SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
แบบฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6
นางจิตสุดา เสมอศรี
ตำแหน่ง ครู วิทยฐำนะครูชำนำญกำร
ทักษะการสังเกต
โรงเรียนบ้ำนจำนเลียว
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
โดย
กระทรวงศึกษาธิการ
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
คานิยม
ขอชื่นชมคุณครูจิตสุดา เสมอศรี ครูโรงเรียนบ้านจานเลียวในความมุ่งมั่น
แรงบันดาลใจให้ได้ผลิตสื่อการสอนวิทยาศาสตร์ ชุดฝึกทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน อันประกอบด้วย ๘ ทักษะ ซึ่งเป็นทักษะทางปัญญาใน
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ขอให้ผลอันดีที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนและโรงเรียนจงเป็นผลสะท้อนให้
คุณครูจิตสุดา เสมอศรี จงประสบผลสาเร็จในหน้าที่การงานและตาแหน่งวิทยฐานะ
ในอนาคตอันใกล้ต่อไป
(นายวิชัย วรรณทวี)
ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านจานเลียว
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
คำนำ
วิทยาศาสตร์เป็นวิชาความรู้ที่เกี่ยวกับธรรมชาติ และสิ่งที่เกิดขึ้นใน
ธรรมชาติที่มีส่วนประกอบสองส่วนคือ ส่วนที่เป็นความรู้และส่วนที่เป็นกระบวนการ
แสวงหาความรู้หรือกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การที่เราจะศึกษาหาความรู้
เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ต้องมีลาดับขั้นตอน ความคิดและการกระทาที่ต่อเนื่อง เรียกว่า
มีกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งต้องมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็น
เครื่องมือให้เกิดกระบวนการ ต้องมีการฝึกฝนทางกิจกรรมจากการเรียนจนปฏิบัติให้
ถูกต้อง แม่นยาและใช้เวลารวดเร็ว
ผู้รายงานหวังว่าชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานเล่มนี้
จะมีส่วนช่วยให้ทุกท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการเรียนการสอนเกิดความเข้าใจ และ
เห็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ขั้นพื้นฐาน อันจะเป็นคุณประโยชน์แก่นักเรียนและเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยให้
ผู้เรียนเกิดทักษะโดยตรง สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างดียิ่ง
จิตสุดา เสมอศรี
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานิยม ......................................................................................................... ก
คานา ........................................................................................................... ข
คาชี้แจงสาหรับนักเรียน .............................................................................. ๑
จุดประสงค์การเรียนรู้ ................................................................................. ๒
แบบทดสอบก่อนเรียน .................................................................................. ๓
กระดาษคาตอบ ............................................................................................ ๕
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน............................................. ๖
ใบความรู้ เรื่อง ทักษะการสังเกต .................................................................. ๗
ใบกิจกรรมที่ ๑ ............................................................................................. ๑๐
ใบกิจกรรมที่ ๒ ............................................................................................. ๑๑
ใบกิจกรรมที่ ๓ ............................................................................................. ๑๒
ใบกิจกรรมที่ ๔ ............................................................................................. ๑๓
แนวคาตอบ .................................................................................................. ๑๔
แบบทดสอบหลังเรียน .................................................................................. ๑๙
กระดาษคาตอบ ............................................................................................ ๒๑
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน ..................................................... ๒๒
บรรณานุกรม ................................................................................................ ๒๔
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
๑
คาชี้แจง
๑. ชุดฝึกทักษะที่นักเรียนศึกษาเป็นชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ขั้นพื้นฐาน ชุดที่ ๑ ทักษะการสังเกต ประกอบด้วยแบบฝึก
กิจกรรมที่ ๑ เรื่อง สมบัติของวัตถุได้โดยการใช้ประสาทสัมผัส
กิจกรรมที่ ๒ เรื่อง สมบัติเชิงปริมาณของวัตถุโดยการกะประมาณ
กิจกรรมที่ ๓ เรื่อง สมบัติเชิงคุณภาพของวัตถุ
กิจกรรมที่ ๔ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่สังเกต
๒. เอกสารชุดนี้ประกอบด้วย
๑. จุดประสงค์การเรียนรู้
๒. แบบทดสอบก่อนเรียน
๓. ใบความรู้ เรื่อง ทักษะการสังเกต
๔. ใบกิจกรรม ๔ กิจกรรม
๕ แนวคาตอบ
๖. แบบทดสอบหลังเรียน
๓. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนเป็นรายบุคคล
๔. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ ๔ – ๕ คน ให้เลือกประธานและเลขานุการกลุ่ม
๕. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ ให้เข้าใจหากไม่เข้าใจให้ขอคาแนะนาจาก
ครูผู้สอน
๖. ในการทากิจกรรม นักเรียนในกลุ่มร่วมมือกันทางานด้วยความตั้งใจ หาก
สมาชิกในกลุ่มคนใดไม่เข้าใจให้อธิบายให้เข้าใจหรือปรึกษาครู
๗. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนเป็นรายบุคคล และตรวจดูความก้าวหน้าใน
การเรียน
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. ชี้บ่งและบรรยายสมบัติของวัตถุได้โดยการใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง
หรือหลายอย่างได้
๒. บรรยายสมบัติเชิงคุณภาพของวัตถุได้
๓. บรรยายสมบัติเชิงปริมาณของวัตถุโดยการกะประมาณได้
๔. บรรยายการเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่สังเกตได้
๒
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
แบบทดสอบก่อนเรียน
๓
๑. ข้อมูลใดที่เป็นการสังเกตเชิงปริมาณ
ก. ขนมก้อนนี้ผิวหยาบ
ข. ถุงนมนี้หนักประมาณ ๑,๐๐๐ กรัม
ค. ฟองน้าอันนี้นุ่ม
ง. ไม้บรรทัดอันนี้สีชมพู
๒. วัตถุก้อนหนึ่งมีสีดา ผิวเรียบแข็ง เมื่อเคาะกับโต๊ะมีเสียงดัง จากข้อความ
ดังกล่าวมีการใช้ประสาทสัมผัสอะไรในการสังเกตบ้าง
ก. หู ตา
ข. หู ตา กาย
ค. หู ตา จมูก ลิ้น
ง. ใจ กาย ลิ้น จมูก ตา
๓. ข้อใดเป็นผลที่ได้จากการสังเกต การบีบดินน้ามันด้วยมือ
ก. สีของดินน้ามันเปลี่ยนไป
ข. ดินน้ามันยังคงสภาพเดิม
ค. ดินน้ามันยุบลงไป เป็นรูปนิ้วมือ
ง. มีเสียงเกิดขึ้นในขณะที่บีบดินน้ามัน
๔. คากล่าวในข้อใดต่อไปนี้ที่จัดว่า เป็นผลจากการสังเกตที่เชื่อถือได้
ก. ดอกไม้ดอกนี้หอมมาก
ข. สีเขียวเป็นสีที่สวยกว่าสีอื่น
ค. เพลงที่บรรเลงอยู่ขณะนี้เพราะที่สุด
ง. ดวงอาทิตย์ให้แสงสว่างมากกว่าดวงจันทร์
คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย () ทับข้อ ก ข ค หรือ ง ที่เป็นคาตอบที่ถูกต้องที่สุด
เพียงคาตอบเดียว
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
๔
๕. ข้อใดเป็นสิ่งที่สังเกตได้จากการเปุาอากาศเข้าไปในลูกโปุง
