SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
ก่อนที่จะการหรือทาการปรับแต่งใดๆ คุณจะต้องเลือกออบเจ็คหรือ
บริเวณที่ต้องการเสียก่อน โดยใช้เครื่องมือหรือเทคนิคต่างๆที่กล่าวต่อไป ซึ่งออบ
เจ็คที่ถูกเลือกอยู่จะมีการแสดงผลแตกต่างจากออบเจ็คปกติ
ออบเจ็คแบบ Merge Drawing
สาหรับออบเจ็คแบบ Merge Drawing คุณสามารถแยกเลือก
เฉพาะเส้น สีพื้น หรือเพียงบางส่วนของเส้นและสีพื้นก็ได้ ซึ่งพื้นที่ที่ถูกเลือกจะ
แสดงด้วยจุดเล็กๆ
ออบเจ็คแบบ Object Drawing และ Group
สาหรับออบเจ็คแบบ Object Drawing หรือ ออบเจ็คที่ถูกรวมกลุ่มไว้
(Group) การเลือกจะต้องเลือกทีเดียวทั้งชิ้นเสมอ โดยออบเจ็คที่ถูกเลือกจะ
แสดงเส้นขอบสี่เหลี่ยมขึ้นมา (หากต้องการเลือกพื้นที่บางส่วนของ) Object
Drawing ให้ดับเบิ้ลคลิกบนออบเจ็คแล้วจะสามารถเลือกแบบ Merge Drawing
ได้
ออบเจ็คแบบ Primitive
เฉพาะออบเจ็คที่วาดด้วยเครื่องมือ Rectangle Primitive
หรือ Oval Primitive เมื่อถูกเลือกแล้วจะแสดงเส้นขอบสี่เหลี่ยมและจุด
ควบคุมที่ใช้สาหรับดัดแปลงรูปทรงขึ้นมาด้วย
ภาพบิทแมพ
ภาพบิทแมพที่ถูกเลือกจะแสดงเส้นสีเทาลายจุดเล็กๆ
เป็ นขอบสี่เหลี่ยมรอบรูปภาพ
เครื่องมือ Selection .ใช้สาหรับเลือกออบเจ็ค ซึ่งทาได้หลายแบบไม่ว่า
จะเป็ นการเลือกทั้งชิ้นงาน หลายชิ้น หรือเลือกเพียงบางส่วนก็ตาม วิธีใช้ให้คลิก
เครื่องมือ Selection (คีย์ลัด V) แล้วคลิก, ดับเบิลคลิกหรือคลิกลากเมาส์ ซึ่ง
แบ่งเป็ นหลายกรณี ดังนี้
เลือกออบเจ็คแบบ Merge Drawing
เลือกเฉพาะเส้น
ให้คลิกบนส่วนของเส้นที่ต้องการ หากดับเบิลคลิกบนเส้นจะเป็ นการ
เลือกเส้นทั้งหมดที่เชื่อมกัน
เลือกเฉพาะพื้น
ให้คลิกบนสีพื้นที่ต้องการหากพื้นมีหลายสีโปรแกรมจะเลือกเฉพาะใน
ขอบเขตสีที่คลิกเท่านั้น
เลือกทั้งพื้นและเส้น
ให้ดับเบิลคลิกบนสีพื้นออบเจ็คจะถูกเลือกตามขอบเขตของเส้นรอบ
รูปทรงนั้นเป็ นหลัก
เลือกออบเจ็คทั้งชิ้นหรือหลายชิ้น
ให้คลิกลากเมาส์จากพื้นที่ว่างบนสเตจหรือ Pasteboard โดยให้
ครอบคลุมออบเจ็คทั้งชิ้น
เลือกบางส่วนของออบเจ็ค
ให้คลิกลากเมาส์จากพื้นที่ว่างบนสเตจหรือ Pasteboard โดยให้ครอบคลุมเฉพาะ
พื้นที่ที่ต้องการ
เลือกออบเจ็คแบบ Object Drawing, Group และ Primitive
ให้คลิกบนเส้นหรือสีพื้นของออบเจ็คก็ได้ จะปรากฏเส้นขอบล้อมรอบ
รูปทรง
- การเลือกออบเจ็คทั้งหมด ทั้งที่อยู่บนสเตจและ Pasteboard ให้ใช้
คาสั่ง Edit > Select All หรือกดคีย์ Ctrl + A
- การยกเลิกการเลือกออบเจ็ค ให้ใช้คาสั่ง Edit > Deselect All หรือ
กดคีย์ Esc หรือถ้ากาลังเลือกเครื่องมือ Selection อยู่ ก็คลิกบนที่ว่างของสเตจ
Lasso เป็ นเครื่องมือที่เหมาะสมสาหรับใช้เลือกพื้นที่บางส่วนของ
