรเหมือนกันทุกๆปี การปลูกบนที่สูง
เมื่ออากาศร้อนขึ้นในปลายช่วงของการเก็บเกี่ยวคือประมาณปลายเดือนพฤษภาคม
ต้นสตรอเบอร์รี่จะมีการสร้างไหลและต้นไหลออกมา ต้นไหลเหล่านี้จะถูกขุดขึ้นมาปลูกลงในถุงพลาสติก
เหมือนในพื้นที่ราบราวกลางเดือนสิงหาคม และปล่อยให้เจริญอยู่ในแปลงจนกระทั่งปลายเดือนกันยายน
เพื่อให้แน่ใจว่าต้นไหลเหล่านี้ได้รับความหนาวเย็นจนเพียงพอต่อการเกิดตาดอกสาหรับเป็นต้นที่ใช้ปลูก ในคราวต่อไป
ก่อนปลูกนั้นเกษตรกรบนที่สูงซึ่งส่วนมากเป็นชาวไทยภูเขาจะทาการยกแปลงปลูก และคลุมแปลงด้วย
ใบตองเหียงหรือใบตองตึง ต่อจากนั้นจึงเจาะรูโดยใช้กระป๋องนมที่ทาการเปิดปากออกแล้วกดลงไปบน วัสดุคลุมแปลงให้เป็นรู
ช่วงเวลาปลูกที่เหมาะสมเพื่อให้ได้รับผลผลิตสูงที่สุดคือ ก่อนปลายเดือนกันยายนเป็นอย่างช้าปกติจะปลูกเป็นแบบแถวเดี่ยว
หรือแถวคู่โดยใช้ระยะปลูก 25x 30เซนติเมตรบางพื้นที่
จะทาการปลูกเป็นแบบขั้นบันไดจึงทาให้แถวแคบกว่าการปลูกในพื้นราบ ฃ
ผลผลิตจะเริ่มเก็บเกี่ยวได้ระหว่างต้นเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนพฤษภาคม โดยในระหว่าง
กลางเดือนธันวาคมถึงกลางเดือนมกราคม ต้นสตรอเบอร์รี่อาจจะชะงักการเจริญเติบโตเล็กน้อยและไม่ให้
ผลผลิตเนื่องจากสภาพอากาศที่หนาวเย็นเกินไปในเวลากลางคืน (ต่ากว่า 10C) เป็นเวลาหลาย ๆ ชั่วโมง
การปลูกทั้งในพื้นที่ราบและบนที่สูงจะให้น้าโดยปล่อยให้ไหลผ่านไปตามร่องของแปลงปลูก (Furrow irrigation)
แหล่งน้าที่ได้อาจมาจากบ่อ สระ หรือคลองเล็ก ๆ ซึ่งไม่จัดว่าเป็นน้าที่สะอาดและ อาจมีเชื้อโรคต่าง ๆ สะสมอยู่ในน้านั้น
อย่างไรก็ดีมีบางพื้นที่มีการให้น้าแบบสปริงเกอร์ (Sprinkle system)
โดยใช้น้าบาดาลที่สูบขึ้นมาซึ่งนับว่าเป็นระบบที่ดีกว่าที่กล่าวข้างต้น เพราะทาให้ลดการแพร่
ระบาดของเชื้อโรคที่จะไหลไปยังแปลงอื่น ๆ โดยมีน้าเป็นตัวพา
ปกติเกษตรกรจะทาแปลงปลูกต้นสตรอเบอร์รี่ให้อยู่ในแนวเหนือ-ใต้ ทั้งนี้เพื่อให้ต้นได้รับแสงเต็มที่เป็น
การเพิ่มการเจริญเติบโต และสีของผลก็จะพัฒนาได้ดีขึ้นสภาพพื้นที่ปลูกสตรอเบอร์รี่โดยทั่วไปจะอยู่ใกล้
ตลาดหรือโรงงานแปรรูป หรือเป็นพื้นที่เดิมที่ใช้ต่อเนื่องกันมาทุก ๆ ปี โดยมีการปลูกพืชอื่นหมุนเวียน เป็นส่วนใหญ่
โดยทั่วไปก่อนทาการปลูกสตรอเบอร์รี่นั้น เกษตรกรไม่ได้ทาการอบดินในแปลงปลูกด้วย
สารเคมีเพื่อควบคุมโรคในดิน ไส้เดือนฝอยหรือวัชพืชแต่อย่างใด นอกจากนี้ยังขาดความรู้ความเข้าใจใน
การปฏิบัติเกี่ยวกับวิธีการปลูกสตรอเบอร์รี่ที่ถูกต้อง ตลอดจนถึงการดูแลรักษา และการควบคุมศัตรูพืช ด้วย
เนื่องมาจากการขยายตัวอย่างรวดเร็วของตลาดที่ใช้ผลผลิตสตรอเบอร์รี่ในเชิงอุตสาหกรรมทาให้มี
ความต้องการต้นไหลในปัจจุบันมากกว่า 25-30ล้านต้นต่อปี ราคาของต้นไหลที่จาหน่ายจะขึ้นกับปริมาณมากน้อยของแต่ละปี
รวมทั้งขนาดของต้นไหลเองอีกด้วย ซึ่งส่วนใหญ่จะจาหน่ายกันในราคา1-1.50 บาทต่อต้น
วิธีการดาเนินการ
แนวทางการดาเนินงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
งบประมาณ
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อ
มูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโคร
งงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายง
าน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
สถานที่ดาเนินการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
แหล่งอ้างอิง(เอกสารหรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
กิจกรรมที่5