ก. ลูกโปุงพองออก
ข. อากาศในลูกโปุงมีแรงดัน
ค. ถ้าอากาศเข้าไปมาก ๆ ลูกโปุงอาจจะแตกได้
ง. หลังจากเปุาแล้ว ลูกโปุงจะมีน้าหนักมากขึ้น
๖. ข้อใดเป็นการสังเกต
ก. ใครไม่ชอบกีฬา
ข. คนเสียงดังไม่ดี
ค. รถครูจิตสีดา
ง. น้องฟันผุเพราะชอบกินลูกอม
๗. ข้อใดเป็นการใช้ประสาทสัมผัสทางกาย
ก. บอลลูกนี้นิ่มมาก
ข. บอลลูกนี้สีเหลือง
ค. บอลลูกนี้หนักมาก
ง. บอลลูกนี้ได้รับบริจาคมา
๘. เชือกเส้นใดสั้นที่สุด
ก.
ข.
ค.
ง.
๙. ไส้เทียบไขเปลี่ยนจากสีขาวเป็นสีดา ผลจากการสังเกตดังกล่าวนี้ เป็นข้อมูลประเภทใด
ก. ข้อมูลเชิงปริมาณ
ข. ข้อมูลเชิงคุณภาพ
ค. ข้อมูลจากการเปลี่ยนแปลง
ง. ข้อมูลที่เกิดจากการคาดคะเน
๑๐. “ใครทอดหมูนะ” ใช้ประสาทสัมผัสส่วนใด ในการรับรู้
ก. หู
ข. ตา
ค. จมูก
ง. ลิ้น
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
ข้อ ก ข ค ง
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
๘.
๙.
๑๐.
กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน
คะแนนเต็ม
คะแนนที่ได้
๑๐
..............
คะแนน
คะแนน
๕
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
๖
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
ใบความรู้ เรื่อง ทักษะการสังเกต
๗
ทักษะการสังเกต หมายถึง ความชานาญในการใช้
ประสาทสัมผัส คือ อวัยวะรับความรู้สึก ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น
และผิวกาย อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง เพื่อค้นหาข้อมูล
หรือรายละเอียดเกี่ยวกับสมบัติหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยไม่ใส่
ความคิดเห็นหรือการคาดคะเนลงไป การสังเกตเป็นกระบวนการ
หลักที่จะนาไปสู่การค้นพบทางวิทยาศาสตร์
ประสาทสัมผัสประกอบด้วย
๑. ตา เป็นการมองเห็นวัตถุหรือเหตุการณ์ในขณะนั้น
และบอกตามลักษณะที่เห็นจริง เช่น ขนาด รูปร่าง สี
การกะประมาณ
๒. หู เป็นการได้ยินเสียง และบอกลักษณะเสียงตามที่ได้
ยิน เช่น เสียงดัง เสียงก้อง เสียงเบา เสียงร้องของสัตว์
ในลักษณะต่าง ๆ
๓. จมูก เป็นการดมกลิ่น และบอกสิ่งที่ได้สัมผัส เช่น
กลิ่นหอม กลิ่นเหม็น กลิ่นไหม้ กลิ่นคาว กลิ่นฉุน
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
๘
๑. ข้อมูลเชิงคุณภาพ คือ ข้อมูลที่เกี่ยวกับลักษณะหรือสมบัติต่าง ๆ
เช่น ขนาด รูปร่าง สี ความดัง กลิ่น รส ความหยาบ
ความละเอียด
๒. ข้อมูลเชิงปริมาณ คือ ข้อมูลเกี่ยวกับการกะประมาณ เช่น
ผลไม้ในตะกร้านี้มีประมาณ ๕๐๐ ผล วัวตัวนี้หนักประมาณ
๒๐๐ กิโลกรัม ฯลฯ
๓. ข้อมูลเชิงการเปลี่ยนแปลง คือ ข้อมูลเกี่ยวกับ
การเปลี่ยนแปลงของวัตถุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือมีสิ่งทา
ให้เปลี่ยนไป เช่น การเจริญเติบโตของต้นถั่ว
๔. ลิ้น เป็นการชิมรส ได้แก่ รสหวาน รสเค็ม รสเผ็ด
รสขม การชิมรสนั้นต้องระวัง ไม่ชิมสิ่งของที่สกปรกและ
มีอันตราย
๕. ผิวกาย เป็นการจับต้องสัมผัส ซึ่งส่วนมากใช้มือ
และบอกความรู้สึกที่ได้สัมผัส เช่น ร้อน เย็น อุ่น เรียบ
ขรุขระ นิ่ม แข็ง
ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต แบ่งได้ ๓ ประเภท คือ
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
๙
๑. ไม่ดูของสีขาวกลางแดด
๒. เสียงที่ดังมากอาจมีอันตรายต่อแก้วหู เช่น เสียงปืนใหญ่ฟูาร้อง
เสียงตะโกน
๓. ไม่ชิมของที่สกปรก หรือมีอันตราย เพราะอาจเป็นสิ่งที่เป็น
พิษร้ายต่อร่างกายได้ง่าย
๔. การดมกลิ่นสารบางชนิดอาจทาให้เกิดการระคายเคืองต่อร่างกาย
ต้องระวังไม่ทดลองสูดดม เช่น กลิ่นพริกคั่ว
๕. ของบางอย่างไม่ควรทดลองจับต้อง เช่น ต้นตาแย สารเคมี
ต้นไม้มีหนาม ตัวบุ้ง เป็นต้น
ที่มา : สมใจ สมคิด. การพัฒนาแบบฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ขั้นพื้นฐาน สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖. กศ.ม. วิทยานิพนธ์
ครุศาสตรมหาบัณฑิต. นครสวรรค์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์,
๒๕๔๗.
ข้อควรระวังในการใช้การสังเกต
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
๑๐
ใบกิจกรรมที่ ๑
๑. ให้สมาชิกภายในกลุ่มช่วยกันพิจารณาข้อมูลที่กาหนดให้ แล้วระบุประเภทของข้อมูล
เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ และระบุประสาทสัมผัสที่ใช้ในการสังเกต
ตัวอย่าง
ลาดับที่ วิธีการสังเกต ผลการสังเกต ประเภทข้อมูล ประสาทสัมผัสที่ใช้
0 ดูยางลบว่ามี
ลักษณะอย่างไร
ยางลบนี้เป็นรูป
สี่เหลี่ยม
เชิงคุณภาพ ตา
ลาดับที่ วิธีการสังเกต ผลการสังเกต ประเภทข้อมูล ประสาทสัมผัสที่ใช้
1 ลองชิมรสของเกลือ เกลือมีรสเค็ม
2 ใช้มือสัมผัสผิวของ
ก้อนหิน
ก้อนหินก้อนนี้มีผิวแข็ง
3 ดมกลิ่นของดอก
กุหลาบ
ดอกกุหลาบมีกลิ่นหอม
4 ชั่งลาไย 1 ถุงบน
เครื่องชั่งน้าหนัก
ลาไยถุงนี้หนัก
ประมาณ 2 กิโลกรัม
5 ใช้มือบี้ก้อนดินใน
แปลง
ดินแปลงนี้มีลักษณะ
ร่วนซุย
6 ฟังเสียงนกร้อง นกตัวนี้ร้องเสียงดัง
7 นับจานวนคนเข้า
ห้องสมุด
คนเข้าสมุด ๓0 คน
8 ชิมขนมหวานใน
ถ้วย
ขนมหวานถ้วยนี้มีรส
หวาน
9 บีบฟองน้า ฟองน้าชิ้นนี้มีเนื้อนุ่ม
10 หาคาศัพท์
ภาษาอังกฤษจาก
บทเรียน
บทเรียนนี้มีคาศัพท์
ภาษาอังกฤษ จานวน
๓0 คา
จุดประสงค์ข้อ ๑. ชี้บ่งและบรรยายสมบัติของวัตถุได้โดยการใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง
หรือหลายอย่างได้
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
๑๑
ใบกิจกรรมที่ ๒
คาชี้แจง ให้นักเรียนใส่เครื่องหมาย  หน้าข้อที่เป็นการบันทึกการสังเกต
ข้อมูลเชิงคุณภาพและใส่เครื่องหมาย  ลงในช่องที่ไม่ใช่การสังเกตข้อมูล
เชิงคุณภาพ
ตัวอย่าง
 ๐. ในกระเป๋ามีผ้าเช็ดหน้าสีชมพู
1. น้ามันเบาลอยน้าได้
๒. ของเหลวในแก้วใบนี้มีรสหวาน
๓. นาฬิกาเรือนนี้เดินเสียงดัง ติ๊ก ๆ
๔. ผ้าผืนนี้มีสีสวยมาก
๕. กระดาษแผ่นนี้มีผิวเรียบ
๖. น้อยหน่ามีรสฝาด
๗. ลูกบอลในตะกร้ามี ๓ ลูก
๘. กระเป๋าใบนั้นสีลายดอกไม้
๙. มีดินสอในกระเป๋า ๒ แท่ง
1๐. ห้องเรียนกว้างมาก
จุดประสงค์ข้อ ๒. บรรยายสมบัติเชิงคุณภาพของวัตถุได้
หรือหลายอย่างได้
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
๑๒
ใบกิจกรรมที่ ๓
คาชี้แจง ให้นักเรียนใส่เครื่องหมาย  หน้าข้อที่เป็นการบันทึกการสังเกต
ข้อมูลเชิงปริมาณและใส่เครื่องหมาย  ลงในช่องที่ไม่ใช่การสังเกตข้อมูล
เชิงปริมาณ
ตัวอย่าง
 ๐. ปากกาอยู่ใต้โต๊ะ ๓ ด้าม
1. โต๊ะตัวนี้สูงประมาณ ๑.๕๐ เมตร
๒. น้าตาลให้ความหวาน
๓. นักเรียนในห้องสูงเฉลี่ย ๑๕๐ เซนติเมตร
๔. เนื้อหมูก้อนนี้หนัก ๑ กิโลกรัม
๕. อุณหภูมิวันนี้ ๓๕ ๐
C
๖. โทรศัพท์มือถือเครื่องนี้สีฟูา
๗. ลูกบอลในตะกร้ามี ๓ ลูก
๘. ดอกไม้ช่อนี้มีกลิ่นหอม
๙. พี่ให้เงิน ๑๐๐ บาท
1๐. นกตัวนั้นมีสีเขียวและสีแดง
จุดประสงค์ข้อ ๓. บรรยายสมบัติเชิงปริมาณของวัตถุโดยการกะประมาณได้
หรือหลายอย่างได้
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
๑๓
ใบกิจกรรมที่ ๔
จุดประสงค์ข้อ ๔. บรรยายสมบัติเชิงการเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่สังเกตได้
หรือหลายอย่างได้
คาชี้แจง ให้นักเรียนสังเกตการเปลี่ยนแปลงของเทียนไข ก่อนติดไฟ และหลังการติดไฟ
ก่อนจุดเทียน
……………………………………………………………….…………………………………
……………………………………………………………….…………………………………
………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………….
จุดเทียน
……………………………………………………………….…………………………………
……………………………………………………………….…………………………………
………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………….
หลังจุดเทียน
……………………………………………………………….…………………………………
……………………………………………………………….…………………………………
………………………………………………………….………………………………………
