SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2559
ชื่อโครงงาน วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นาย วิชยะ ตันหล้า เลขที่ 33 ชั้น ม.6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นาย วิชยะ ตันหล้า เลขที่ 33
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
- วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
- Evolution of life
ประเภทโครงงาน โครงงานวิทยาศาสตร์
ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วิชยะ ตันหล้า เลขที่ 33
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน 2 เดือน
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
การศึกษาวิวัฒนาการเป็นเสมือนโครงสร้างหลักของกระบวนการคิดและการศึกษาด้าน
วิทยาศาสตร์ชีวภาพทั้งมวล ทาให้เข้าใจธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบนโลกนานาชนิดเทียบเท่ากับทฤษฏี
สัมพัทธภาพของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ที่เป็นแกนหลักของศาสตร์ด้านกายภาพเลยทีเดียว นอกจากนี้
การศึกษาวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ในสมัยก่อนจะใช้เพียงการศึกษาจากหลักฐานซากดึกดาบรรพ์แต่
เมื่อมีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากขึ้นจึงมีการใช้หลักฐานสมัยใหม่ เช่น
หลักฐานทางชีววิทยาระดับโมเลกุลหรือข้อมูลสนับสนุนอื่นๆที่สามารถนามาใช้อธิบายวิวัฒนาการ
ของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆได้
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. บอกหลักฐานที่ใช้ในการสนับสนุนการเกิดวิวัฒนาการได้
1.1 ลาดับพัฒนาการของแนวความคิดที่เกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตได้
1.2อธิบายความสาคัญของการศึกษาวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
2. เปรียบเทียบวิวัฒนาการตามแนวความคิดของลามาร์ค กับ ทฤษฎีของชาร์ล ดาร์วินได
3. อธิบายกลไกที่ท าให้เกิดวิวัฒนาการได้
4. อธิบายสาเหตุที่ท าให้เกิดสปีชีส์ใหม่ของสิ่งมีชีวิตได้
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ผู้ที่มีความสนใจในการศึกษาเรื่อง วิวัฒนาการ
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ทฤษฎีวิวัฒนาการ คือแนวคิดของนักวิทยาศาสตร์ที่พยายามจะอธิบายว่าวิวัฒนาการมีจริงและเกิดขึ้น ได้
อย่างไรโดยอาศัยหลักฐานทางด้านต่างๆประกอบและยืนยันแนวโน้มของวิวัฒนาการมีดังนี้
1. เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ไปข้างหน้าไม่ย้อนกลับ มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงจากแบบ ง่าย ๆ เป็นซับซ้อนจากแบบ
โบราณเป็นแบบก้าวหน้าและจากแบบทั่วไปเป็นแบบจาเพาะเจาะจงเช่น การลดจานวนของกระดูก ก้นกบหรือการ
เชื่อมของ กลีบดอกเป็นต้น
2. ลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมจะถูกกาจัด หรือสูญหายไป
1. ทฤษฏีของลามาร์ค (Jean Lamarck)
นักวิวัฒนาการชาวฝรั่งเศสได้เสนอความคิดในเรื่อง วิวัฒนาการ ของสิ่งมีชีวิตไว้เป็น 2 ข้อ คือ
1. กฎแห่งการใช้และไม่ใช้(law of use and disuse) มีใจความสาคัญว่า “ลักษณะของสิ่งมีชีวิตผันแปรได้ตาม
สภาพแวดล้อมอวัยวะใดที่ใช้อยู่บ่อยๆย่อมขยายใหญ่ขึ้น ส่วนอวัยวะใดที่ไม่ได้ใช้จะค่อยๆลดขนาด อ่อนแอลงและ
หายไปในที่สุด”
2. กฎแห่งการถ่ายทอดลักษณะที่เกิดขึ้นใหม่ (law of inheritance of acquired characteristics) มีใจความว่า “ลักษณะ
ที่ได้มาใหม่หรือเสียไปโดยอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม โดยการใช้และไม่ใช้จะคงอยู่และสามารถถ่ายทอดลักษณะที่
เกิดใหม่นี้ไปสู่รุ่นลูกรุ่นหลาน ต่อไปได้” ตัวอย่างของสิ่งมีชีวิตที่ลามาร์คยกมาอ้างอิงได้แก่
- พวกนกน้า โดยกล่าวว่านกที่หากินบนบกจะไม่มีแผ่นพังผืดหนังต่อระหว่างนิ้วเท้า ส่วนนกที่หากินในน้า
มีความต้องการใช้เท้าโบกพัดน้าสาหรับการเคลื่อนที่ผิวหนังระหว่างนิ้วเท้า จึงขยายออกต่อกันเป็นแผ่นและ
ลักษณะนี้ถ่ายทอดไปสู่ รุ่นลูกหลานได้
- ยีราฟ ซึ่งในปัจจุบันมีคอยาว ลามาร์คได้อธิบายว่า ยีราฟในอดีตคอสั้นกว่าปัจจุบัน (จากหลักฐาน ของ
ซากดึกดาบรรพ์)แต่ได้มีการฝึกฝนยืดคอเพื่อพยายามกินใบไม้จากที่สูงๆ ทาให้คอยาวขึ้น การที่ต้อง เขย่งเท้ายืดคอ
ทาให้ยีราฟมีขายาวขึ้นด้วยลักษณะ ที่มีคอยาวขึ้นและขายาวขึ้นนี้ถ่ายทอด มาสู่ยีราฟรุ่นต่อมา
- สัตว์พวกงู ซึ่งไม่มีขาปรากฏให้เห็น แต่จากโครงกระดูกยังมีซากขาเหลือติดอยู่ ซึ่งลามาร์ค อธิบายว่างู
อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เป็นพงหญ้ารกทึบการเลื้อยไปทาให้ลาตัวยาว ส่วนขาไม่ได้ใช้จึงค่อยๆ ลดขนาดเล็กลง
และหายไป ลักษณะนี้ถ่ายทอดไปได้งูรุ่นต่อๆ มาจึงไม่มีขา
การทดลองเพื่อสนับสนุนความคิดของลามาร์คในเรื่องของกฎแห่งการใช้และไม่ใช้นั้นพอจะมีตัวอย่าง
สนับสนุนได้เช่นการฝึกฝนกล้ามเนื้อจะทาให้กล้ามเนื้อมีขนาดใหญ่โตขึ้นมาได้เช่นนักกล้ามนักเพาะกายนักกีฬา
ประเภทต่างๆแต่สาหรับกฎแห่งการถ่ายทอดลักษณะ ที่เกิดขึ้นใหม่ยังไม่มีการทดลองใดสนับสนุน
ออกัส ไวส์มาน (August Weisman ; 2377 – 2457) ได้เสนอความคิดค้านทฤษฎีของลามาร์คโดยกล่าวว่า