More Related Content

Similar to กิจกรรมที่5

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Lilly Phattharasaya
 
แบบร่างโครงงาน (งานคู่)
แบบร่างโครงงาน (งานคู่)แบบร่างโครงงาน (งานคู่)
แบบร่างโครงงาน (งานคู่)sirinya55555
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม0636830815
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ส่งให้เพื่อนค่ะ
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์  ส่งให้เพื่อนค่ะ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์  ส่งให้เพื่อนค่ะ
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ส่งให้เพื่อนค่ะ Warittha Nokmeerod
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project tup tup
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sk'b Methasith
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sk'b Methasith
 
โรค Phobia
โรค Phobiaโรค Phobia
โรค PhobiaDduang07
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวKaembum Soraya
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์wasavaros
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังNichaphat Sanguthai
 
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวIs โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวKaembum Soraya
 
ภาษาทางกาย
ภาษาทางกายภาษาทางกาย
ภาษาทางกายChanin Monkai
 
โดรงร่างงานคอม
โดรงร่างงานคอมโดรงร่างงานคอม
โดรงร่างงานคอมfearlo kung
 

Similar to กิจกรรมที่5 (20)

โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบร่างโครงงาน (งานคู่)
แบบร่างโครงงาน (งานคู่)แบบร่างโครงงาน (งานคู่)
แบบร่างโครงงาน (งานคู่)
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ส่งให้เพื่อนค่ะ
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์  ส่งให้เพื่อนค่ะ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์  ส่งให้เพื่อนค่ะ
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ส่งให้เพื่อนค่ะ
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โรค Phobia
โรค Phobiaโรค Phobia
โรค Phobia
 
ประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัวประวัติส่วนตัว
ประวัติส่วนตัว
 
123
123123
123
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project 55
2560 project 552560 project 55
2560 project 55
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการัง
 
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัวIs โสรยา ประวัติส่วนตัว
Is โสรยา ประวัติส่วนตัว
 
2560 project -1.doc1
2560 project -1.doc12560 project -1.doc1
2560 project -1.doc1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
ภาษาทางกาย
ภาษาทางกายภาษาทางกาย
ภาษาทางกาย
 