………………………………………………………………………………………………….
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
๑๔
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
๑๕
ใบกิจกรรมที่ ๑
๑. ให้สมาชิกภายในกลุ่มช่วยกันพิจารณาข้อมูลที่กาหนดให้ แล้วระบุประเภทของข้อมูล
เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ และระบุประสาทสัมผัสที่ใช้ในการสังเกต
ตัวอย่าง
ลาดับที่ วิธีการสังเกต ผลการสังเกต ประเภทข้อมูล ประสาทสัมผัสที่ใช้
0 ดูยางลบว่ามี
ลักษณะอย่างไร
ยางลบนี้เป็นรูป
สี่เหลี่ยม
เชิงคุณภาพ ตา
ลาดับที่ วิธีการสังเกต ผลการสังเกต ประเภทข้อมูล ประสาทสัมผัสที่ใช้
1 ลองชิมรสของเกลือ เกลือมีรสเค็ม เชิงคุณภาพ ลิ้น
2 ใช้มือสัมผัสผิวของ
ก้อนหิน
ก้อนหินก้อนนี้มีผิวแข็ง เชิงคุณภาพ กายสัมผัส
3 ดมกลิ่นของดอก
กุหลาบ
ดอกกุหลาบมีกลิ่นหอม เชิงคุณภาพ จมูก
4 ชั่งลาไย 1 ถุงบน
เครื่องชั่งน้าหนัก
ลาไยถุงนี้หนัก
ประมาณ 2 กิโลกรัม
เชิงปริมาณ ตา
5 ใช้มือบี้ก้อนดินใน
แปลง
ดินแปลงนี้มีลักษณะ
ร่วนซุย
เชิงคุณภาพ กายสัมผัส
6 ฟังเสียงนกร้อง นกตัวนี้ร้องเสียงดัง เชิงคุณภาพ หู
7 นับจานวนคนเข้า
ห้องสมุด
คนเข้าสมุด ๓0 คน เชิงปริมาณ ตา
8 ชิมขนมหวานใน
ถ้วย
ขนมหวานถ้วยนี้มีรส
หวาน
เชิงคุณภาพ ลิ้น
9 บีบฟองน้า ฟองน้าชิ้นนี้มีเนื้อนุ่ม เชิงคุณภาพ กายสัมผัส
10 หาคาศัพท์
ภาษาอังกฤษจาก
บทเรียน
บทเรียนนี้มีคาศัพท์
ภาษาอังกฤษ จานวน
๓0 คา
เชิงปริมาณ ตา
จุดประสงค์ข้อ ๑. ชี้บ่งและบรรยายสมบัติของวัตถุได้โดยการใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง
หรือหลายอย่างได้
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
๑๖
ใบกิจกรรมที่ ๒
จุดประสงค์ข้อ ๒. บรรยายสมบัติเชิงคุณภาพของวัตถุได้
หรือหลายอย่างได้
คาชี้แจง ให้นักเรียนใส่เครื่องหมาย  หน้าข้อที่เป็นการบันทึกการสังเกต
ข้อมูลเชิงคุณภาพและใส่เครื่องหมาย  ลงในช่องที่ไม่ใช่การสังเกตข้อมูล
เชิงคุณภาพ
ตัวอย่าง
 ๐. ในกระเป๋ามีผ้าเช็ดหน้าสีชมพู
 1. น้ามันเบาลอยน้าได้
 ๒. ของเหลวในแก้วใบนี้มีรสหวาน
 ๓. นาฬิกาเรือนนี้เดินเสียงดัง ติ๊ก ๆ
 ๔. ผ้าผืนนี้มีสีสวยมาก
 ๕. กระดาษแผ่นนี้มีผิวเรียบ
 ๖. น้อยหน่ามีรสฝาด
 ๗. ลูกบอลในตะกร้ามี ๓ ลูก
 ๘. กระเป๋าใบนั้นสีลายดอกไม้
 ๙. มีดินสอในกระเป๋า ๒ แท่ง
 1๐. ห้องเรียนกว้างมาก
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
๑๗
ใบกิจกรรมที่ ๓
จุดประสงค์ข้อ ๓. บรรยายสมบัติเชิงปริมาณของวัตถุโดยการกะประมาณได้
หรือหลายอย่างได้
คาชี้แจง ให้นักเรียนใส่เครื่องหมาย  หน้าข้อที่เป็นการบันทึกการสังเกต
ข้อมูลเชิงปริมาณและใส่เครื่องหมาย  ลงในช่องที่ไม่ใช่การสังเกตข้อมูล
เชิงปริมาณ
ตัวอย่าง
 ๐. ปากกาอยู่ใต้โต๊ะ ๓ ด้าม
 1. โต๊ะตัวนี้สูงประมาณ ๑.๕๐ เมตร
 ๒. น้าตาลให้ความหวาน
 ๓. นักเรียนในห้องสูงเฉลี่ย ๑๕๐ เซนติเมตร
 ๔. เนื้อหมูก้อนนี้หนัก ๑ กิโลกรัม
 ๕. อุณหภูมิวันนี้ ๓๕ ๐
C
 ๖. โทรศัพท์มือถือเครื่องนี้สีฟูา
 ๗. ลูกบอลในตะกร้ามี ๓ ลูก
 ๘. ดอกไม้ช่อนี้มีกลิ่นหอม
 ๙. พี่ให้เงิน ๑๐๐ บาท
 1๐. นกตัวนั้นมีสีเขียวและสีแดง
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
๑๘
ใบกิจกรรมที่ ๔
จุดประสงค์ข้อ ๔. บรรยายสมบัติเชิงการเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่สังเกตได้
หรือหลายอย่างได้
คาชี้แจง ให้นักเรียนสังเกตการเปลี่ยนแปลงของเทียนไข ก่อนติดไฟ และหลังการติดไฟ
ก่อนจุดเทียน
ลักษณะเทียนสีขาว เป็นแท่งทรงกระบอก ไส้เทียนสีขาว
จุดเทียน
ลักษณะไส้เทียนถูกไหม้ มีเปลวไฟสีเหลือง มีควันสีดา
หลังจุดเทียน
ลักษณะเป็นทรงกระบอกสีขาว มีน้าตาเทียน ไส้เทียนสีดา
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
๑๙
แบบทดสอบหลังเรียน
คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย () ทับข้อ ก ข ค หรือ ง ที่เป็นคาตอบที่ถูกต้องที่สุด
เพียงคาตอบเดียว
๑. คากล่าวในข้อใดต่อไปนี้ที่จัดว่า เป็นผลจากการสังเกตที่เชื่อถือได้
ก. ดอกไม้ดอกนี้หอมมาก
ข. สีเขียวเป็นสีที่สวยกว่าสีอื่น
ค. เพลงที่บรรเลงอยู่ขณะนี้เพราะที่สุด
ง. ดวงอาทิตย์ให้แสงสว่างมากกว่าดวงจันทร์
๒. วัตถุก้อนหนึ่งมีสีดา ผิวเรียบแข็ง เมื่อเคาะกับโต๊ะมีเสียงดัง จากข้อความ
ดังกล่าวมีการใช้ประสาทสัมผัสอะไรในการสังเกตบ้าง
ก. หู ตา
ข. หู ตา กาย
ค. หู ตา จมูก ลิ้น
ง. ใจ กาย ลิ้น จมูก ตา
๓. ข้อมูลใดที่เป็นการสังเกตเชิงปริมาณ
ก. ขนมก้อนนี้ผิวหยาบ
ข. ถุงนมนี้หนักประมาณ ๑,๐๐๐ กรัม
ค. ฟองน้าอันนี้นุ่ม
ง. ไม้บรรทัดอันนี้สีชมพู
๔. ข้อใดเป็นผลที่ได้จากการสังเกต การบีบดินน้ามันด้วยมือ
ก. สีของดินน้ามันเปลี่ยนไป
ข. ดินน้ามันยังคงสภาพเดิม
ค. ดินน้ามันยุบลงไป เป็นรูปนิ้วมือ
ง. มีเสียงเกิดขึ้นในขณะที่บีบดินน้ามัน
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
๒๐
๕. ข้อใดเป็นการใช้ประสาทสัมผัสทางกาย
ก. บอลลูกนี้นิ่มมาก
ข. บอลลูกนี้สีเหลือง
ค. บอลลูกนี้หนักมาก
ง. บอลลูกนี้ได้รับบริจาคมา
๖. ข้อใดเป็นสิ่งที่สังเกตได้จากการเปุาอากาศเข้าไปในลูกโปุง
ก. ลูกโปุงพองออก
ข. อากาศในลูกโปุงมีแรงดัน
ค. ถ้าอากาศเข้าไปมาก ๆ ลูกโปุงอาจจะแตกได้
ง. หลังจากเปุาแล้ว ลูกโปุงจะมีน้าหนักมากขึ้น
๗. ข้อใดเป็นการสังเกต
ก. ใครไม่ชอบกีฬา
ข. คนเสียงดังไม่ดี
ค. รถครูจิตสีดา
ง. น้องฟันผุเพราะชอบกินลูกอม
๘. เชือกเส้นใดสั้นที่สุด
ก.
ข.
ค.
ง.
๙. “ใครทอดหมูนะ” ใช้ประสาทสัมผัสส่วนใด ในการรับรู้
ก. หู
ข. ตา
ค. จมูก
ง. ลิ้น
๑๐. ไส้เทียบไขเปลี่ยนจากสีขาวเป็นสีดา ผลจากการสังเกตดังกล่าวนี้ เป็นข้อมูลประเภทใด
ก. ข้อมูลเชิงปริมาณ
ข. ข้อมูลเชิงคุณภาพ
ค. ข้อมูลจากการเปลี่ยนแปลง
ง. ข้อมูลที่เกิดจากการคาดคะเน
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
ข้อ ก ข ค ง
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
๘.
๙.
๑๐.
๒๑
กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน
คะแนนเต็ม
คะแนนที่ได้
๑๐
..............
คะแนน
คะแนน
น้อง ๆ ทาได้กี่คะแนนครับ
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
๒๒
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
๑. ข
๒. ข
๓. ค
๔. ง
๕. ก
๖. ค
๗. ก
๘. ข
๙. ค
๑๐. คเผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
๒๓
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน
๑. ง
๒. ข
๓. ข
๔. ค
๕. ก
๖. ก
๗. ค
๘. ข
๙. ค
๑๐. ค
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com
๒๔
บรรณานุกรม
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์. http://www.sa.ac.th/multimedia/pa_khuan/a.htm.
บุญถึง แน่นหนา. โครงงานวิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊ค, ๒๕๔๒.
วราภรณ์ ถิรศิริ. หนังสือส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ “การใช้เกมในการเรียนการสอน
วิทยาศาสตร์ ป.๕- ๖ . กรุงเทพฯ : สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
แห่งชาติ, ม.ป.ป.
วินัย พัฒนรัฐ และคณะ. กิจกรรมวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖. กรุงเทพฯ :
ประสานมิตร จากัด, ๒๕๓๗.
ศึกษาธิการ, กระทรวง. โครงงานวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๔.
สมใจ สมคิด. การพัฒนาแบบฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน
สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖. กศ.ม. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต.
นครสวรรค์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, ๒๕๔๗.
เผยแพร่บนเว็บไซต์
www.kroobannok.com