ลักษณะที่ถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้นั้นจะต้องเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ มิใช่จากเซลล์ร่างกาย เขาได้ทดลองตัดหาง
หนู ตัวผู้ตัวเมียแล้วให้ผสมพันธุ์กันปรากฎว่าลูกหลานออกมามีหาง การทดลองนี้ทาติดต่อกันถึง 20 รุ่น หนูในรุ่น
ที่ 21ก็ยังคงมีหางอยู่ไวส์มานอธิบายว่า เนื่องจาก ลักษณะที่ตัดหางหนูออกนั้นเป็นการกระทาต่อเซลล์ร่างกายแต่
เซลล์สืบพันธุ์ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ลักษณะ หางยาวซึ่งจะถูกถ่ายทอดโดยเซลล์สืบพันธุ์ยังคงอยู่
2. ทฤษฎีของ ชาร์ลส์ ดาร์วิน ( Charles Darwin)
ชาร์ลส์ ดาร์วิน เป็นนักธรรมชาติวิทยาได้เดินทาง ไปกับเรือสารวจ บีเกิล ของรัฐบาลอังกฤษ ซึ่งเดินทางไป
สารวจและทาแผนที่ของฝั่งของทะเลทวีปอเมริกาใต้ดาร์วินได้ประสบการณ์ จากการศึกษาพืชและสัตว์ที่มีอยู่
เฉพาะที่หมู่เกาะกาลาปากอส (Galapagos) แห่งเดียวในโลกดาร์วินได้สังเกตนกกระจอกที่อยู่บริเวณหมู่เกาะกาลา
ปากอสและนกฟินช์(finch)หลายชนิดพบว่าแต่ละชนิดมีขนาดและรูปร่างของจงอยปากแตกต่างกัน ตามความ
เหมาะสมแก่การที่จะใช้กินอาหารแต่ละประเภท นกฟินช์มีลักษณะคล้ายนกกระจอกมากแตกต่างกัน เฉพาะ
ลักษณะของจงอยปากเท่านั้น ดาร์วินเชื่อว่าบรรพบุรุษของนกฟินช์บนเกาะกาลาปากอสน่าจะ สืบเชื้อสายมาจากนก
ฟินช์บนแผ่นดินใหญ่แต่เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา ทาให้ หมู่เกาะนี้แยกจากแผ่นดินใหญ่และเกิดการ
แปรผันทางพันธุกรรม ของบรรพบุรุษนกฟินช์ มาเป็นเวลานานจนเกิดวิวัฒนาการเป็นสปีชีส์ใหม่ขึ้น
3. ทฤษฏีของดาร์วิน และ วอลเลช (Alfred Russel Wallace)
ได้เสนอทฤษฎีการเกิดสปีชีส์ใหม่อันเนื่อง มาจาก การคัดเลือกโดยธรรมชาติ ทฤษฎีการคัดเลือกโดย
ธรรมชาติ(theory of natural selection) มีสาระสาคัญ ดังนี้
1. สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันย่อมแตกต่างกันบ้างเล็กน้อย เรียกว่า variation
2. สิ่งมีชีวิตมีลูกหลานจานวนมากตามลาดับเรขาคณิต แต่สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดก็มี จานวนเกือบคงที่ เพราะมีจานวน
หนึ่งตายไป
3.สิ่งมีชีวิตจาเป็นต้องมีการต่อสู้เพื่อความอยู่รอด (struggle of existence)โดยลักษณะ ที่แปรผันบางลักษณะ ที่
เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อม ย่อมดารงชีวิตอยู่ได้และสืบพันธุ์ถ่ายทอด ไปยังลูกหลาน
4.สิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมที่สุดเท่านั้นที่อยู่รอด(survival the fittest ) และดารง เผ่าพันธุ์ของตนไว้และทาให้เกิด การ
คัดเลือกตามธรรมชาติเกิดความแตกต่าง ไปจากสปีชีส์เดิมมากขึ้นจนเกิดสปีชีส์ใหม่ สิ่งมีชีวิตที่จะอยู่รอด ไม่
จาเป็นต้องเป็น สิ่งมีชีวิต ที่แข็งแรงที่สุด แต่เป็นสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมมากที่สุด ในกรณียีราฟคอ
ยาวนั้น อธิบายตามทฤษฎีของดาร์วินได้ว่า ยีราฟมี บรรพบุรุษ ที่คอสั้นแต่เกิดมี variation ที่มีคอยาวขึ้น ซึ่งสามารถ
หาอาหาร พวกใบไม้ได้ดี กว่าตัวพวกคอสั้นและถ่ายทอดลักษณะ คอยาวไปให้ลูกหลาน ได้ส่วนพวกคอสั้นหา
อาหารได้ไม่ดีหรือแย่งอาหาร สู้พวกคอยาวไม่ได้ในที่สุดก็จะตายไป จึงทาให้ ในปัจจุบันมีแต่ยีราฟคอยาวเท่านั้น
ดาร์วินได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งวิชาวิวัฒนาการ ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติของดาร์วินดังนี้คือ “ความ
แปรผันที่เหมาะสมกับสิ่งมีชีวิตใด ๆ ก็ตามย่อมมีส่วนช่วยให้สิ่งมีชีวิตสามารถดารงชีวิตได้ในสิ่งแวดล้อมนั้นๆ
ส่วนความแปรผันที่ไม่เหมาะสม ทาให้สิ่งมีชีวิตถูกกาจัดไปด้วย เหตุนี้เมื่อเวลา ล่วงเลยไปนานขึ้นลักษณะที่
เหมาะสมก็จะสะสมไปนานขึ้น ลักษณะที่เหมาะสม ก็จะสะสมไปนานขึ้น เกิดสิ่งมีชีวิตแตกต่าง จากเดิม
มากมาย จนในที่สุดก็เกิดสิ่งมีชีวิตสปีชีส์ใหม่”
กลไกของวิวัฒนาการ
กลไกของวิวัฒนาการที่สาคัญ คือ
1. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ
2. การผ่าเหล่าและความแปรผันทางพันธุกรรม
3. การอพยพเข้าและการอพยพออก
4. ขนาดของประชากร
การเกิดสปีชีส์ใหม่
สปีชีส์ หมายถึง กลุ่มหรือประชากรของสิ่งมีชีวิตที่มีกลุ่มยีน (gene pool) ร่วมกัน โดยที่ สมาชิกของ
ประชากรนั้น สามารถถ่ายทอดยีนหรือทาให้เกิดยีนโฟล์วระหว่างกันและกันได้(หมายถึง ผสมพันธุ์กันได้และมีลูก
ไม่เป็นหมัน)
กลไกแบ่งแยกทางการสืบพันธุ์ แยกได้2 ระดับ คือ
1. กลไกการแบ่งแยกก่อนระยะไซโกต เป็นกลไกที่ป้องกันไม่ให้เซลล์สืบพันธุ์จากทั้ง 2 สปีชีส์ได้มาสัมผัสกัน
เนื่องจาก
- เวลาในการผสมพันธุ์แตกต่างกัน
- สภาพนิเวศวิทยาที่ต่างกัน เช่น กบที่อาศัยในสระน้ากับพวกที่อาศัยในหนองบึงใหญ่
- พฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีที่ต่างกัน เช่น มีสัญญาณหรือฟีโรโมนที่ต่างกัน
- โครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์แตกต่างกัน
- สรีรวิทยาของเซลล์สืบพันธุ์ที่แตกต่างกัน เช่น ละอองเรณู ของมะม่วงไปตกบนยอดเกสรตัวเมียของมะกรูด จะไม่
สามารถผสมกันได้
2. กลไกการแบ่งแยกระยะหลังไซโกต
- ลูกผสมตาย (hybrid inviability) ก่อนที่จะถึงวัยเจริญพันธุ์