รูปทรงแบบ Merge Drawing โดยวิธีลากอย่างอิสระ (freehand) หรือลากแบบ
เส้นตรง (Straight-edge) ก็ได้
เป็ นการเลือกพื้นที่อย่างอิสระด้วยวิธีคลิกลากเมาส์ไปรอบๆบริเวณที่
ต้องการ โดยถ้าจุดที่ปล่อยเมาส์อยู่ห่างจากจุดเริ่มต้น โปรแกรมจะปิ ดพื้นที่
การเลือกให้เองด้วยเส้นตรงจากจุดสุดท้ายไปยังจุดเริ่มต้น
เป็ นการตีกรอบรอบบริเวณที่ต้องการเลือกด้วยเส้นตรง
เลือกสีบนภาพบิทแมพ
เมื่อมีการเติมสีพื้นของออบเจ็คแบบ Merge Drawing ด้วยภาพบิทแมพ
คุณก็สามารถเลือกสีบนภาพนั้นได้โดยใช้ออปชั่น Magic Wand ของเครื่องมือ
Lasso ซึ่งสีที่ถูกเลือกก็คือสีของจุดที่คลิกรวมทั้งพื้นที่ที่ต่อเนื่องและมีสีใกล้เคียง
กัน
ออปชั่นการทางานของ Magic Wand
คุณสามารถปรับแต่งการทางานของ Magic Wand เพื่อกาหนด
ความแตกต่างสีของบริเวณที่ถูกเลือก และปรับลักษณะขอบของบริเวณดังกล่าว
ได้ โดยใช้ออปชั่นบนไดอะล็อกบ็อกซ์ Magic Wand Settings ดังนี้
- Threshold กาหนดระดับความแตกต่างของสีที่จะทาให้พิกเซล
ที่อยู่ใกล้เคียงถูกเลือกไปพร้อมกัน ซึ่งใช้ค่าได้ตั้งแต่ 0-200 โดยค่าที่
สูงขึ้นจะทาให้พิกเซลที่ถูกเลือกมีสีแตกต่างกันมากตามไปด้วย
- Smoothing กาหนดความเรียบของขอบบริเวณที่ถูกเลือก โดย
มีตัวเลือกตั้งแต่หยาบไปจนถึงเรียบที่สุดให้ 4 แบบคือ Pixels, Rough,
Normal และ Smooth
หลังจากเลือกออบเจ็คแล้ว คุณก็สามารถดาเนินการใดๆกับออบ
เจ็คนั้นได้ ไม่ว่าจะเป็ นการเคลื่อนย้าย ก๊อปปี้ หรือลบออบเจ็ค
เคลื่อนย้ายออบเจ็ค
เมื่อเลือกออบเจ็คแล้ว คุณสามารถเคลื่อนย้ายออบเจ็คนั้นไปยัง
ตาแหน่งต่างๆได้ดังนี้
- ใช้เครื่องมือ Selection คลิกลากออบเจ็คไปยังตาแหน่งใหม่ ถ้า
ต้องการบังคับให้ออบเจ็คย้ายตาแหน่งไปในแนวตั้ง แนวนอน หรือเป็ นมุม 45
องศาก็ให้กดคีย์ Shift ร่วมด้วย
- กดคีย์ลูกศร ขึ้น ลง ซ้าย ขวา ตามทิศทางที่ต้องการ ออบเจ็คจะ
เลื่อนไปครั้งละ 1 พิกเซลของจอภาพขณะนั้น (การซูมภาพมีผลต่อระยะการ
เคลื่อนที่) แต่ถ้าหากกาหนดการ Snapping ไว้ (View > Snapping > Snap to
Pixels) ออบเจ็คจะเลื่อนไปครั้งละ 1 พิกเซลตามขนาดจริงของสเตจ
นอกจากนี้ถ้ากดคีย์ Shift ร่วมด้วยก็จะเลื่อนไปครั้งละ 10 พิกเซล
เคลื่อนย้ายออบเจ็คด้วยวิธีกาหนดตาแหน่ง
โดยระบุตาแหน่งใหม่ของออบเจ็คในแนวนอน (X) และแนวตั้ง (Y)
บนพาเนล Info ซึ่งหน่วยจะเหมือนกับบนไม้บรรทัด (ตามปกติคือพิกเซล)
ก๊อปปี้ ออบเจ็ค
ก๊อปปี้ ภายในเลเยอร์และซีนเดียวกัน
การก๊อปปี้ ออบเจ็คเพื่อใช้ภายในเลเยอร์และซีนเดียวกัน
ของไฟล์ที่ทางานอยู่ เมื่อคลิกเลือกออบเจ็คที่ต้องการแล้วจะทาได้โดย
ก๊อปปี้ ด้วยคาสั่ง Duplicate