More Related Content

What's hot

ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะKodchaporn Siriket
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)dnavaroj
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้าdnavaroj
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้เทวัญ ภูพานทอง
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxพนภาค ผิวเกลี้ยง
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดPinutchaya Nakchumroon
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4Thanawut Rattanadon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2dnavaroj
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมJariya Jaiyot
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เกษสุดา สนน้อย
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5Tikaben Phutako
 

What's hot (20)

ข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะข้อสอบอัจฉริยะ
ข้อสอบอัจฉริยะ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมแบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
แบบทดสอบ เรื่อง การถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
แบบทดสอบกลางภาคเรียน วิทย์ 6 (ออกตามตัวชี้วัด)
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
แบบบันทึกการศึกษาแหล่งเรียนรู้
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocxชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดที่2พันธะไอออนิกdocx
 
เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60เฉลยสอวนBio60
เฉลยสอวนBio60
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
เฉลยแบบฝึกหัดหน่วยที่ 4
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัวแรงพยุงหรือแรงลอยตัว
แรงพยุงหรือแรงลอยตัว
 
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมกระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
กระบวนการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
เขียนเรื่องจากจินตนาการ ป.3
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1  วิชาสุขศึกษา  5
ข้อสอบกลางภาคเรียนที่ 1 วิชาสุขศึกษา 5
 

Similar to ทักษะ

แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยศุภเชษฐ์ สีหาราช
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงคุณครูพี่อั๋น
 
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...Mayko Chan
 
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบKobwit Piriyawat
 
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์krupornpana55
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,Itnanut Nunkaew
 
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLการศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLEmmy Nichanan
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)Wichai Likitponrak
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้krupornpana55
 
007ชุดการเรียนรู้ชุดที่7(1)
007ชุดการเรียนรู้ชุดที่7(1)007ชุดการเรียนรู้ชุดที่7(1)
007ชุดการเรียนรู้ชุดที่7(1)sopa sangsuy
 

Similar to ทักษะ (20)

แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัยแบบทดสอบ  รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
แบบทดสอบ รายวิชา 0503101 เทคโนโลยีและสื่อสารการศึกษากับการศึกษาร่วมสมัย
 
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียงการออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
การออกแบบหน่วยพอเพียง-มีเหตุุผลบนความพอเพียง
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
Profile
ProfileProfile
Profile
 
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
ทักษะพนฐานทางคณิตศาสตรของเด็กปฐมวัยที่ไดรับการจัดกิจกรรมศิลปสรางสรรคจากวั...
 