- ลูกผสมเป็นหมัน(hybrid sterillty)ส่วนมากมักเกิดกับเพศผู้
- ลูกผสมล้มเหลว (hybrid breakdouwn) ลูกผสม F1 มีความอ่อนแอ ให้กาเนิดลูกผสม รุ่น F2 ได้แต่มักตาย ใน
ระยะแรกของการเจริญ หรือเป็นหมัน
โพลีพลอยด์ (Polyploidy) หมายถึงการเพิ่มจานวนชุดของโครโมโซมจาก 2n 3n 4n ฯลฯ ทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตใหม่ ๆ
(Species ใหม่ ๆ ) เป็นผลดีในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเช่น ได้ผลไม้ที่มีผลใหญ่
การเปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการในประชากรของสิ่งมีชีวิตมี 2 รูปแบบ คือ
1. ประชากรมีการเปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการแบบค่อยเป็นค่อยไปจนแตกต่างจากประชากรเดิม คือ สิ่งมีชีวิต สปีชีส์
หนึ่ง เปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการไปเป็นสปีชีส์ใหม่เรียกว่าวิวัฒนาการสายตรง หรืออะนาเจเนซิส (anagenesis)
2. ประชากรหนึ่งอาจเติบโตและแตกแยกออกเป็นประชากร ย่อยๆ ตามโครงสร้างทางพันธุกรรม ที่แตกต่างกัน
จนกระทั่งแยกออกเป็นยีนพูลที่ต่างกันกลายเป็นสปีชีส์ที่ต่างกัน เรียกว่า การแยกแขนงสปีชีส์หรือสปีชีส์เอชัน
(speciation) หรือคลาโดเจเนซิส (Cladogenesis)
วิวัฒนาการของมนุษย์
Kingdon = Animalia Phylum = Chordata Class = Mammalia
Order = Primate Family = Hominidae Genus = Homo
Species = H.sapiens
สรุปเปรียบเทียบระดับ ขนาดสมองและเครื่องมือเครื่องใช้ของมนุษย์ชนิดต่าง ๆ
Australopithecus
ระดับ : ลิงวานรที่คล้ายลิงและคล้ายมนุษย์(prehuman)
ขนาดของสมอง : 450-700 ลบ.ซม.
เครื่องมือที่ใช้: เป็นวัสดุต่าง ๆ ในธรรมชาติ
Homo habilis
ระดับ : บรรพบุรุษมนุษย์(ancestral man)
ขนาดของสมอง : 680-800 ลบ.ซม.
เครื่องมือที่ใช้: ประดิษฐ์เครื่องมือหินกระเทาะ เป็นที่เชื่อว่าบรรพบุรุษมนุษย์อาจใช้ไม้กระดูก หรือเขาสัตว์เป็น
เครื่องมือนอกจากหินกระเทาะด้วย
Homo erectus
ระดับ : มนุษย์แรกเริ่ม (early man)
ขนาดของสมอง : 750-1,200 ลบ.ซม.
เครื่องมือที่ใช้: ใช้ขวานหินไม่มีด้ามในยุคหินเก่าอยู่ในถ้าและรู้จักใช้ไฟ
H.s.neanderthalensis
ระดับ : มนุษย์นีแอนเดอร์ทัล (Neanderthal man)
ขนาดของสมอง : 1,450 ลบ.ซม.
เครื่องมือที่ใช้: ใช้หินเหล็กไฟ ทาขวานหิน และมีด้าม ในยุคกลางหินเก่า
H.s.sapiens
ระดับ : มนุษย์ปัจจุบันโครมันยอง (Cro-Magnon man)
ขนาดของสมอง : 1,350-1,500 ลบ.ซม.
เครื่องมือที่ใช้: รู้จักใช้เครื่องมือ ทาด้วยกระดูก ในยุคปลายหินเก่า และประดิษฐ์เครื่องมือต่าง ๆ ขึ้นในยุคหินกลาง
และยุคหินใหม่ เช่น มีด ขวาน ค้อน จอบ ฯลฯ
วิวัฒนาการมนุษย์มีวิวัฒนาการเริ่มต้นจากซากดึกดาบรรพ์ที่อยู่ในสปีชีส์ออสตาโลพิเทคัส อาฟฟาเรนซีส
(Australopithecus afarensis) มีวิวัฒนาการต่อไปเป็นสายจีนีสโฮโม(Homo) ซึ่งมีวิวัฒนาการต่อไปเป็นมนุษย์
วิวัฒนาการของมนุษย์Australopithecus afarensis คือ
1. A.afarensis เป็นสปีชีส์ที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของจีนัสออสตราโลพิเทคัส
- ฟัน ขนาดใหญ่กว่ามนุษย์ปัจจุบัน กินผลไม้เป็นอาหารสามารถกัดกินเมล็ดพืชที่มีเปลือกแข็งได้
- ขนาดสมอง ใกล้เคียงกับลิงอุรังอุรัง
- โครงกระดูกที่ค่อนข้างสมบูรณ์
- รูปร่างของ A afarensis มีรูปร่างกึ่งกลางระหว่างมนุษย์กับลิงซิมแพนซี
2. Homo habilis มีวิวัฒนาการต่อจาก A.afarensis และวิวัฒนาการต่อไปเป็น H.erecutus
3. Homo erectus ซากดึกดาบรรพ์ที่พบที่เกาะชวา เรียกว่ามนุษย์ชวา พบที่ประเทศจีนเรียกว่ามนุษย์ปักกิ่งมีรูปร่าง
ใหญ่ กระดูกใหญ่แข็งแรงกว่ามนุษย์ปัจจุบัน สมองใหญ่ขึ้นประมาณ800-1,000 รู้จักใช้เครื่องมือหิน รู้จักใช้ไฟใน
การทาอาหาร มีการสร้างที่พักมีสังคมแบบล่าสัตว์
4. Homo sapiens มีวิวัฒนาการแบ่งออกเป็น 2 ช่วง คือ มนุษย์ยุคแรก (Archaic Humans) และมนุษย์ยุคใหม่
(Modern Human)ขนาดสมอง 1,300 cm3 รูปร่างเตี้ยสั้นกว่ามนุษย์ปัจจุบัน น้าหนักมากและแข็งแรงกว่าอยู่ได้ใน
สภาพอากาศหนาวเย็นการเปลี่ยนแปลงจากมนุษย์ยุคแรกเป็นมนุษย์ยุคใหม่มนุษย์ยุคใหม่ร่างกายเล็กกว่า มีวิ
วัฒนธรรมที่เจริญกว่ามาก อาศัยวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมมาช่วยทาให้อยู่รอดและแพร่พันธุ์ได้ดี ขนาดสมองของ
มนุษย์เป็นไปอย่างก้าวกระโดด ขนาดสมองมีส่วนเกี่ยวข้องกับวิวัฒนาการทางด้านวัฒนธรรม ทาให้สามารถ
ถ่ายทอดพฤติกรรมจากรุ่นหนึ่งไปอีกชั่วรุ่นหนึ่งดัดแปลงพฤติกรรมและนาเอาวัตถุรอบ ๆ ตัวมาดัดแปลงให้เป็น
ประโยชน์ต่อตนเองได้มีความสามารถในการอยู่รอดได้สูง
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.กาหนดหัวเรื่อง
2.ศึกษาหาข้อมูล
3.รวบรวมข้อมูล
4.นาเสนอ
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.Microsoft Word
2.Slide share
3.Blogger
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ผู้ศึกษาได้รับความรู้ที่มากขึ้นเรื่อง วิวัฒนาการ
สถานที่ดาเนินการ
- โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- วิทยาศาสตร์
- ภูมิศาสตร์
- ประวัติศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
http://www.ipecp.ac.th/ipecp/cgi-binn/BP1/Program/index.html