คลิกคาสั่ง Edit > Duplicate หรือกดคีย์ Ctrl + D จะได้
ออบเจ็คใหม่ที่เหมือนกับออบเจ็คต้นฉบับวางซ้อนอยู่ด้านบนไปเรื่อยๆตาม
จานวนครั้งของการกดคีย์
ก็อปปี้ และย้ายตาแหน่งพร้อมกัน
กดคีย์ Ctrl หรือ Alt ค้างไว้แล้วใช้เครื่องมือ Selection คลิกลาก
ออบเจ็คไปวางยังตาแหน่งใหม่
ก๊อปปี้ ออบเจ็คระหว่างเลเยอร์ ซีน หรือไฟล์
เมื่อต้องการจะก๊อปปี้ ออบเจ็คจากเลเยอร์หนึ่งไปยังอีกเล
เยอร์หนึ่ง, ซีนหนึ่งไปยังอีกซีนหนึ่ง หรือไฟล์หนึ่งไปยังอีกไฟล์หนึ่งก็ตาม จะ
ทาได้ดังนี้
ก๊อปปี้ ออบเจ็คระหว่างเลเยอร์ ซีน หรือไฟล์ (ต่อ)
1. เปิ ดไฟล์ต้นฉบับ
2. เลือกออบเจ็ค
3. คลิกคาสั่ง Edit > Copy > (คีย์ลัด Ctrl + C)
4. เปิ ดไฟล์ปลายทางหรือเลือกเลเยอร์ปลายทางหรือเลือกซีนปลาย
ทาง
5. คลิกคาสั่ง Edit > Paste in Center (คีย์ลัด Ctrl + V ภาพจะถูกวาง
อยู่ตรงกลางวินโดว์)
การวางออบเจ็คด้วยคาสั่งอื่นๆ
นอกจากคาสั่ง Paste in Center แล้วคุณสามารถวางออบเจ็คด้วย
คาสั่งอื่นๆอีกดังนี้
- Edit > Paste in Place (คีย์ลัด Ctrl + Shift + V) ออบเจ็คจะถูกวางใน
ตาแหน่ง เดียวกับต้นฉบับ
- Edit > Paste Special จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ แล้วคลิกปุ่ ม OK
การลบออบเจ็คจะทาให้ออบเจ็คนั้นหายไปจากไฟล์ แต่ในกรณีลบ
ออบเจ็คที่เป็ นอินสแตนซ์จะไม่มีผลต่อซิมโบลที่อยู่ในไลบรารี (เนื่องจาก
อินสแตนซ์เป็ นสาเนาของซิมโบลนั้นเอง) วิธีลบให้คุณเลือกออบเจ็คที่ต้องการ
แล้วใช้วิธีใดวิธีหนึ่งดังนี้
- คลิกคาสั่ง Edit > Clear
- กดคีย์ BkSp (Backspace) หรือคีย์ Delete
- ดับเบิลคลิกที่เครื่องมือ Eraser จะเป็ นการลบออบเจ็คทั้งหมด
บนสเตจ
การล็อคออบเจ็คจะช่วยป้ องกันไม่ให้ออบเจ็คนั้นถูกเลือก, แก้ไข
ปรับแต่งหรือเปลี่ยนตาแหน่งได้ และจะช่วยให้คุณเปลี่ยนตาแหน่งได้ และ
จะช่วยให้คุณเลือกออบเจ็คที่อยู่ใกล้เคียงได้ง่ายขึ้น ออบเจ็คที่สามารถล็อค
ได้นั้นจะต้องเป็ นอินสแตนซ์, ออบเจ็คแบบ Object Drawingหรือออบเจ็คที่
ถูกรวมกลุ่ม (group) ไว้
วิธีปลดล็อคออบเจ็ค
ให้คลิกคาสั่ง Modify > Arrange > Unlock All (คีย์ลัด Ctrl
+ Alt + Shift + L) จะเป็ นการปลดล็อคออบเจ็คทั้งหมดที่ถูกล็อคไว้
การจัดการออบเจ็คที่มีองค์ประกอบย่อยหลายๆชิ้น เช่น การเลือก
หรือเคลื่อนย้ายจะมีความยุ่งยากมากขึ้น ดังนั้นคุณจึงควรรวมกลุ่ม (Group)
องค์ประกอบย่อยเหล่านั้นให้เป็ นออบเจ็คเพียงชิ้นเดียว ซึ่งจะทาให้สามารถ
เลือกหรือเคลื่อนย้ายออบเคนั้นได้อย่างสะดวก โดยออบเจ็คที่นามารวมจะ
เป็ นออบเจ็คแบบใดก็ได้ เช่น Merge Drawing, Object Drawing, ข้อความ
หรือออบเจ็คที่รวมกลุ่มไว้แล้วก็ได้
แก้ไขออบเจ็คภายในกลุ่ม