โดรงร่างงานคอม
โดรงร่างงานคอมโดรงร่างงานคอม
โดรงร่างงานคอม
 

กิจกรรมที่5

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชาง33201-33202ชื่อวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน สตรอว์เบอร์รี ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว ประภาศิริ บัวเขียว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3เลขที่ 49 นางสาว เบญญานันท์ ตุ้ยแก้ว ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/3เลขที่ 49 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทองมูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2ปีการศึกษา2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย)สตรอว์เบอร์รี ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ)STRAWBERRY ประเภทโครงงานโครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวประภาศิริ บัวเขียว นางสาวเบญญานันท์ตุ้ยแก้ว ชื่อที่ปรึกษาครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน(อธิบายถึงที่มาแนวคิด และเหตุผลของการทาโครงงาน) สตรอว์เบอร์รีได้รับการยอมรับว่าเป็นผลไม้ที่ให้คุณค่าทางโภชนาการสูงเพราะมีสารต้านอนุมูล อิสระที่ช่วยป้องกันการเกิดมะเร็งและโรคหลอดเลือดอุดตันซึ่งผลจากการศึกษาพบว่าเมื่อเทียบน้าหนักที่ เท่ากับผลไม้ชนิดอื่นๆแล้วพลังในการต้านอนุมูลอิสระของสตรอว์เบอร์รีจะสูงกว่าส้มถึงหนึ่งเท่าครึ่งสูง กว่าองุ่นแดง 2เท่า สูงกว่า กีวี 3เท่าเป็นต้นปัจจุบันประเทศไทยมีการปลูกสตรอว์เบอร์รีเพื่อการค้า หลายพันธุ์ซึ่งมูลนิธิโครงการหลวง เป็นหน่วยงานหลักที่ให้ความสนับสนุนโดยจะเน้นส่งเสริมการปลูกสต รอว์เบอร์รีพันธุ์ที่มีคุณภาพในการรับประกันสดสูงอันได้แก่ พันธุ์พระราชทาน 50(พระราชทานเมื่อปี พ.ศ. 2539 ซึ่งเป็นปีฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี)เป็นพันธุ์ที่เกิดจากการผสมในประเทศสหรัฐอเมริกา แล้วนาเข้ามาคัดเลือกโดยการผสมตัวเองตั้งแต่ปี พ.ศ.2536 สามารถเจริญเติบโตและให้ผลผลิตดีใน สภาพอากาศเย็นปานกลาง ทรงพุ่มปานกลางถึงค่อนข้างแน่น ผลผลิตมีคุณภาพดีโดยเฉพาะใกล้สุกเต็มที่ น้าหนัก/ผล 12-18 กรัม รูปร่างเป็นลิ่มสีแดงถึงสีแดงเข้ม ค่อนข้างแข็งไม่ต้านทานต่อไรแต่ต้านทานรา แป้งได้ดี พันธุ์พระราชทาน 70 (ตรงกับปี พ.ศ.2540 ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯทรงมีพระ ชนมพรรษาครบ 70พรรษา) เป็นสายพันธุ์จากประเทศญี่ปุ่น ใบมีลักษณะกลมใหญ่ และสีเขียวเข้มไม่ทนต่อราแป้ง แต่ทนต่อโรคเหี่ยว ให้ผลผลิตค่อนข้างสูง น้าหนัก/ผล 11.5-13.0 กรัม ผลมีลักษณะทรง กลมหรือทรงกรวย สีแดงสดใสแต่ไม่สม่าเสมอ เนื้อและผลค่อนข้างแข็งมีกลิ่นหอม มีความฉ่าและ