More Related Content

What's hot

3 photosyn 1
3 photosyn 13 photosyn 1
3 photosyn 1
Wichai Likitponrak
 
1 ecosystem 2
1 ecosystem 21 ecosystem 2
1 ecosystem 2
Wichai Likitponrak
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
Weerachat Martluplao
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1
kruking2
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
SiwadolChaimano
 

What's hot (19)

Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ม.3 ปีการศึกษา 2554
 
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
เนื้อหาชีววิทยา (ม.4-6 สายวิทย์และสายศิลป์)
 
3 photosyn 1
3 photosyn 13 photosyn 1
3 photosyn 1
 
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม Oเอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
เอกสารประกอบการสรุปเข้ม O
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561
 
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ มัธยมศึกษา ปีที่ 3 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
 
วิทยาศาสตร์ ม.3
วิทยาศาสตร์ ม.3วิทยาศาสตร์ ม.3
วิทยาศาสตร์ ม.3
 
1 ecosystem 2
1 ecosystem 21 ecosystem 2
1 ecosystem 2
 
Cellres posn 2562_kruwichai
Cellres posn 2562_kruwichaiCellres posn 2562_kruwichai
Cellres posn 2562_kruwichai
 
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
ชุดข้อสอบแยกตามตัวชี้วัด หลักสูตรแกนกลาง 2551
 
Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1Bio3 62 photosyn_1
Bio3 62 photosyn_1
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1
 
Diver plantae
Diver plantaeDiver plantae
Diver plantae
 
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรกเฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
เฉลยข้อสอบOnetวิทย์54ครึ่งแรก
 
Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554
Pre onet วิทย์ป.6 ปีการศึกษา 2554
 
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
3. ข้อสอบ o net - สังคมศึกษา
 
บท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการบท4วิวัฒนาการ
บท4วิวัฒนาการ
 
บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์บท5เจริญสัตว์
บท5เจริญสัตว์
 

Similar to 2559 project

การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการัง
Nichaphat Sanguthai
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
citylong117
 
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Kansiri Sai-ud
 
โดรงร่างงานคอม
โดรงร่างงานคอมโดรงร่างงานคอม
โดรงร่างงานคอม
fearlo kung
 

Similar to 2559 project (20)

การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการัง
 
2560 project438 (1)
2560 project438 (1)2560 project438 (1)
2560 project438 (1)
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
Mosquitoes
MosquitoesMosquitoes
Mosquitoes
 
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตบท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
บท1ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
 
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิตธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
ธรรมชาติสิ่งมีชีวิต
 
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5
ข้อสอบ LAS ปี ๒๕๕๗ ภาษาไทย ป.5
 
Thitiporn1
Thitiporn1Thitiporn1
Thitiporn1
 
ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3ภาษาไทย ม.3
ภาษาไทย ม.3
 
Animaltherapy
AnimaltherapyAnimaltherapy
Animaltherapy
 
at1
at1at1
at1
 
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชันชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7  มิวเทชัน
ชุดกิจกรรมยีนและโครโมโซม ชุด 7 มิวเทชัน
 
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศแบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
แบบทดสอบเรื่องระบบนิเวศ
 
Isstrain
IsstrainIsstrain
Isstrain
 
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โดรงร่างงานคอม
โดรงร่างงานคอมโดรงร่างงานคอม
โดรงร่างงานคอม
 
สัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวนสัตว์ป่าสงวน
สัตว์ป่าสงวน
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 

2559 project

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2559 ชื่อโครงงาน วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วิชยะ ตันหล้า เลขที่ 33 ชั้น ม.6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นาย วิชยะ ตันหล้า เลขที่ 33 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) - วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) - Evolution of life ประเภทโครงงาน โครงงานวิทยาศาสตร์ ชื่อผู้ทาโครงงาน นาย วิชยะ ตันหล้า เลขที่ 33 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน 2 เดือน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) การศึกษาวิวัฒนาการเป็นเสมือนโครงสร้างหลักของกระบวนการคิดและการศึกษาด้าน วิทยาศาสตร์ชีวภาพทั้งมวล ทาให้เข้าใจธรรมชาติของสิ่งมีชีวิตบนโลกนานาชนิดเทียบเท่ากับทฤษฏี สัมพัทธภาพของอัลเบิร์ต ไอน์สไตน์ที่เป็นแกนหลักของศาสตร์ด้านกายภาพเลยทีเดียว นอกจากนี้ การศึกษาวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ในสมัยก่อนจะใช้เพียงการศึกษาจากหลักฐานซากดึกดาบรรพ์แต่ เมื่อมีความเจริญก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมากขึ้นจึงมีการใช้หลักฐานสมัยใหม่ เช่น หลักฐานทางชีววิทยาระดับโมเลกุลหรือข้อมูลสนับสนุนอื่นๆที่สามารถนามาใช้อธิบายวิวัฒนาการ ของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆได้ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. บอกหลักฐานที่ใช้ในการสนับสนุนการเกิดวิวัฒนาการได้ 1.1 ลาดับพัฒนาการของแนวความคิดที่เกี่ยวกับวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิตได้ 1.2อธิบายความสาคัญของการศึกษาวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต
  • 3. 2. เปรียบเทียบวิวัฒนาการตามแนวความคิดของลามาร์ค กับ ทฤษฎีของชาร์ล ดาร์วินได 3. อธิบายกลไกที่ท าให้เกิดวิวัฒนาการได้ 4. อธิบายสาเหตุที่ท าให้เกิดสปีชีส์ใหม่ของสิ่งมีชีวิตได้ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ผู้ที่มีความสนใจในการศึกษาเรื่อง วิวัฒนาการ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ทฤษฎีวิวัฒนาการ คือแนวคิดของนักวิทยาศาสตร์ที่พยายามจะอธิบายว่าวิวัฒนาการมีจริงและเกิดขึ้น ได้ อย่างไรโดยอาศัยหลักฐานทางด้านต่างๆประกอบและยืนยันแนวโน้มของวิวัฒนาการมีดังนี้ 1. เป็นการเปลี่ยนแปลงที่ไปข้างหน้าไม่ย้อนกลับ มีแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงจากแบบ ง่าย ๆ เป็นซับซ้อนจากแบบ โบราณเป็นแบบก้าวหน้าและจากแบบทั่วไปเป็นแบบจาเพาะเจาะจงเช่น การลดจานวนของกระดูก ก้นกบหรือการ เชื่อมของ กลีบดอกเป็นต้น 2. ลักษณะทางพันธุกรรมที่ไม่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมจะถูกกาจัด หรือสูญหายไป 1. ทฤษฏีของลามาร์ค (Jean Lamarck) นักวิวัฒนาการชาวฝรั่งเศสได้เสนอความคิดในเรื่อง วิวัฒนาการ ของสิ่งมีชีวิตไว้เป็น 2 ข้อ คือ 1. กฎแห่งการใช้และไม่ใช้(law of use and disuse) มีใจความสาคัญว่า “ลักษณะของสิ่งมีชีวิตผันแปรได้ตาม สภาพแวดล้อมอวัยวะใดที่ใช้อยู่บ่อยๆย่อมขยายใหญ่ขึ้น ส่วนอวัยวะใดที่ไม่ได้ใช้จะค่อยๆลดขนาด อ่อนแอลงและ หายไปในที่สุด” 2. กฎแห่งการถ่ายทอดลักษณะที่เกิดขึ้นใหม่ (law of inheritance of acquired characteristics) มีใจความว่า “ลักษณะ ที่ได้มาใหม่หรือเสียไปโดยอิทธิพลของสิ่งแวดล้อม โดยการใช้และไม่ใช้จะคงอยู่และสามารถถ่ายทอดลักษณะที่ เกิดใหม่นี้ไปสู่รุ่นลูกรุ่นหลาน ต่อไปได้” ตัวอย่างของสิ่งมีชีวิตที่ลามาร์คยกมาอ้างอิงได้แก่ - พวกนกน้า โดยกล่าวว่านกที่หากินบนบกจะไม่มีแผ่นพังผืดหนังต่อระหว่างนิ้วเท้า ส่วนนกที่หากินในน้า มีความต้องการใช้เท้าโบกพัดน้าสาหรับการเคลื่อนที่ผิวหนังระหว่างนิ้วเท้า จึงขยายออกต่อกันเป็นแผ่นและ ลักษณะนี้ถ่ายทอดไปสู่ รุ่นลูกหลานได้ - ยีราฟ ซึ่งในปัจจุบันมีคอยาว ลามาร์คได้อธิบายว่า ยีราฟในอดีตคอสั้นกว่าปัจจุบัน (จากหลักฐาน ของ ซากดึกดาบรรพ์)แต่ได้มีการฝึกฝนยืดคอเพื่อพยายามกินใบไม้จากที่สูงๆ ทาให้คอยาวขึ้น การที่ต้อง เขย่งเท้ายืดคอ ทาให้ยีราฟมีขายาวขึ้นด้วยลักษณะ ที่มีคอยาวขึ้นและขายาวขึ้นนี้ถ่ายทอด มาสู่ยีราฟรุ่นต่อมา - สัตว์พวกงู ซึ่งไม่มีขาปรากฏให้เห็น แต่จากโครงกระดูกยังมีซากขาเหลือติดอยู่ ซึ่งลามาร์ค อธิบายว่างู อาศัยอยู่ในสิ่งแวดล้อมที่เป็นพงหญ้ารกทึบการเลื้อยไปทาให้ลาตัวยาว ส่วนขาไม่ได้ใช้จึงค่อยๆ ลดขนาดเล็กลง และหายไป ลักษณะนี้ถ่ายทอดไปได้งูรุ่นต่อๆ มาจึงไม่มีขา
  • 4. การทดลองเพื่อสนับสนุนความคิดของลามาร์คในเรื่องของกฎแห่งการใช้และไม่ใช้นั้นพอจะมีตัวอย่าง สนับสนุนได้เช่นการฝึกฝนกล้ามเนื้อจะทาให้กล้ามเนื้อมีขนาดใหญ่โตขึ้นมาได้เช่นนักกล้ามนักเพาะกายนักกีฬา ประเภทต่างๆแต่สาหรับกฎแห่งการถ่ายทอดลักษณะ ที่เกิดขึ้นใหม่ยังไม่มีการทดลองใดสนับสนุน ออกัส ไวส์มาน (August Weisman ; 2377 – 2457) ได้เสนอความคิดค้านทฤษฎีของลามาร์คโดยกล่าวว่า ลักษณะที่ถ่ายทอดไปยังลูกหลานได้นั้นจะต้องเกิดจากเซลล์สืบพันธุ์ มิใช่จากเซลล์ร่างกาย เขาได้ทดลองตัดหาง หนู ตัวผู้ตัวเมียแล้วให้ผสมพันธุ์กันปรากฎว่าลูกหลานออกมามีหาง การทดลองนี้ทาติดต่อกันถึง 20 รุ่น หนูในรุ่น ที่ 21ก็ยังคงมีหางอยู่ไวส์มานอธิบายว่า เนื่องจาก ลักษณะที่ตัดหางหนูออกนั้นเป็นการกระทาต่อเซลล์ร่างกายแต่ เซลล์สืบพันธุ์ไม่มีการเปลี่ยนแปลง ลักษณะ หางยาวซึ่งจะถูกถ่ายทอดโดยเซลล์สืบพันธุ์ยังคงอยู่ 2. ทฤษฎีของ ชาร์ลส์ ดาร์วิน ( Charles Darwin) ชาร์ลส์ ดาร์วิน เป็นนักธรรมชาติวิทยาได้เดินทาง ไปกับเรือสารวจ บีเกิล ของรัฐบาลอังกฤษ ซึ่งเดินทางไป สารวจและทาแผนที่ของฝั่งของทะเลทวีปอเมริกาใต้ดาร์วินได้ประสบการณ์ จากการศึกษาพืชและสัตว์ที่มีอยู่ เฉพาะที่หมู่เกาะกาลาปากอส (Galapagos) แห่งเดียวในโลกดาร์วินได้สังเกตนกกระจอกที่อยู่บริเวณหมู่เกาะกาลา ปากอสและนกฟินช์(finch)หลายชนิดพบว่าแต่ละชนิดมีขนาดและรูปร่างของจงอยปากแตกต่างกัน ตามความ เหมาะสมแก่การที่จะใช้กินอาหารแต่ละประเภท นกฟินช์มีลักษณะคล้ายนกกระจอกมากแตกต่างกัน เฉพาะ ลักษณะของจงอยปากเท่านั้น ดาร์วินเชื่อว่าบรรพบุรุษของนกฟินช์บนเกาะกาลาปากอสน่าจะ สืบเชื้อสายมาจากนก ฟินช์บนแผ่นดินใหญ่แต่เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา ทาให้ หมู่เกาะนี้แยกจากแผ่นดินใหญ่และเกิดการ แปรผันทางพันธุกรรม ของบรรพบุรุษนกฟินช์ มาเป็นเวลานานจนเกิดวิวัฒนาการเป็นสปีชีส์ใหม่ขึ้น 3. ทฤษฏีของดาร์วิน และ วอลเลช (Alfred Russel Wallace) ได้เสนอทฤษฎีการเกิดสปีชีส์ใหม่อันเนื่อง มาจาก การคัดเลือกโดยธรรมชาติ ทฤษฎีการคัดเลือกโดย ธรรมชาติ(theory of natural selection) มีสาระสาคัญ ดังนี้ 1. สิ่งมีชีวิตชนิดเดียวกันย่อมแตกต่างกันบ้างเล็กน้อย เรียกว่า variation 2. สิ่งมีชีวิตมีลูกหลานจานวนมากตามลาดับเรขาคณิต แต่สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดก็มี จานวนเกือบคงที่ เพราะมีจานวน หนึ่งตายไป 3.