แม้ว่าออบเจ็คจะถูกรวมกลุ่มไว้ คุณก็ยังสามารถแก้ไขออบ
เจ็คย่อยภายในกลุ่มได้โดยไม่จาเป็ นต้องใช้คาสั่งแยกกลุ่มออกมาก่อน
แยกกลุ่มออบเจ็ค (Ungroup)
การแยกกลุ่มจะทาให้ออบเจ็คต่างๆในกลุ่มนั้นย้อนกลับไปมี
สภาพเหมือนกับก่อนที่จะทาการรวมกลุ่ม โดยซึ่งทาได้โดยคาสั่ง Ungroup
การแยกส่วนประกอบของออบเจ็ค เช่น ข้อความ ภาพบิทแมพ อิ
รสแตนซ์ของซิมโบล ลัออบเจ็คแบบ Object Drawing ออกเป็ นส่วนย่อยๆ
นั้น จะใช้ในกรณีที่ต้องการแก้ไขและปรับแต่งรายละเอียดของออบเจ็คย่อย
เหล่านั้น เช่น ปรับบิดตัวอักษร ลบภาพบิทแมพบางส่วนออก หรือแก้ไขสี
ของอินสแตนซ์ เป็ นต้น
วิธีการแยกส่วนทาได้โดยคลิกเลือกออบเจ็คที่ต้องการ แล้วคลิก
คาสั่ง Modify >Break Apart ซึ่งคาสสั่งนี้จะมีผลต่อออบเจ็คแต่ละประเภท
ต่างกัน
อินสแตนซ์
จะตัดความสัมพันธ์ของอินสแตนซ์ออกจากซิมโบล
ต้นแบบ เพื่อให้สามารถแก้ไขอินสแตนซ์ได้อย่างอิสระจากซิมโบลต้นแบบ
ออบเจ็คแบบ Object Drawing
จะกลายเป็ นออบเจ็คแบบ Merge Drawing
ข้อความ
จะทาให้ข้อความถูกแยกออกเป็ นตัวอักษรแต่ละตัว โดย
มีกรอบ text block ที่แยกกัน ทาให้สามารถสร้างเอฟเฟ็คให้ตัวอักษรแต่ละ
ตัวได้ (ตัวอักษรเหล่านี้ยังสามารถแก้ไขได้ด้วยการพิมพ์)
ตัวอักษร
เมื่อมีการแยกส่วนตัวอักษรเดี่ยวๆ จะถูกแปลงเป็ น
รูปทรงแบบ Merge Drawing ทั่วไป ซึ่งไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยการพิมพ์
อีกต่อไป
ภาพบิทแมพ
จะเปลี่ยนภาพบิทแมพไปเป็ นรูปทรงสี่เหลี่ยมแบบ
Merge Drawing ที่มีสีพื้น (fill) เป็ นภาพบิทแมพ เพื่อให้คุณสามารถแก้ไข
หรือปรับแต่งเพิ่มเติมได้เหมือนกับรูปทรงแบบเวคเตอร์ทั่วไป
ออบเจ็คที่วาดขึ้นหรือนามาวางบนสเตจจะมีการเรียงซ้อนกัน
ตามลาดับ โดยออบเจ็คที่สร้างหลังสุดจะอยู่เหนือออบเจ็คอื่นๆทั้งหมด ซึ่ง
ลาดับชั้นเหล่านี้จะมีผลต่อการมองเห็นของผู้ชม เพราะออบเจ็คที่อยู่ชั้นบน
จะบังออบเจ็คชั้นล่างๆ ลงมา คุณสามารถจัดลาดับชั้นของออบเจ็คต่างๆ
ได้ตามต้องการ ยกเว้นรูปทรงแบบ Merge Drawing ซึ่งจะอยู่ล่างสุดเสมอ
หากต้องการจัดลาดับชั้นออบเจ็คประเภทนี้ จะต้องรวบรวมกลุ่มหรือแปลง
เป็ นซิมโบลก่อน
วิธีจัดลาดับชั้น
วิธีจัดลาดับชั้นของออบเจ็ค มีขั้นตอนดังนี้
1. เลือกออบเจ็ค
2. คลิกคาสั่ง Modify > Arrange > เลือกคาสั่ง
คาสั่งจัดลาดับชั้น
มีทั้งหมด 4 คาสั่งดังนี้
- Bring to Front (คีย์ลัด Ctrl + Shift + ลูกศรขึ้น) เพื่อเลื่อนออบเจ็ค
ขึ้นมาอยู่ชั้นบนสุด
- Bring Forward (คีย์ลัด Ctrl + ลูกศรขึ้น) เพื่อเลื่อนออบเจ็คขึ้นมา 1 ชั้น
- Send Backward (คีย์ลัด Ctrl + ลูกศรลง) เพื่อเลื่อนออบเจ็คลงไป 1 ชั้น
- Send to Back (คีย์ลัด Ctrl + Shift + ลูกศรลง) เพื่อเลื่อนออบเจ็คลงไป