  • 3. รสชาติหวาน พันธุ์พระราชทาน 72(ตรงกับปี พ.ศ.2542ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงมีพระชนมพรรษาครบ 72 พรรษา) เป็นสายพันธุ์นาเข้ามาจากประเทศญี่ปุ่นชื่อพันธุ์TOCHIOTOMEตั้งแต่ปี พ.ศ.2542 น้าหนัก/ผล 14กรัม เนื้อผลแข็งกว่าพันธุ์พระราชทาน 70 แต่มีความหวานน้อยกว่า มีกลิ่น หอมเมื่อเริ่มสุกเนื้อภายในผลมีสีขาว ผิวผลเมื่อสุกเต็มที่จะมีสีแดงถึงแดงจัด เงาเป็นมันที่ผิวผลทนต่อ การขนส่งมากกว่าพันธุ์อื่นเป็นสกุลไม้ดอกในวงศ์กุหลาบ ผลสามารถรับประทานได้ ในอดีตปลูกเป็นพืช คลุมดินให้กับต้นไม้ปลูกเลี้ยงอื่น ซึ่งอาจเป็นที่มาของชื่อก็เป็นได้มีมากกว่า 20 สปีชีส์ และมีลูกผสม มากมาย แต่สตรอว์เบอร์รีที่นิยมปลูกมากในปัจจุบันก็คือสตรอว์เบอร์รีสวน (Fragaria × ananassa)ผล ของสตรอว์เบอร์รีมีรสชาติหลากหลายขึ้นอยู่กับสายพันธุ์ มีตั้งแต่รสหวานจนถึงเปรี้ยว สตรอว์เบอร์รีเป็น ผลไม้ทางการค้าที่สาคัญ มีปลูกกันเป็นวงกว้างหลายสภาพอากาศทั่วโลกเป็นพืชล้มลุก แตกกิ่งก้านแผ่ปก คลุมดิน ใบจะรวมกันอยู่ 3ใบใน 1ก้าน ขอบใบมีรอยหยักมีดอกสีขาว ผลมีก้านยาวเชื่อมกับต้น มี เสี้ยนเล็กๆบาง ๆ กระจายอยู่ทั่วผล มีกลีบเลี้ยงบนขั้วของผลเมื่ออ่อนมีสีขาวเหลือง เมื่อสุกจะเป็นสีส้ม หรือแดง รสชาติอมเปรี้ยวถึงหวาน ขึ้นอยู่กับผลที่สุกทางภาคเหนือของประเทศไทยได้มีการปลูก สตอว์เบอร์รี่มานานหลายปีแล้วแต่ที่นับว่าเริ่มมีความสาคัญเป็นพืชเศรษฐกิจก็ตั้งแต่ พ.ศ. 2522 เป็นต้นมา ชาวอังกฤษที่มาทางานเกี่ยวกับป่าไม้ในจังหวัดเชียงใหม่เป็นผู้นาต้นสตรอว์เบอร์รี่เข้ามาประมาณ พ.ศ. 2477 ซึ่งต่อมาสตรอว์เบอร์รี่พันธุ์นี่ถูกเรียกว่า พันธุ์พื้นเมืองเพราะไม่ทราบชื่อพันธุ์ที่แน่นอนผลของพันธุ์นี้จะมีลักษณะนิ่ม มีขนาดเล็กสีผลออกเป็นสีปูนแห้ง และให้ผลผลิตต่อพื้นที่ต่างๆต่อมาหลังจาก ที่ได้มีการแนะนาวิธีการปลูกสตรอว์เบอร์รี่แล้วก็มีการแพร่ขยายการปลูก ในฐานะเป็นผลไม้ชนิดใหม่ภายในส่วนของโรงเรียน และสถานีทดลองเกษตรของส่วนราชการต่างๆ แต่อย่างไรก็ตามยังไม่ได้มี การ ปลูกเพื่อการค้าในพื้นที่ใหญ่ๆ แต่ก็ไม่ได้รับความ สาหรับเท่าที่ควร วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อการศึกษาหาความรู้เกี่ยวสตรอว์เบอร์รี 2. เพื่อศึกษาหาประโยชน์จากสตรอว์เบอร์รี 3. เพื่อศึกษาสายพันธุ์ของสตรอว์เบอร์รีที่มีอยู่ ขอบเขตโครงงาน(คุณลักษณะ ขอบเขตเงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) จัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง สตรอว์เบอร์รี หลักการและทฤษฎี(ความรู้หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
  • 4. สตรอว์เบอร์รีเป็นพืชล้มลุก แตกกิ่งก้านแผ่ปกคลุมดิน ใบจะรวมกันอยู่ 3ใบใน1 ก้าน ขอบใบมีรอยหยักมีดอกสีขาว ผลมีก้านยาวเชื่อมกับต้นรูปทรงคล้ายรูปหัวใจ มีเสี้ยนเล็กๆบางๆ กระจายอยู่ทั่วผล มีกลีบ เลี้ยงบนขั้วของผลเมื่ออ่อนมีสีขาว เหลือง เมื่อสุกจะเป็นสีส้มหรือแดง รสชาติอมเปรี้ยวถึงหวาน ขึ้นอยู่กับผลที่สุก สายพันธ์สตรอว์เบอร์รี่ในไทย :พันธุ์พระราชทานเบอร์ 16 (Tioga) สามารถปรับตัวเข้ากับสภาพแวดล้อมได้อย่างกว้างขวาง ผลขนาด ปานกลางถึงใหญ่ มีจานวนผลต่อช่อมาก ผลแข็ง ผลผลิตสูง สีแดง ค่อนข้างทนต่อสภาพอุณหภูมิสูง ทนทานต่อการขนส่ง ค่อนข้างอ่อนแอต่อโรคใบจุด เหมาะสาหรับการแปรรูป พันธุ์พระราชทาน 20(Sequoia) สามารถเจริญได้ดีในสภาพอุณหภูมิต่า ให้ผลขนาดใหญ่ถึง50 กรัม มี จานวนผลต่อช่อน้อย ผลนิ่ม สีแดงสด กลิ่นหอม รสหวาน ทนทานต่อโรคใบจุด และ สภาพที่มีความชื้น สัมพัทธ์สูง ไม่ทนทานการขนส่ง พันธุ์เนียวโฮ(Nyoho) ใช้รับประทานผลสด รสชาติหวานอมเปรี้ยว กลิ่นหอม เนื้อแข็งปานกลาง พันธุ์เซลวา(Selva) ใช้รับประทานผลสด เนื้อแข็ง พันธุ์พระราชทาน 50(B5) (พระราชทานเมื่อปี พ.ศ. 2539 ซึ่งเป็นปีฉลองสิริราชสมบัติครบ 50 ปี) เป็นพันธุ์ที่เกิดจากการผสมในประเทศสหรัฐอเมริกา แล้วนาเข้ามาคัดเลือกโดยการผสมตัวเองตั้งแต่ปี พ.ศ.2536 สามารถเจริญเติบโตและให้ผลผลิตดีในสภาพอากาศเย็นปานกลาง ทรงพุ่มปานกลางถึง ค่อนข้างแน่น ผลผลิตมีคุณภาพดีโดยเฉพาะใกล้สุกเต็มที่ น้าหนัก/ผล 12-18 กรัม รูปร่างเป็นลิ่มสีแดงถึง สีแดงเข้ม ค่อนข้างแข็งไม่ต้านทานต่อไรแต่ต้านทานราแป้งได้ดี พันธุ์พระราชทาน 70(Toyonoka)(ตรงกับปี พ.ศ.2540ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯทรงมีพระ ชนมพรรษาครบ 70พรรษา) เป็นสายพันธุ์จากประเทศญี่ปุ่นใบมีลักษณะกลมใหญ่และสีเขียวเข้มไม่ทนต่อราแป้ง แต่ทนต่อโรคเหี่ยว ให้ผลผลิตค่อนข้างสูง น้าหนัก/ผล 11.5-13.0 กรัม ผลมีลักษณะทรง กลมหรือทรงกรวย สีแดงสดใสแต่ไม่สม่าเสมอ เนื้อและผลค่อนข้างแข็งมีกลิ่นหอม มีความฉ่าและรส หวาน พันธุ์พระราชทาน 72(ตรงกับปี พ.