สิ่งมีชีวิตจาเป็นต้องมีการต่อสู้เพื่อความอยู่รอด (struggle of existence)โดยลักษณะ ที่แปรผันบางลักษณะ ที่ เหมาะสมกับสิ่งแวดล้อม ย่อมดารงชีวิตอยู่ได้และสืบพันธุ์ถ่ายทอด ไปยังลูกหลาน 4.สิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมที่สุดเท่านั้นที่อยู่รอด(survival the fittest ) และดารง เผ่าพันธุ์ของตนไว้และทาให้เกิด การ คัดเลือกตามธรรมชาติเกิดความแตกต่าง ไปจากสปีชีส์เดิมมากขึ้นจนเกิดสปีชีส์ใหม่ สิ่งมีชีวิตที่จะอยู่รอด ไม่ จาเป็นต้องเป็น สิ่งมีชีวิต ที่แข็งแรงที่สุด แต่เป็นสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมมากที่สุด ในกรณียีราฟคอ ยาวนั้น อธิบายตามทฤษฎีของดาร์วินได้ว่า ยีราฟมี บรรพบุรุษ ที่คอสั้นแต่เกิดมี variation ที่มีคอยาวขึ้น ซึ่งสามารถ
  • 5. หาอาหาร พวกใบไม้ได้ดี กว่าตัวพวกคอสั้นและถ่ายทอดลักษณะ คอยาวไปให้ลูกหลาน ได้ส่วนพวกคอสั้นหา อาหารได้ไม่ดีหรือแย่งอาหาร สู้พวกคอยาวไม่ได้ในที่สุดก็จะตายไป จึงทาให้ ในปัจจุบันมีแต่ยีราฟคอยาวเท่านั้น ดาร์วินได้ชื่อว่าเป็นบิดาแห่งวิชาวิวัฒนาการ ทฤษฎีการคัดเลือกโดยธรรมชาติของดาร์วินดังนี้คือ “ความ แปรผันที่เหมาะสมกับสิ่งมีชีวิตใด ๆ ก็ตามย่อมมีส่วนช่วยให้สิ่งมีชีวิตสามารถดารงชีวิตได้ในสิ่งแวดล้อมนั้นๆ ส่วนความแปรผันที่ไม่เหมาะสม ทาให้สิ่งมีชีวิตถูกกาจัดไปด้วย เหตุนี้เมื่อเวลา ล่วงเลยไปนานขึ้นลักษณะที่ เหมาะสมก็จะสะสมไปนานขึ้น ลักษณะที่เหมาะสม ก็จะสะสมไปนานขึ้น เกิดสิ่งมีชีวิตแตกต่าง จากเดิม มากมาย จนในที่สุดก็เกิดสิ่งมีชีวิตสปีชีส์ใหม่” กลไกของวิวัฒนาการ กลไกของวิวัฒนาการที่สาคัญ คือ 1. การคัดเลือกโดยธรรมชาติ 2. การผ่าเหล่าและความแปรผันทางพันธุกรรม 3. การอพยพเข้าและการอพยพออก 4. ขนาดของประชากร การเกิดสปีชีส์ใหม่ สปีชีส์ หมายถึง กลุ่มหรือประชากรของสิ่งมีชีวิตที่มีกลุ่มยีน (gene pool) ร่วมกัน โดยที่ สมาชิกของ ประชากรนั้น สามารถถ่ายทอดยีนหรือทาให้เกิดยีนโฟล์วระหว่างกันและกันได้(หมายถึง ผสมพันธุ์กันได้และมีลูก ไม่เป็นหมัน) กลไกแบ่งแยกทางการสืบพันธุ์ แยกได้2 ระดับ คือ 1. กลไกการแบ่งแยกก่อนระยะไซโกต เป็นกลไกที่ป้องกันไม่ให้เซลล์สืบพันธุ์จากทั้ง 2 สปีชีส์ได้มาสัมผัสกัน เนื่องจาก - เวลาในการผสมพันธุ์แตกต่างกัน - สภาพนิเวศวิทยาที่ต่างกัน เช่น กบที่อาศัยในสระน้ากับพวกที่อาศัยในหนองบึงใหญ่ - พฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีที่ต่างกัน เช่น มีสัญญาณหรือฟีโรโมนที่ต่างกัน - โครงสร้างอวัยวะสืบพันธุ์แตกต่างกัน - สรีรวิทยาของเซลล์สืบพันธุ์ที่แตกต่างกัน เช่น ละอองเรณู ของมะม่วงไปตกบนยอดเกสรตัวเมียของมะกรูด จะไม่ สามารถผสมกันได้ 2. กลไกการแบ่งแยกระยะหลังไซโกต
  • 6. - ลูกผสมตาย (hybrid inviability) ก่อนที่จะถึงวัยเจริญพันธุ์ - ลูกผสมเป็นหมัน(hybrid sterillty)ส่วนมากมักเกิดกับเพศผู้ - ลูกผสมล้มเหลว (hybrid breakdouwn) ลูกผสม F1 มีความอ่อนแอ ให้กาเนิดลูกผสม รุ่น F2 ได้แต่มักตาย ใน ระยะแรกของการเจริญ หรือเป็นหมัน โพลีพลอยด์ (Polyploidy) หมายถึงการเพิ่มจานวนชุดของโครโมโซมจาก 2n 3n 4n ฯลฯ ทาให้เกิดสิ่งมีชีวิตใหม่ ๆ (Species ใหม่ ๆ ) เป็นผลดีในการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเช่น ได้ผลไม้ที่มีผลใหญ่ การเปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการในประชากรของสิ่งมีชีวิตมี 2 รูปแบบ คือ 1. ประชากรมีการเปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการแบบค่อยเป็นค่อยไปจนแตกต่างจากประชากรเดิม คือ สิ่งมีชีวิต สปีชีส์ หนึ่ง เปลี่ยนแปลงวิวัฒนาการไปเป็นสปีชีส์ใหม่เรียกว่าวิวัฒนาการสายตรง หรืออะนาเจเนซิส (anagenesis) 