ชั้นล่างสุด
ก่อนอื่นให้คุณแสดงพาเนล Align โดยคลิกคาสั่ง Window > Align
(คีย์ลัด Ctrl + K) แล้วทาขั้นตอนการวางออบเจ็คหลายๆ ชิ้นให้เรียงเป็ น
ระเบียบสวยงามนั้น ถ้าใช้วิธีคลิกลากไปวางแบบกะระยะเองทีละชิ้นจะทาให้
เสียเวลา
และตาแหน่งอาจไม่ตรงกัน วิธีที่ดีที่สุดคือใช้คาสั่งจากพาเนล Align ซึ่ง
จะช่วยให้คุณจัดเรียงออบเจ็คให้เป็ นระเบียบ มีระยะห่าง ขนาด และตรงแนว
ตามที่ต้องการ ดังต่อไปนี้
คาสั่งจัดเรียงออบเจ็ค
คาสั่งบนพาเนล Align แบ่งออกเป็ น 5 กลุ่มดังนี้
- Align จัดเรียงออบเจ็คตามแนวตั้งและแนวนอน
จัดชิดขอบด้านซ้ายให้ตรงกัน
จัดกึ่งกลางให้ตรงกันตามแนวตั้ง
จัดชิดขอบด้านขวาให้ตรงกัน
จัดชิดด้านบน
จัดกึ่งกลางให้ตรงกันตามแนวนอน
จัดชิดด้านล่าง
- Distribute จัดเรียงออบเจ็ค (ต้องเลือกออบเจ็คไว้ตั้งแต่ 3 ชิ้นขึ้นไป) ให้มี
ระยะห่างที่เท่ากันตามแนวตั้งหรือแนวนอน
จัดระยะห่างจากขอบบน ของแต่ละออบเจ็คให้เท่ากัน
จัดระยะห่างจากจุดกึ่งกลาง ของแต่ละออบเจ็คให้เท่ากันตามแนวตั้ง
จัดระยะห่างจากขอบล่าง ของแต่ละออบเจ็คให้เท่ากัน
จัดระยะห่างจากขอบซ้าย ของแต่ละออบเจ็คให้เท่ากัน
จัดระยะห่างจากจุดกึ่งกลาง ของแต่ละออบเจ็คให้เท่ากันตาม
แนวนอน
จัดระยะห่างจากขอบขวา ของแต่ละออบเจ็คให้เท่ากัน
- Match size ปรับขนาดออบเจ็คให้เท่ากันตามความกว้างหรือความสูง
ปรับความกว้างให้เท่ากับออบเจ็คที่กว้างที่สุด
ปรับความสูงให้เท่ากับออบเจ็คที่สูงที่สุด
ปรับความกว้างและความสูงให้เท่ากับออบเจ็คที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
- Space จัดเรียงออบเจ็ค (ตั้งแต่ 3 ชิ้นขึ้นไป) โดยให้มีช่องว่างระหว่าง
ขอบออบเจ็คที่เท่ากันในแนวตั้งหรือแนวนอน
จัดช่องว่างระหว่างขอบออบเจ็คเท่าๆกันตามแนวตั้ง
จัดช่องว่างระหว่างขอบออบเจ็คเท่าๆกันตามแนวนอน
- To stage เป็ นตัวเลือกเพื่อกาหนดให้คาสั่งทั้งหมดในพาเนลนี้ ทาการ
จัดเรียงโดยยึดพื้นที่ของสเตจเป็ นหลัก ซึ่งหากไม่เลือกจะเป็ นการ
เปรียบเทียบกันระหว่างออบเจ็คในชุด
นอกจากการใช้คาสั่งบนพาเนล Align แล้ว คุณยังสามารถ
จัดเรียงออบเจ็คได้โดยใช้คาสั่ง Modify > Align > เลือกคาสั่ง ซึ่งจะมีคาสั่ง
ต่างๆ เหมือนกันกับบนพาเนล Align ที่ได้อธิบายไว้ข้างต้น
หลังจากวาดรูปด้วยเครื่องมือวาดพื้นฐานต่างๆ ดังที่กล่าวมาแล้ว
ในบทที่ 3 คุณยังสามารถปรับแต่งแนวเส้น และแนวขอบของรูปทรงเพิ่มเติม
ได้อีก โดยใช้เครื่องมือ Selection และคาสั่งอื่นๆจากเมนู ไม่ว่าจะเป็ นการดึง
เส้นหรือขอบให้ลักษณะของรูปทรงเปลี่ยนไป ตลอดจนการปรับแนวเส้นและ
แนวขอบให้เรียบหรือตรงมากขึ้น แต่คาสั่งเหล่านี้จะไม่สามารถใช้กับออบ