ศ.2542 ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯทรงมีพระชนมพรรษาครบ 72พรรษา) เป็นสายพันธุ์นาเข้ามาจากประเทศญี่ปุ่นชื่อพันธุ์TOCHIOTOMEตั้งแต่ปี พ.ศ.2542 น้าหนัก/ผล 14กรัม เนื้อผลแข็งกว่า พันธุ์พระราชทาน 70แต่มีความหวานน้อยกว่า มีกลิ่นหอมเมื่อเริ่มสุกเนื้อภายในผลมีสีขาว ผิวผลเมื่อสุกเต็มที่จะมีสีแดงถึงแดงจัด เงาเป็นมันที่ผิวผลทนต่อการขนส่ง มากกว่าพันธุ์อื่น
  • 5. พันธุ์พระราชทาน 80(ตรงกับปี พ.ศ.2550 ที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯทรงมีพระชนมพรรษาครบ 80พรรษา) เป็นพันธุ์รับประทานผลสด และเป็นพันธุ์ที่ต้องการอากาศหนาวเย็นมากกว่าพันธุ์อื่น ๆ คือ ต้องปลูกในพื้นที่สูงตั้งแต่ 800 เมตรขึ้นไปอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ16-20 องศาเซลเซียสไม่น้อยกว่า30 วัน ซึ่งสถานีวิจัยเกษตรหลวงอ่างขางจะเป็นพื้นที่ปลูกได้ผลดี เพราะมีความสูงประมาณ 1,400 เมตร เพื่อกระตุ้นการสร้างตาดอกอย่างต่อเนื่อง และให้ได้ผลผลิตในปริมาณมากและยาวนานขึ้น และยังเป็น พันธุ์ที่ต้านทานต่อโรคแอนแทรคโนสและราแป้งได้ดี นอกจากนี้ยังมีลักษณะเด่นกว่าพันธุ์อื่น ๆ ตรงที่ผล สุกมีกลิ่นหอม และมีรสชาติหวานกว่า เนื้อผลแน่นสีแดงสด รูปร่างของผลสวยงาม โดยทั่วไปเป็นรูปทรง กรวยถึงทรงกลมปลายแหลม ผิวไม่ขรุขระ ราก ลาต้นโตเร็วสมบูรณ์ ความสูงของทรงพุ่ม 20-30 เซนติเมตรความกว้างทรงพุ่มเฉลี่ย 27เซนติเมตร การปลูกสตรอว์เบอร์รี่ในไทย สาหรับการปลูกสตรอเบอร์รี่จะใช้วิธีปลูกต้นไหลสตรอเบอร์รี่ ซึ่งไหลสตรอเบอร์รี่ก็คือ ส่วนของลาต้น เหนือดินที่ทอดนอนไปตามพื้นและแตกหน่อใหม่พร้อมกับรากเพื่อเจริญเติบโตเป็นต้นสตรอเบอร์รี่ใหม่ นั่นเอง โดยการปลูกต้นไหลจะต้องนาไปปลูกไว้ที่สูงเพื่อให้เกิดการพัฒนาของตาดอกและเพื่อความ แข็งแรงก่อนปลูก โดยจะปล่อยให้ได้รับอุณหภูมิเย็นในเวลากลางคืนบนที่สูงซึ่งจะทาให้ออกดอกได้เร็ว กว่าต้นไหลที่ผลิตบนพื้นราบ การปลูกบนพื้นราบ หลังจากเก็บเกี่ยวผลผลิตหมดแล้ว ตอนปลายเดือนมีนาคมถึงต้นเดือนเมษายนต้น ไหลทั้งหมด ที่ออกมาจะถูกปลูกลงในถุงพลาสติกเล็กที่บรรจุดินแล้วขนาด 3 x5ซม. และปล่อยให้ เจริญเติบโตในแปลงจนกระทั่งเดือนมิถุนายนจึงขนขึ้นไปปลูกบนที่สูงประมาณ1,200-1,400 เมตรเพื่อ ผลิตต้นไหลต่อไปซึ่งจะตรงกับช่วงฤดูฝน (มิถุนายน-ตุลาคม) หลังจากที่ปล่อยให้ต้นไหลที่เจริญอยู่ในถุงพลาสติกและได้รับความหนาวเย็นบนที่สูงจนเพียงพอแล้วจะ นาลงไปปลูกในแปลงที่พื้นราบไม่เกินต้นเดือนตุลาคม เพราะถ้าหากปลูกช้าเกินไปจะทาให้ผลผลิตออกช้า ตามไปด้วย ต้นไหลที่ผลิตได้จากบนที่สูงนี้จะสามารถตั้งตัวและออกดอกได้เร็วกว่า (ประมาณเดือน ธันวาคม) ปกติเกษตรกรจะใช้ระยะปลูก 30x 40เซนติเมตรสาหรับการปลูกแบบสองแถว และระยะ ปลูก 25x30 เซนติเมตรสาหรับการปลูกแบบสี่แถว ดังนี้จะใช้จานวนต้นไหลทั้งหมดประมาณ 8,000- 10,000 ต้นต่อไร่ การคลุมแปลงนั้นจะใช้ฟางข้าว ใบตองเหียงหรือใบตองตึง อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือร่วมกันก็ได้คลุม ระหว่างแถวในแปลงยกร่อง (โดยจะทาการคลุมก่อนหรือ หลังจากปลูกได้ 1-2สัปดาห์แล้วแต่ พื้นที่) ดอกแรกจะบานได้ในราวต้นเดือนพฤศจิกายน และสามารถเก็บเกี่ยวได้ตั้งแต่เดือนธันวาคม ถึง เดือนมีนาคมในพื้นที่ปลูกของจังหวัดเชียงใหม่ส่วนจังหวัดเชียงรายซึ่งมีสภาพอากาศที่เย็นกว่าจะเก็บ เกี่ยวต่อไปได้อีกจนถึงเดือนเมษายนเมื่อถึงปลายฤดูการเก็บเกี่ยวซึ่งเป็นช่วงที่อุณหภูมิสูงขึ้น ต้นไหลที่ เจริญออกมาก็จะถูกบังคับให้เจริญเติบโตในถุงพลาสติกขนาดเล็กใส่ดิน เหมือนที่กล่าวมาแล้วข้างต้น และเตรียมไว้ใช้เป็นต้นแม่สาหรับการขนขึ้นไปขยายต้นไหลบนที่สูงต่อไปเป็นวงจรเหมือนกันทุกๆปี การปลูกบนที่สูง
  • 6. เมื่ออากาศร้อนขึ้นในปลายช่วงของการเก็บเกี่ยวคือประมาณปลายเดือนพฤษภาคม ต้นสตรอเบอร์รี่จะมีการสร้างไหลและต้นไหลออกมา ต้นไหลเหล่านี้จะถูกขุดขึ้นมาปลูกลงในถุงพลาสติก เหมือนในพื้นที่ราบราวกลางเดือนสิงหาคม และปล่อยให้เจริญอยู่ในแปลงจนกระทั่งปลายเดือนกันยายน เพื่อให้แน่ใจว่าต้นไหลเหล่านี้ได้รับความหนาวเย็นจนเพียงพอต่อการเกิดตาดอกสาหรับเป็นต้นที่ใช้ปลูก ในคราวต่อไป ก่อนปลูกนั้นเกษตรกรบนที่สูงซึ่งส่วนมากเป็นชาวไทยภูเขาจะทาการยกแปลงปลูก และคลุมแปลงด้วย ใบตองเหียงหรือใบตองตึง ต่อจากนั้นจึงเจาะรูโดยใช้กระป๋องนมที่ทาการเปิดปากออกแล้วกดลงไปบน วัสดุคลุมแปลงให้เป็นรู ช่วงเวลาปลูกที่เหมาะสมเพื่อให้ได้รับผลผลิตสูงที่สุดคือ ก่อนปลายเดือนกันยายนเป็นอย่างช้าปกติจะปลูกเป็นแบบแถวเดี่ยว หรือแถวคู่โดยใช้ระยะปลูก 25x 30เซนติเมตรบางพื้นที่ จะทาการปลูกเป็นแบบขั้นบันไดจึงทาให้แถวแคบกว่าการปลูกในพื้นราบ ฃ ผลผลิตจะเริ่มเก็บเกี่ยวได้ระหว่างต้นเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนพฤษภาคม โดยในระหว่าง กลางเดือนธันวาคมถึงกลางเดือนมกราคม ต้นสตรอเบอร์รี่อาจจะชะงักการเจริญเติบโตเล็กน้อยและไม่ให้ ผลผลิตเนื่องจากสภาพอากาศที่หนาวเย็นเกินไปในเวลากลางคืน (ต่ากว่า 10C) เป็นเวลาหลาย ๆ ชั่วโมง การปลูกทั้งในพื้นที่ราบและบนที่สูงจะให้น้าโดยปล่อยให้ไหลผ่านไปตามร่องของแปลงปลูก (Furrow irrigation) แหล่งน้าที่ได้อาจมาจากบ่อ สระ หรือคลองเล็ก ๆ ซึ่งไม่จัดว่าเป็นน้าที่สะอาดและ อาจมีเชื้อโรคต่าง ๆ สะสมอยู่ในน้านั้น อย่างไรก็ดีมีบางพื้นที่มีการให้น้าแบบสปริงเกอร์ (Sprinkle system) โดยใช้น้าบาดาลที่สูบขึ้นมาซึ่งนับว่าเป็นระบบที่ดีกว่าที่กล่าวข้างต้น เพราะทาให้ลดการแพร่ ระบาดของเชื้อโรคที่จะไหลไปยังแปลงอื่น ๆ โดยมีน้าเป็นตัวพา ปกติเกษตรกรจะทาแปลงปลูกต้นสตรอเบอร์รี่ให้อยู่ในแนวเหนือ-ใต้ ทั้งนี้เพื่อให้ต้นได้รับแสงเต็มที่เป็น การเพิ่มการเจริญเติบโต และสีของผลก็จะพัฒนาได้ดีขึ้นสภาพพื้นที่ปลูกสตรอเบอร์รี่โดยทั่วไปจะอยู่ใกล้ ตลาดหรือโรงงานแปรรูป หรือเป็นพื้นที่เดิมที่ใช้ต่อเนื่องกันมาทุก ๆ ปี โดยมีการปลูกพืชอื่นหมุนเวียน เป็นส่วนใหญ่ โดยทั่วไปก่อนทาการปลูกสตรอเบอร์รี่นั้น เกษตรกรไม่ได้ทาการอบดินในแปลงปลูกด้วย สารเคมีเพื่อควบคุมโรคในดิน ไส้เดือนฝอยหรือวัชพืชแต่อย่างใด นอกจากนี้ยังขาดความรู้ความเข้าใจใน การปฏิบัติเกี่ยวกับวิธีการปลูกสตรอเบอร์รี่ที่ถูกต้อง ตลอดจนถึงการดูแลรักษา และการควบคุมศัตรูพืช ด้วย เนื่องมาจากการขยายตัวอย่างรวดเร็วของตลาดที่ใช้ผลผลิตสตรอเบอร์รี่ในเชิงอุตสาหกรรมทาให้มี ความต้องการต้นไหลในปัจจุบันมากกว่า 25-30ล้านต้นต่อปี ราคาของต้นไหลที่จาหน่ายจะขึ้นกับปริมาณมากน้อยของแต่ละปี รวมทั้งขนาดของต้นไหลเองอีกด้วย ซึ่งส่วนใหญ่จะจาหน่ายกันในราคา1-1.50 บาทต่อต้น วิธีการดาเนินการ
  • 7. แนวทางการดาเนินงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ งบประมาณ ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อ มูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโคร งงาน
  • 8. 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายง าน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ(ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) สถานที่ดาเนินการ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง แหล่งอ้างอิง(เอกสารหรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)