Work1 603 22
Work1 603 22Work1 603 22
Work1 603 22
 
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
ชีวิตที่เปลี่ยนไป ครุวิจัยคือคำตอบ
 
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
Slชุดฝึกทักษะกระบวนการคิดตามวิธีการทางวิทยาศาสตร์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการสืบสวนสอบสวน(Inquiry method)ยาศาสตร์,
 
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBLการศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
การศึกษาการจัดการเรียนการสอนแบบ CBL
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการใช้ภาษาต่างประเทศ(อังกฤษ)
 
เอกสารอ้างอิง1
เอกสารอ้างอิง1เอกสารอ้างอิง1
เอกสารอ้างอิง1
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
 
007ชุดการเรียนรู้ชุดที่7(1)
007ชุดการเรียนรู้ชุดที่7(1)007ชุดการเรียนรู้ชุดที่7(1)
007ชุดการเรียนรู้ชุดที่7(1)
 
ชุดที่61
ชุดที่61ชุดที่61
ชุดที่61
 
ชุดที่61
ชุดที่61ชุดที่61
ชุดที่61
 
Gst ureportcamp61
Gst ureportcamp61Gst ureportcamp61
Gst ureportcamp61
 

ทักษะ

  • 1. แบบฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 นางจิตสุดา เสมอศรี ตำแหน่ง ครู วิทยฐำนะครูชำนำญกำร ทักษะการสังเกต โรงเรียนบ้ำนจำนเลียว สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย กระทรวงศึกษาธิการ เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 2. คานิยม ขอชื่นชมคุณครูจิตสุดา เสมอศรี ครูโรงเรียนบ้านจานเลียวในความมุ่งมั่น แรงบันดาลใจให้ได้ผลิตสื่อการสอนวิทยาศาสตร์ ชุดฝึกทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน อันประกอบด้วย ๘ ทักษะ ซึ่งเป็นทักษะทางปัญญาใน กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ขอให้ผลอันดีที่เกิดขึ้นกับผู้เรียนและโรงเรียนจงเป็นผลสะท้อนให้ คุณครูจิตสุดา เสมอศรี จงประสบผลสาเร็จในหน้าที่การงานและตาแหน่งวิทยฐานะ ในอนาคตอันใกล้ต่อไป (นายวิชัย วรรณทวี) ผู้อานวยการโรงเรียนบ้านจานเลียว เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 3. คำนำ วิทยาศาสตร์เป็นวิชาความรู้ที่เกี่ยวกับธรรมชาติ และสิ่งที่เกิดขึ้นใน ธรรมชาติที่มีส่วนประกอบสองส่วนคือ ส่วนที่เป็นความรู้และส่วนที่เป็นกระบวนการ แสวงหาความรู้หรือกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การที่เราจะศึกษาหาความรู้ เกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ต้องมีลาดับขั้นตอน ความคิดและการกระทาที่ต่อเนื่อง เรียกว่า มีกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งต้องมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็น เครื่องมือให้เกิดกระบวนการ ต้องมีการฝึกฝนทางกิจกรรมจากการเรียนจนปฏิบัติให้ ถูกต้อง แม่นยาและใช้เวลารวดเร็ว ผู้รายงานหวังว่าชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานเล่มนี้ จะมีส่วนช่วยให้ทุกท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการเรียนการสอนเกิดความเข้าใจ และ เห็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ขั้นพื้นฐาน อันจะเป็นคุณประโยชน์แก่นักเรียนและเป็นแนวทางหนึ่งที่จะช่วยให้ ผู้เรียนเกิดทักษะโดยตรง สามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างดียิ่ง จิตสุดา เสมอศรี เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 4. สารบัญ เรื่อง หน้า คานิยม ......................................................................................................... ก คานา ........................................................................................................... ข คาชี้แจงสาหรับนักเรียน .............................................................................. ๑ จุดประสงค์การเรียนรู้ ................................................................................. ๒ แบบทดสอบก่อนเรียน .................................................................................. ๓ กระดาษคาตอบ ............................................................................................ ๕ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน............................................. ๖ ใบความรู้ เรื่อง ทักษะการสังเกต .................................................................. ๗ ใบกิจกรรมที่ ๑ ............................................................................................. ๑๐ ใบกิจกรรมที่ ๒ ............................................................................................. ๑๑ ใบกิจกรรมที่ ๓ ............................................................................................. ๑๒ ใบกิจกรรมที่ ๔ ............................................................................................. ๑๓ แนวคาตอบ .................................................................................................. ๑๔ แบบทดสอบหลังเรียน .................................................................................. ๑๙ กระดาษคาตอบ ............................................................................................ ๒๑ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน ..................................................... ๒๒ บรรณานุกรม ................................................................................................ ๒๔ เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 5. ๑ คาชี้แจง ๑. ชุดฝึกทักษะที่นักเรียนศึกษาเป็นชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ขั้นพื้นฐาน ชุดที่ ๑ ทักษะการสังเกต ประกอบด้วยแบบฝึก กิจกรรมที่ ๑ เรื่อง สมบัติของวัตถุได้โดยการใช้ประสาทสัมผัส กิจกรรมที่ ๒ เรื่อง สมบัติเชิงปริมาณของวัตถุโดยการกะประมาณ กิจกรรมที่ ๓ เรื่อง สมบัติเชิงคุณภาพของวัตถุ กิจกรรมที่ ๔ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่สังเกต ๒. เอกสารชุดนี้ประกอบด้วย ๑. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๒. แบบทดสอบก่อนเรียน ๓. ใบความรู้ เรื่อง ทักษะการสังเกต ๔. ใบกิจกรรม ๔ กิจกรรม ๕ แนวคาตอบ ๖. แบบทดสอบหลังเรียน ๓. นักเรียนทาแบบทดสอบก่อนเรียนเป็นรายบุคคล ๔. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๆ ละ ๔ – ๕ คน ให้เลือกประธานและเลขานุการกลุ่ม ๕. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มศึกษาใบความรู้ ให้เข้าใจหากไม่เข้าใจให้ขอคาแนะนาจาก ครูผู้สอน ๖. ในการทากิจกรรม นักเรียนในกลุ่มร่วมมือกันทางานด้วยความตั้งใจ หาก สมาชิกในกลุ่มคนใดไม่เข้าใจให้อธิบายให้เข้าใจหรือปรึกษาครู ๗. นักเรียนทาแบบทดสอบหลังเรียนเป็นรายบุคคล และตรวจดูความก้าวหน้าใน การเรียน เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 6. จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. ชี้บ่งและบรรยายสมบัติของวัตถุได้โดยการใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างได้ ๒. บรรยายสมบัติเชิงคุณภาพของวัตถุได้ ๓. บรรยายสมบัติเชิงปริมาณของวัตถุโดยการกะประมาณได้ ๔. บรรยายการเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่สังเกตได้ ๒ เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 7. แบบทดสอบก่อนเรียน ๓ ๑. ข้อมูลใดที่เป็นการสังเกตเชิงปริมาณ ก. ขนมก้อนนี้ผิวหยาบ ข. ถุงนมนี้หนักประมาณ ๑,๐๐๐ กรัม ค. ฟองน้าอันนี้นุ่ม ง. ไม้บรรทัดอันนี้สีชมพู ๒. วัตถุก้อนหนึ่งมีสีดา ผิวเรียบแข็ง เมื่อเคาะกับโต๊ะมีเสียงดัง จากข้อความ ดังกล่าวมีการใช้ประสาทสัมผัสอะไรในการสังเกตบ้าง ก. หู ตา ข. หู ตา กาย ค. หู ตา จมูก ลิ้น ง. ใจ กาย ลิ้น จมูก ตา ๓. ข้อใดเป็นผลที่ได้จากการสังเกต การบีบดินน้ามันด้วยมือ ก. สีของดินน้ามันเปลี่ยนไป ข. ดินน้ามันยังคงสภาพเดิม ค. ดินน้ามันยุบลงไป เป็นรูปนิ้วมือ ง. มีเสียงเกิดขึ้นในขณะที่บีบดินน้ามัน ๔. คากล่าวในข้อใดต่อไปนี้ที่จัดว่า เป็นผลจากการสังเกตที่เชื่อถือได้ ก. ดอกไม้ดอกนี้หอมมาก ข. สีเขียวเป็นสีที่สวยกว่าสีอื่น ค. เพลงที่บรรเลงอยู่ขณะนี้เพราะที่สุด ง. ดวงอาทิตย์ให้แสงสว่างมากกว่าดวงจันทร์ คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย () ทับข้อ ก ข ค หรือ ง ที่เป็นคาตอบที่ถูกต้องที่สุด เพียงคาตอบเดียว เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 8. ๔ ๕. ข้อใดเป็นสิ่งที่สังเกตได้จากการเปุาอากาศเข้าไปในลูกโปุง ก. ลูกโปุงพองออก ข. อากาศในลูกโปุงมีแรงดัน ค. ถ้าอากาศเข้าไปมาก ๆ ลูกโปุงอาจจะแตกได้ ง. หลังจากเปุาแล้ว ลูกโปุงจะมีน้าหนักมากขึ้น ๖. ข้อใดเป็นการสังเกต ก. ใครไม่ชอบกีฬา ข. คนเสียงดังไม่ดี ค. รถครูจิตสีดา ง. น้องฟันผุเพราะชอบกินลูกอม ๗. ข้อใดเป็นการใช้ประสาทสัมผัสทางกาย ก. บอลลูกนี้นิ่มมาก ข. บอลลูกนี้สีเหลือง ค. บอลลูกนี้หนักมาก ง. บอลลูกนี้ได้รับบริจาคมา ๘. เชือกเส้นใดสั้นที่สุด ก. ข. ค. ง. ๙. ไส้เทียบไขเปลี่ยนจากสีขาวเป็นสีดา ผลจากการสังเกตดังกล่าวนี้ เป็นข้อมูลประเภทใด ก. ข้อมูลเชิงปริมาณ ข. ข้อมูลเชิงคุณภาพ ค. ข้อมูลจากการเปลี่ยนแปลง ง. ข้อมูลที่เกิดจากการคาดคะเน ๑๐. “ใครทอดหมูนะ” ใช้ประสาทสัมผัสส่วนใด ในการรับรู้ ก. หู ข. ตา ค. จมูก ง. ลิ้น เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 9. ข้อ ก ข ค ง ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรียน คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ ๑๐ .............. คะแนน คะแนน ๕ เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 11. ใบความรู้ เรื่อง ทักษะการสังเกต ๗ ทักษะการสังเกต หมายถึง ความชานาญในการใช้ ประสาทสัมผัส คือ อวัยวะรับความรู้สึก ได้แก่ ตา หู จมูก ลิ้น และผิวกาย อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่าง เพื่อค้นหาข้อมูล หรือรายละเอียดเกี่ยวกับสมบัติหรือเหตุการณ์ต่าง ๆ โดยไม่ใส่ ความคิดเห็นหรือการคาดคะเนลงไป การสังเกตเป็นกระบวนการ หลักที่จะนาไปสู่การค้นพบทางวิทยาศาสตร์ ประสาทสัมผัสประกอบด้วย ๑. ตา เป็นการมองเห็นวัตถุหรือเหตุการณ์ในขณะนั้น และบอกตามลักษณะที่เห็นจริง เช่น ขนาด รูปร่าง สี การกะประมาณ ๒. หู เป็นการได้ยินเสียง และบอกลักษณะเสียงตามที่ได้ ยิน เช่น เสียงดัง เสียงก้อง เสียงเบา เสียงร้องของสัตว์ ในลักษณะต่าง ๆ ๓. จมูก เป็นการดมกลิ่น และบอกสิ่งที่ได้สัมผัส เช่น กลิ่นหอม กลิ่นเหม็น กลิ่นไหม้ กลิ่นคาว กลิ่นฉุน เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 12. ๘ ๑. ข้อมูลเชิงคุณภาพ คือ ข้อมูลที่เกี่ยวกับลักษณะหรือสมบัติต่าง ๆ เช่น ขนาด รูปร่าง สี ความดัง กลิ่น รส ความหยาบ ความละเอียด ๒. ข้อมูลเชิงปริมาณ คือ ข้อมูลเกี่ยวกับการกะประมาณ เช่น ผลไม้ในตะกร้านี้มีประมาณ ๕๐๐ ผล วัวตัวนี้หนักประมาณ ๒๐๐ กิโลกรัม ฯลฯ ๓. ข้อมูลเชิงการเปลี่ยนแปลง คือ ข้อมูลเกี่ยวกับ การเปลี่ยนแปลงของวัตถุที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติหรือมีสิ่งทา ให้เปลี่ยนไป เช่น การเจริญเติบโตของต้นถั่ว ๔. ลิ้น เป็นการชิมรส ได้แก่ รสหวาน รสเค็ม รสเผ็ด รสขม การชิมรสนั้นต้องระวัง ไม่ชิมสิ่งของที่สกปรกและ มีอันตราย ๕. ผิวกาย เป็นการจับต้องสัมผัส ซึ่งส่วนมากใช้มือ และบอกความรู้สึกที่ได้สัมผัส เช่น ร้อน เย็น อุ่น เรียบ ขรุขระ นิ่ม แข็ง ข้อมูลที่ได้จากการสังเกต แบ่งได้ ๓ ประเภท คือ เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 13. ๙ ๑. ไม่ดูของสีขาวกลางแดด ๒. เสียงที่ดังมากอาจมีอันตรายต่อแก้วหู เช่น เสียงปืนใหญ่ฟูาร้อง เสียงตะโกน ๓. ไม่ชิมของที่สกปรก หรือมีอันตราย เพราะอาจเป็นสิ่งที่เป็น พิษร้ายต่อร่างกายได้ง่าย ๔. การดมกลิ่นสารบางชนิดอาจทาให้เกิดการระคายเคืองต่อร่างกาย ต้องระวังไม่ทดลองสูดดม เช่น กลิ่นพริกคั่ว ๕. ของบางอย่างไม่ควรทดลองจับต้อง เช่น ต้นตาแย สารเคมี ต้นไม้มีหนาม ตัวบุ้ง เป็นต้น ที่มา : สมใจ สมคิด. การพัฒนาแบบฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ขั้นพื้นฐาน สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖. กศ.ม. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต. นครสวรรค์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, ๒๕๔๗. ข้อควรระวังในการใช้การสังเกต เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 14. ๑๐ ใบกิจกรรมที่ ๑ ๑. ให้สมาชิกภายในกลุ่มช่วยกันพิจารณาข้อมูลที่กาหนดให้ แล้วระบุประเภทของข้อมูล เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ และระบุประสาทสัมผัสที่ใช้ในการสังเกต ตัวอย่าง ลาดับที่ วิธีการสังเกต ผลการสังเกต ประเภทข้อมูล ประสาทสัมผัสที่ใช้ 0 ดูยางลบว่ามี ลักษณะอย่างไร ยางลบนี้เป็นรูป สี่เหลี่ยม เชิงคุณภาพ ตา ลาดับที่ วิธีการสังเกต ผลการสังเกต ประเภทข้อมูล ประสาทสัมผัสที่ใช้ 1 ลองชิมรสของเกลือ เกลือมีรสเค็ม 2 ใช้มือสัมผัสผิวของ ก้อนหิน ก้อนหินก้อนนี้มีผิวแข็ง 3 ดมกลิ่นของดอก กุหลาบ ดอกกุหลาบมีกลิ่นหอม 4 ชั่งลาไย 1 ถุงบน เครื่องชั่งน้าหนัก ลาไยถุงนี้หนัก ประมาณ 2 กิโลกรัม 5 ใช้มือบี้ก้อนดินใน แปลง ดินแปลงนี้มีลักษณะ ร่วนซุย 6 ฟังเสียงนกร้อง นกตัวนี้ร้องเสียงดัง 7 นับจานวนคนเข้า ห้องสมุด คนเข้าสมุด ๓0 คน 8 ชิมขนมหวานใน ถ้วย ขนมหวานถ้วยนี้มีรส หวาน 9 บีบฟองน้า ฟองน้าชิ้นนี้มีเนื้อนุ่ม 10 หาคาศัพท์ ภาษาอังกฤษจาก บทเรียน บทเรียนนี้มีคาศัพท์ ภาษาอังกฤษ จานวน ๓0 คา จุดประสงค์ข้อ ๑. ชี้บ่งและบรรยายสมบัติของวัตถุได้โดยการใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างได้ เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 15. ๑๑ ใบกิจกรรมที่ ๒ คาชี้แจง ให้นักเรียนใส่เครื่องหมาย  หน้าข้อที่เป็นการบันทึกการสังเกต ข้อมูลเชิงคุณภาพและใส่เครื่องหมาย  ลงในช่องที่ไม่ใช่การสังเกตข้อมูล เชิงคุณภาพ ตัวอย่าง  ๐. ในกระเป๋ามีผ้าเช็ดหน้าสีชมพู 1. น้ามันเบาลอยน้าได้ ๒. ของเหลวในแก้วใบนี้มีรสหวาน ๓. นาฬิกาเรือนนี้เดินเสียงดัง ติ๊ก ๆ ๔. ผ้าผืนนี้มีสีสวยมาก ๕. กระดาษแผ่นนี้มีผิวเรียบ ๖. น้อยหน่ามีรสฝาด ๗. ลูกบอลในตะกร้ามี ๓ ลูก ๘. กระเป๋าใบนั้นสีลายดอกไม้ ๙. มีดินสอในกระเป๋า ๒ แท่ง 1๐. ห้องเรียนกว้างมาก จุดประสงค์ข้อ ๒. บรรยายสมบัติเชิงคุณภาพของวัตถุได้ หรือหลายอย่างได้ เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 16. ๑๒ ใบกิจกรรมที่ ๓ คาชี้แจง ให้นักเรียนใส่เครื่องหมาย  หน้าข้อที่เป็นการบันทึกการสังเกต ข้อมูลเชิงปริมาณและใส่เครื่องหมาย  ลงในช่องที่ไม่ใช่การสังเกตข้อมูล เชิงปริมาณ ตัวอย่าง  ๐. ปากกาอยู่ใต้โต๊ะ ๓ ด้าม 1. โต๊ะตัวนี้สูงประมาณ ๑.๕๐ เมตร ๒. น้าตาลให้ความหวาน ๓. นักเรียนในห้องสูงเฉลี่ย ๑๕๐ เซนติเมตร ๔. เนื้อหมูก้อนนี้หนัก ๑ กิโลกรัม ๕. อุณหภูมิวันนี้ ๓๕ ๐ C ๖. โทรศัพท์มือถือเครื่องนี้สีฟูา ๗. ลูกบอลในตะกร้ามี ๓ ลูก ๘. ดอกไม้ช่อนี้มีกลิ่นหอม ๙. พี่ให้เงิน ๑๐๐ บาท 1๐. นกตัวนั้นมีสีเขียวและสีแดง จุดประสงค์ข้อ ๓. บรรยายสมบัติเชิงปริมาณของวัตถุโดยการกะประมาณได้ หรือหลายอย่างได้ เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 17. ๑๓ ใบกิจกรรมที่ ๔ จุดประสงค์ข้อ ๔. บรรยายสมบัติเชิงการเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่สังเกตได้ หรือหลายอย่างได้ คาชี้แจง ให้นักเรียนสังเกตการเปลี่ยนแปลงของเทียนไข ก่อนติดไฟ และหลังการติดไฟ ก่อนจุดเทียน ……………………………………………………………….………………………………… ……………………………………………………………….………………………………… ………………………………………………………….……………………………………… …………………………………………………………………………………………………. จุดเทียน ……………………………………………………………….………………………………… ……………………………………………………………….………………………………… ………………………………………………………….……………………………………… …………………………………………………………………………………………………. หลังจุดเทียน ……………………………………………………………….………………………………… ……………………………………………………………….………………………………… ………………………………………………………….……………………………………… …………………………………………………………………………………………………. เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 19. ๑๕ ใบกิจกรรมที่ ๑ ๑. ให้สมาชิกภายในกลุ่มช่วยกันพิจารณาข้อมูลที่กาหนดให้ แล้วระบุประเภทของข้อมูล เป็นข้อมูลเชิงคุณภาพหรือเชิงปริมาณ และระบุประสาทสัมผัสที่ใช้ในการสังเกต ตัวอย่าง ลาดับที่ วิธีการสังเกต ผลการสังเกต ประเภทข้อมูล ประสาทสัมผัสที่ใช้ 0 ดูยางลบว่ามี ลักษณะอย่างไร ยางลบนี้เป็นรูป สี่เหลี่ยม เชิงคุณภาพ ตา ลาดับที่ วิธีการสังเกต ผลการสังเกต ประเภทข้อมูล ประสาทสัมผัสที่ใช้ 1 ลองชิมรสของเกลือ เกลือมีรสเค็ม เชิงคุณภาพ ลิ้น 2 ใช้มือสัมผัสผิวของ ก้อนหิน ก้อนหินก้อนนี้มีผิวแข็ง เชิงคุณภาพ กายสัมผัส 3 ดมกลิ่นของดอก กุหลาบ ดอกกุหลาบมีกลิ่นหอม เชิงคุณภาพ จมูก 4 ชั่งลาไย 1 ถุงบน เครื่องชั่งน้าหนัก ลาไยถุงนี้หนัก ประมาณ 2 กิโลกรัม เชิงปริมาณ ตา 5 ใช้มือบี้ก้อนดินใน แปลง ดินแปลงนี้มีลักษณะ ร่วนซุย เชิงคุณภาพ กายสัมผัส 6 ฟังเสียงนกร้อง นกตัวนี้ร้องเสียงดัง เชิงคุณภาพ หู 7 นับจานวนคนเข้า ห้องสมุด คนเข้าสมุด ๓0 คน เชิงปริมาณ ตา 8 ชิมขนมหวานใน ถ้วย ขนมหวานถ้วยนี้มีรส หวาน เชิงคุณภาพ ลิ้น 9 บีบฟองน้า ฟองน้าชิ้นนี้มีเนื้อนุ่ม เชิงคุณภาพ กายสัมผัส 10 หาคาศัพท์ ภาษาอังกฤษจาก บทเรียน บทเรียนนี้มีคาศัพท์ ภาษาอังกฤษ จานวน ๓0 คา เชิงปริมาณ ตา จุดประสงค์ข้อ ๑. ชี้บ่งและบรรยายสมบัติของวัตถุได้โดยการใช้ประสาทสัมผัสอย่างใดอย่างหนึ่ง หรือหลายอย่างได้ เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 