เจ็คที่รวมกลุ่มแล้ว และออบเจ็คแบบ Primitive
ปรับเปลี่ยนเส้นขอบรูปทรงด้วยเครื่องมือ Selection
เครื่องมือนี้มีคุณสมบัติหลายอย่าง แต่ในที่นี้จะมาดูกันถึง
คุณสมบัติในการปรับแต่งแนวเส้นและแนวขอบของรูปทรง เพื่อให้ได้รูปทรง
ตรงตามลักษณะที่ต้องการใช้งาน โดยมีขั้นตอนดังต่อไปดังนี้
ปรับเปลี่ยนเส้นขอบรูปทรงด้วยเครื่องมือ Selection (ต่อ)
1.คลิกเครื่องมือ Selection (คีย์ลัด V)
2.คลิกพื้นที่ว่างของสเตจ (หากออบเจ็คถูกเลือกอยู่)
3.ชี้เมาส์ตามส่วนต่างๆที่เป็ นแนวเส้นหรือแนวขอบของรูปทรง
(สังเกตรูปเมาส์ที่เปลี่ยนไป)
4.คลิกลากปรับรูปทรงตามต้องการโดยแยกเป็ นกรณีต่างๆ ดังหัวข้อ
ต่อไป
ในที่นี้ แนวเส้น หมายถึงเส้น (stroke) รอบรูปทรงที่มีสีเส้น ส่วน แนว
ขอบ หมายถึงขอบของรูปทรงที่
มีแต่สีพื้น (fill) โดยไม่มีเส้น ซึ่งทั้ง 2 อย่างนี้สามารถปรับได้เช่นเดียวกัน
ปรับส่วนโค้ง
การปรับเส้นหรือขอบรูปทรงให้โค้งมากขึ้นหรือลดลง ทาได้โดยชี้ที่
เส้นหรือขอบเส้นหรือขอบแล้วใช้เมาส์รูปโค้งคลิกลากปรับความโค้ง ซึ่งแม้ว่า
เดิมเส้นนั้นจะเป็ นเส้นตรงมันก็จะถูกปรับให้เป็ นเส้นโค้งได้
เพิ่มจุดมุม
ถ้าต้องการสร้างมุมใหม่ให้กับรูปทรง ให้กดคีย์ Ctrl ค้างไว้
แล้วใช้เมาส์รูปโค้ง คลิกลาก (จากนั้นเมาส์จะเปลี่ยนเป็ นรูป สี่เหลี่ยม) ทั้งนี้
ลักษณะของมุมที่ได้จะขึ้นกับชนิดของจุดแองเคอร์ข้างคียง
ย้ายจุดปลายเส้นหรือจุดมุม
การย้ายปลายเส้น (กรณีรูปทรงปลายเปิ ด) หรือมุมของ
รูปทรง ให้เลื่อนเมาส์ไปชี (เมาส์จะเป็ นรูป สี่เหลี่ยม) แล้วคลิกลากย้ายตาม
ต้องการ
ลดรอยหยักของรูปทรงด้วยคาสั่ง Smooth
แนวเส้นหรือแนวขอบของรูปทรงที่วาดไว้ไม่เรียบ เช่น ภาพที่
วาดด้วยเครื่องมือ Pencil หรือฺ Brush คุณสามารถปรับลดจานวนจุดแองเคอร์
และส่วนโค้งย่อยๆ ซึ่งจะมีผลทาให้รอยหยักลดลง และได้แนวเส้นที่เรียบขึ้น
ทาให้ปรับแต่งด้วยเครื่องมือ Selection ดังกล่าวในหัวข้อที่ผ่านมาได้ง่ายขึ้น
ปรับส่วนโค้งให้เป็ นเส้นตรงด้วยคาสั่ง Straighten
เป็ นการปรับแนวเส้นหรือแนวขอบของรูปทรงที่วาดไว้ไม่
เรียบหรือเป็ นส่วนโค้ง ให้กลายเป็ นเส้นตรงโดยส่วนที่ตรงอยู่แล้วจะไม่ได้รับ
ผลกระทบใดๆ นอกจากนี้หากรูปทรงดังกล่าวมีลักษณะใกล้เคียงกับรูปทรง
เรขาคณิต เช่น วงรี วงกลม หรือสี่เหลี่ยม ก็จะถูกปรับให้เป็ นรูปทรง
เรขาคณิตที่สมบูรณ์โดยอัตโนมัติ
ลดทอนส่วนโค้ง (Optimize)
เป็ นการปรับแนวเส้นหรือแนวขอบของรูปทรงโดย
ลดทอน (optimize) จานวนชุดแองเคอร์และส่วนโค้งย่อยๆที่ประกอบกัน
เป็ นรูปทรงอีกวิธีหนึ่ง ซึ่งนอกจากจะทาให้ได้แนวเส้นที่เรียบขึ้นแล้ว ยัง
ส่งผลให้ไฟล์เอกสาร Flash (.fla) และไฟล์มูฟวี่ (.swf) มีขนาดเล็กลงด้วย