2. ประชากรหนึ่งอาจเติบโตและแตกแยกออกเป็นประชากร ย่อยๆ ตามโครงสร้างทางพันธุกรรม ที่แตกต่างกัน จนกระทั่งแยกออกเป็นยีนพูลที่ต่างกันกลายเป็นสปีชีส์ที่ต่างกัน เรียกว่า การแยกแขนงสปีชีส์หรือสปีชีส์เอชัน (speciation) หรือคลาโดเจเนซิส (Cladogenesis) วิวัฒนาการของมนุษย์ Kingdon = Animalia Phylum = Chordata Class = Mammalia Order = Primate Family = Hominidae Genus = Homo Species = H.sapiens สรุปเปรียบเทียบระดับ ขนาดสมองและเครื่องมือเครื่องใช้ของมนุษย์ชนิดต่าง ๆ Australopithecus ระดับ : ลิงวานรที่คล้ายลิงและคล้ายมนุษย์(prehuman) ขนาดของสมอง : 450-700 ลบ.ซม. เครื่องมือที่ใช้: เป็นวัสดุต่าง ๆ ในธรรมชาติ Homo habilis ระดับ : บรรพบุรุษมนุษย์(ancestral man) ขนาดของสมอง : 680-800 ลบ.ซม. เครื่องมือที่ใช้: ประดิษฐ์เครื่องมือหินกระเทาะ เป็นที่เชื่อว่าบรรพบุรุษมนุษย์อาจใช้ไม้กระดูก หรือเขาสัตว์เป็น เครื่องมือนอกจากหินกระเทาะด้วย Homo erectus ระดับ : มนุษย์แรกเริ่ม (early man) ขนาดของสมอง : 750-1,200 ลบ.ซม.
  • 7. เครื่องมือที่ใช้: ใช้ขวานหินไม่มีด้ามในยุคหินเก่าอยู่ในถ้าและรู้จักใช้ไฟ H.s.neanderthalensis ระดับ : มนุษย์นีแอนเดอร์ทัล (Neanderthal man) ขนาดของสมอง : 1,450 ลบ.ซม. เครื่องมือที่ใช้: ใช้หินเหล็กไฟ ทาขวานหิน และมีด้าม ในยุคกลางหินเก่า H.s.sapiens ระดับ : มนุษย์ปัจจุบันโครมันยอง (Cro-Magnon man) ขนาดของสมอง : 1,350-1,500 ลบ.ซม. เครื่องมือที่ใช้: รู้จักใช้เครื่องมือ ทาด้วยกระดูก ในยุคปลายหินเก่า และประดิษฐ์เครื่องมือต่าง ๆ ขึ้นในยุคหินกลาง และยุคหินใหม่ เช่น มีด ขวาน ค้อน จอบ ฯลฯ วิวัฒนาการมนุษย์มีวิวัฒนาการเริ่มต้นจากซากดึกดาบรรพ์ที่อยู่ในสปีชีส์ออสตาโลพิเทคัส อาฟฟาเรนซีส (Australopithecus afarensis) มีวิวัฒนาการต่อไปเป็นสายจีนีสโฮโม(Homo) ซึ่งมีวิวัฒนาการต่อไปเป็นมนุษย์ วิวัฒนาการของมนุษย์Australopithecus afarensis คือ 1. A.afarensis เป็นสปีชีส์ที่มีอายุเก่าแก่ที่สุดของจีนัสออสตราโลพิเทคัส - ฟัน ขนาดใหญ่กว่ามนุษย์ปัจจุบัน กินผลไม้เป็นอาหารสามารถกัดกินเมล็ดพืชที่มีเปลือกแข็งได้ - ขนาดสมอง ใกล้เคียงกับลิงอุรังอุรัง - โครงกระดูกที่ค่อนข้างสมบูรณ์ - รูปร่างของ A afarensis มีรูปร่างกึ่งกลางระหว่างมนุษย์กับลิงซิมแพนซี 2. Homo habilis มีวิวัฒนาการต่อจาก A.afarensis และวิวัฒนาการต่อไปเป็น H.erecutus 3. Homo erectus ซากดึกดาบรรพ์ที่พบที่เกาะชวา เรียกว่ามนุษย์ชวา พบที่ประเทศจีนเรียกว่ามนุษย์ปักกิ่งมีรูปร่าง ใหญ่ กระดูกใหญ่แข็งแรงกว่ามนุษย์ปัจจุบัน สมองใหญ่ขึ้นประมาณ800-1,000 รู้จักใช้เครื่องมือหิน รู้จักใช้ไฟใน การทาอาหาร มีการสร้างที่พักมีสังคมแบบล่าสัตว์ 4. Homo sapiens มีวิวัฒนาการแบ่งออกเป็น 2 ช่วง คือ มนุษย์ยุคแรก (Archaic Humans) และมนุษย์ยุคใหม่ (Modern Human)ขนาดสมอง 1,300 cm3 รูปร่างเตี้ยสั้นกว่ามนุษย์ปัจจุบัน น้าหนักมากและแข็งแรงกว่าอยู่ได้ใน สภาพอากาศหนาวเย็นการเปลี่ยนแปลงจากมนุษย์ยุคแรกเป็นมนุษย์ยุคใหม่มนุษย์ยุคใหม่ร่างกายเล็กกว่า มีวิ วัฒนธรรมที่เจริญกว่ามาก อาศัยวิวัฒนาการทางวัฒนธรรมมาช่วยทาให้อยู่รอดและแพร่พันธุ์ได้ดี ขนาดสมองของ มนุษย์เป็นไปอย่างก้าวกระโดด ขนาดสมองมีส่วนเกี่ยวข้องกับวิวัฒนาการทางด้านวัฒนธรรม ทาให้สามารถ ถ่ายทอดพฤติกรรมจากรุ่นหนึ่งไปอีกชั่วรุ่นหนึ่งดัดแปลงพฤติกรรมและนาเอาวัตถุรอบ ๆ ตัวมาดัดแปลงให้เป็น ประโยชน์ต่อตนเองได้มีความสามารถในการอยู่รอดได้สูง วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน
  • 8. 1.กาหนดหัวเรื่อง 2.ศึกษาหาข้อมูล 3.รวบรวมข้อมูล 4.นาเสนอ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.Microsoft Word 2.Slide share 3.Blogger งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ผู้ศึกษาได้รับความรู้ที่มากขึ้นเรื่อง วิวัฒนาการ สถานที่ดาเนินการ - โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - วิทยาศาสตร์ - ภูมิศาสตร์ - ประวัติศาสตร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) http://www.ipecp.ac.th/ipecp/cgi-binn/BP1/Program/index.html