20. ๑๖ ใบกิจกรรมที่ ๒ จุดประสงค์ข้อ ๒. บรรยายสมบัติเชิงคุณภาพของวัตถุได้ หรือหลายอย่างได้ คาชี้แจง ให้นักเรียนใส่เครื่องหมาย  หน้าข้อที่เป็นการบันทึกการสังเกต ข้อมูลเชิงคุณภาพและใส่เครื่องหมาย  ลงในช่องที่ไม่ใช่การสังเกตข้อมูล เชิงคุณภาพ ตัวอย่าง  ๐. ในกระเป๋ามีผ้าเช็ดหน้าสีชมพู  1. น้ามันเบาลอยน้าได้  ๒. ของเหลวในแก้วใบนี้มีรสหวาน  ๓. นาฬิกาเรือนนี้เดินเสียงดัง ติ๊ก ๆ  ๔. ผ้าผืนนี้มีสีสวยมาก  ๕. กระดาษแผ่นนี้มีผิวเรียบ  ๖. น้อยหน่ามีรสฝาด  ๗. ลูกบอลในตะกร้ามี ๓ ลูก  ๘. กระเป๋าใบนั้นสีลายดอกไม้  ๙. มีดินสอในกระเป๋า ๒ แท่ง  1๐. ห้องเรียนกว้างมาก เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 21. ๑๗ ใบกิจกรรมที่ ๓ จุดประสงค์ข้อ ๓. บรรยายสมบัติเชิงปริมาณของวัตถุโดยการกะประมาณได้ หรือหลายอย่างได้ คาชี้แจง ให้นักเรียนใส่เครื่องหมาย  หน้าข้อที่เป็นการบันทึกการสังเกต ข้อมูลเชิงปริมาณและใส่เครื่องหมาย  ลงในช่องที่ไม่ใช่การสังเกตข้อมูล เชิงปริมาณ ตัวอย่าง  ๐. ปากกาอยู่ใต้โต๊ะ ๓ ด้าม  1. โต๊ะตัวนี้สูงประมาณ ๑.๕๐ เมตร  ๒. น้าตาลให้ความหวาน  ๓. นักเรียนในห้องสูงเฉลี่ย ๑๕๐ เซนติเมตร  ๔. เนื้อหมูก้อนนี้หนัก ๑ กิโลกรัม  ๕. อุณหภูมิวันนี้ ๓๕ ๐ C  ๖. โทรศัพท์มือถือเครื่องนี้สีฟูา  ๗. ลูกบอลในตะกร้ามี ๓ ลูก  ๘. ดอกไม้ช่อนี้มีกลิ่นหอม  ๙. พี่ให้เงิน ๑๐๐ บาท  1๐. นกตัวนั้นมีสีเขียวและสีแดง เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 22. ๑๘ ใบกิจกรรมที่ ๔ จุดประสงค์ข้อ ๔. บรรยายสมบัติเชิงการเปลี่ยนแปลงของสิ่งที่สังเกตได้ หรือหลายอย่างได้ คาชี้แจง ให้นักเรียนสังเกตการเปลี่ยนแปลงของเทียนไข ก่อนติดไฟ และหลังการติดไฟ ก่อนจุดเทียน ลักษณะเทียนสีขาว เป็นแท่งทรงกระบอก ไส้เทียนสีขาว จุดเทียน ลักษณะไส้เทียนถูกไหม้ มีเปลวไฟสีเหลือง มีควันสีดา หลังจุดเทียน ลักษณะเป็นทรงกระบอกสีขาว มีน้าตาเทียน ไส้เทียนสีดา เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 23. ๑๙ แบบทดสอบหลังเรียน คาชี้แจง ให้นักเรียนเขียนเครื่องหมาย () ทับข้อ ก ข ค หรือ ง ที่เป็นคาตอบที่ถูกต้องที่สุด เพียงคาตอบเดียว ๑. คากล่าวในข้อใดต่อไปนี้ที่จัดว่า เป็นผลจากการสังเกตที่เชื่อถือได้ ก. ดอกไม้ดอกนี้หอมมาก ข. สีเขียวเป็นสีที่สวยกว่าสีอื่น ค. เพลงที่บรรเลงอยู่ขณะนี้เพราะที่สุด ง. ดวงอาทิตย์ให้แสงสว่างมากกว่าดวงจันทร์ ๒. วัตถุก้อนหนึ่งมีสีดา ผิวเรียบแข็ง เมื่อเคาะกับโต๊ะมีเสียงดัง จากข้อความ ดังกล่าวมีการใช้ประสาทสัมผัสอะไรในการสังเกตบ้าง ก. หู ตา ข. หู ตา กาย ค. หู ตา จมูก ลิ้น ง. ใจ กาย ลิ้น จมูก ตา ๓. ข้อมูลใดที่เป็นการสังเกตเชิงปริมาณ ก. ขนมก้อนนี้ผิวหยาบ ข. ถุงนมนี้หนักประมาณ ๑,๐๐๐ กรัม ค. ฟองน้าอันนี้นุ่ม ง. ไม้บรรทัดอันนี้สีชมพู ๔. ข้อใดเป็นผลที่ได้จากการสังเกต การบีบดินน้ามันด้วยมือ ก. สีของดินน้ามันเปลี่ยนไป ข. ดินน้ามันยังคงสภาพเดิม ค. ดินน้ามันยุบลงไป เป็นรูปนิ้วมือ ง. มีเสียงเกิดขึ้นในขณะที่บีบดินน้ามัน เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 24. ๒๐ ๕. ข้อใดเป็นการใช้ประสาทสัมผัสทางกาย ก. บอลลูกนี้นิ่มมาก ข. บอลลูกนี้สีเหลือง ค. บอลลูกนี้หนักมาก ง. บอลลูกนี้ได้รับบริจาคมา ๖. ข้อใดเป็นสิ่งที่สังเกตได้จากการเปุาอากาศเข้าไปในลูกโปุง ก. ลูกโปุงพองออก ข. อากาศในลูกโปุงมีแรงดัน ค. ถ้าอากาศเข้าไปมาก ๆ ลูกโปุงอาจจะแตกได้ ง. หลังจากเปุาแล้ว ลูกโปุงจะมีน้าหนักมากขึ้น ๗. ข้อใดเป็นการสังเกต ก. ใครไม่ชอบกีฬา ข. คนเสียงดังไม่ดี ค. รถครูจิตสีดา ง. น้องฟันผุเพราะชอบกินลูกอม ๘. เชือกเส้นใดสั้นที่สุด ก. ข. ค. ง. ๙. “ใครทอดหมูนะ” ใช้ประสาทสัมผัสส่วนใด ในการรับรู้ ก. หู ข. ตา ค. จมูก ง. ลิ้น ๑๐. ไส้เทียบไขเปลี่ยนจากสีขาวเป็นสีดา ผลจากการสังเกตดังกล่าวนี้ เป็นข้อมูลประเภทใด ก. ข้อมูลเชิงปริมาณ ข. ข้อมูลเชิงคุณภาพ ค. ข้อมูลจากการเปลี่ยนแปลง ง. ข้อมูลที่เกิดจากการคาดคะเน เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 25. ข้อ ก ข ค ง ๑. ๒. ๓. ๔. ๕. ๖. ๗. ๘. ๙. ๑๐. ๒๑ กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรียน คะแนนเต็ม คะแนนที่ได้ ๑๐ .............. คะแนน คะแนน น้อง ๆ ทาได้กี่คะแนนครับ เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 26. ๒๒ เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน ๑. ข ๒. ข ๓. ค ๔. ง ๕. ก ๖. ค ๗. ก ๘. ข ๙. ค ๑๐. คเผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 27. ๒๓ เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน ๑. ง ๒. ข ๓. ข ๔. ค ๕. ก ๖. ก ๗. ค ๘. ข ๙. ค ๑๐. ค เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com
  • 28. ๒๔ บรรณานุกรม ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์. http://www.sa.ac.th/multimedia/pa_khuan/a.htm. บุญถึง แน่นหนา. โครงงานวิทยาศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊ค, ๒๕๔๒. วราภรณ์ ถิรศิริ. หนังสือส่งเสริมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ “การใช้เกมในการเรียนการสอน วิทยาศาสตร์ ป.๕- ๖ . กรุงเทพฯ : สานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งชาติ, ม.ป.ป. วินัย พัฒนรัฐ และคณะ. กิจกรรมวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖. กรุงเทพฯ : ประสานมิตร จากัด, ๒๕๓๗. ศึกษาธิการ, กระทรวง. โครงงานวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๔๔. สมใจ สมคิด. การพัฒนาแบบฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐาน สาหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖. กศ.ม. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต. นครสวรรค์ : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, ๒๕๔๗. เผยแพร่บนเว็บไซต์ www.kroobannok.com