ออปชั่นของคาสั่ง Optimize
- Smoothing เลื่อนสไลเดอร์เพื่อกาหนดระดับความเรียบ โดยหาก
เลื่อนไปทางขวา (Maximum) จานวนจุดแองเคอร์และส่วนโค้งจะยิ่งลดลงแต่
ก็จะทาให้รูปทรงเปลี่ยนแปลงมากขึ้นตามไปด้วย
- Use multiple passes ให้ทาการปรับซ้าไปเรื่อยๆ จนกว่าจะไม่
เกิดผลใดๆ อีก (ให้ผลเหมือนการใช้คาสั่งนี้ซ้าหลายๆครั้ง)
- Show totals message ให้แสดงข้อมูลสรุปผลเมื่อทางานเสร็จสิ้น
การปรับขนาดเพื่อให้ออบเจ็คมีขนาดใหญ่ขึ้นหรือเล็กลงนั้น
สามารถทาได้หลายวิธีไม่ว่าจะเป็ นการปรับจาก Property inspector ปรับ
จากพาเนล Transform หรือ ปรัด้วยเครื่องมือ Free Transform ก็ได้เช่นกัน
โดยแต่ละวิธีมีรายละเอียดดังนี้
ปรับขนาดจาก Property inspector หรือพาเนล Info
การปรับจากพาเนลทั้งสองนี้ทาได้โดยกาหนดค่าความกว้าง (W)
และสูง (H) ใหม่ลงไป ซึ่งจะมีหน่วยตามที่กาหนดบนไม้บรรทัด (ตามปกติ
คือ พิกเซล) โดยหลังจากเลือกออบเจ็คแล้วให้กาหนดค่าในพาเนลดังนี้
ปรับขนาดจากพาเนล Transform
เป็ นการปรับแบบเทียบสัดส่วนของออบเจ็คเดิม โดยขนาดเดิมถือ
เป็ น 100 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้นถ้าใช้คาน้อยกว่าเดิมจะลดขนาด แต่ถ้าใช้ค่า
มากกว่าเดิมจะขยายขนาด
หากต้องการปรับความกว้างและความสูงด้วยเปอร์เซ็นต์ที่ต่างกัน
ให้คลิกยกเลิกตัวเลือก Constrain ออกก่อนจึงป้ อนตัวเลขเปอร์เซ็นต์
ปรับขนาดด้วยเครื่องมือ Free Transform หรือคาสั่ง Scale
เป็ นการปรับด้วยวิธีคลิกเมาส์ ซึ่งในการทางานนั้นคุณอาจใช้
เครื่องมือ Free Transform ในทูลพาเนล หรือใช้คาสั่ง Scale จากเมนูก็ได้
เช่นกัน
เทคนิคการปรับ
เมื่อใช้เครื่องมือ Free Transform เลือกออบเจ็ค (ชิ้นเดียว
หรือหลายชิ้นก็ได้) จะปรากฏรอบภาพ (bounding box) รอยรูปทรง ให้คุณชี้
เมาส์ที่ปุ่ มสี่เหลี่ยมปุ่ มใดปุ่ มหนึ่ง (เมาส์จะเปลี่ยนเป็ รรูป ลูกศรซ้ายขวา) แล้ว
คลิกลากออกด้านนอกรูปทรงเพื่อขยาย หรือ คลิกลากเข้าด้านในเพื่อย่อ
สาหรับปุ่ มต่างๆจะสัมพันธ์กับการปรับขนาดแต่ละด้านดังภาพ
การปรับหมุนออบเจ็คสามารถทาได้โดยกาหนดค่าในพาเนล
Transform หรือใช้เครื่องมือ Free Transform ลากหมุนรอบ bounding box
ก็ได้
หมุนจากพาเนล Transform
เป็ นการหมุนแบบระบุค่าองศาที่แน่นอน ทั้งนี้ออบเจ็คจะหมุนโดย
ยึดจุดศูนย์กลางเป็ นหลัก
ทิศทางการหมุน
ในการกาหนดองศาการหมุนบนพาเนล Transform นั้น
คุณสามารถใช้ค่าได้ตั้งแต่ 0 องศา – 360 องศา โดยมีทิศทางการหมุน
แบบตามเข็มนาฬิกา (clockwise)
นอกจากนี้คุณยังสามารถใช้ค่าองศาเป็ นลบได้ โดยมีทิศทางการ
หมุนแบบทวนเข็มนาฬิกา (counterclockwise)
หมุนด้วยเครื่องมือ Free Transform หรือคาสั่ง Rotate and Skew
เป็ นการปรับหมุนด้วยวิธีคลิกลากเมาส์ โดยใช้เครื่องมือ Free
Transform หรือใช้คาสั่ง Rotate and Skew ก็ได้เช่นกัน ซึ่งการหมุนด้วยวิธี
นี้มีข้อดีแตกต่างจากการหมุนด้วยพาเนล Transform คือ คุณสามารถ
เปลี่ยนตาแหน่งจุดยึดในการหมุนได้
เป็ นการบิดออบเจ็คให้เอนเอียงไปในแนวเดียวกับเส้นกรอบแนวนอนหรือ
แนวตั้ง ซึ่งสามารถทาได้
2 วิธีคือ บิดเอนแบบกาหนดค่าในพาเนล Transform หรือคลิกลากโดยใช้
เครื่องมือ Free Transform
บิดเอนจากพาเนล Transform
คุณจะต้องป้ อนค่าองศาการบิดเอนในช่อง Skew
บิดเอนด้วยเครื่องมือ Free Transform หรือคาสั่ง Rotate and Skew
นอกจากการปรับขนาดและการหมุนแล้ว เครื่องมือ Free
Transform ยังสามารถปรับบิดเอนได้ด้วยซึ่งจะเป็ นการบิดแบบคร่าวๆตาม
การคลิกลาก
ออบเจ็คที่ถูกปรับขนาด หมุน หรือบิดเอน (skew) แล้ว คุณ
สามารถปรับรูปทรงให้คืนสู่สภาพเดิมได้ด้วยการคลิกปุ่ ม สี่เหลี่ยมจัตุรัส บน
พาเนล Transform หรือเลือกคาสั่ง Modify > Tranform > Remove
Transform
คุณสามารถบิดแต่ละมุมหรือด้านของรูปทรงได้อย่างอิสระ ไม่มี
ข้อจากัดว่าต้องบิดไปในแนวเดียวกับเส้นกรอบออบเจ็คด้านใดด้านหนึ่ง โดย
ออบเจ็คที่สามารถบิดเอนได้นั้นจะต้องเป็ นแบบ Merge Drawing หรือ Object
Drawing เท่านั้น ส่วนออบเจ็คที่มีการรวมกลุ่ม,ออบเจ็คแบบ Primitive, ภาพ
บิทแมพ หรือซิมโบลจะไม่สามารถใช้วิธีการนี้ได้
จะเป็ นการปรับบิดเส้นกรอบให้มีความโค้งเว้าได้อย่างอิสระ ไม่
จากัดอยู่แค่รูปทรงสี่เหลี่ยม ซึ่งหลังจากปรับเส้นกรอบแล้วรูปทรงที่ได้ก็จะ
ถูกบิดสัมพันธ์กันตามไปด้วย ทั้งนี้ออบเจ็คที่สามารถปรับบิดรูปทรงแบบนี้
ได้จะต้องเป็ น Merge Drawing หรือ Object Drawing เช่นเดียวกับคาสั่ง
Distort
เฉพาะออบเจ็คแบบ Object Drawing ที่ถูกปรับบิดเอนอิสระ
(Distort) หรือปรับบิดรูปทรงอิสระ (Envelope) คุณสามารถยกเลิกการปรับ
เพื่อให้รูปทรงกลับคืนสู่สภาพเดิมได้ โดยใช้คาสั่ง Modify > Combine Objects
> Delete Envelope
เป็ นการพลิกกลับด้านออบเจ็คในลักษณะเหมือนเงาสะท้อน ซึ่งจะ
ช่วยให้สะดวกในการวาดรูปทรงที่มีลักษณะเหมือนกันทั้งสองด้าน เช่น มือ
หรือเท้าที่มีทั้งด้านซ้ายและด้านขวา เป็ นต้น โดยสามารถพลิกกลับตาม
แนวนอน (Flip Horizontal) หรือตามแนวตั้ง (Flip Vertical)
คุณสามารถดัดแปลงรูปทรงที่วาดไว้แล้วได้หลายลักษณะ ไม่ว่าจะ
เป็ นการแปลงเส้นให้เป็ นสีพื้น, การปรับขอบเขตสีพื้น และการปรับขอบสี
พื้นให้ดูนุ่มนวล
แปลงเส้นให้เป็ นสีพื้น
การแปลงเส้น (stroke) ให้เป็ นสีพื้น (fill) มีประโยชน์ใน
การสร้างเอฟเฟ็คต์พิเศษหรือการตกแต่งรูปทรงของเส้นใหม่ แต่ทั้งนี้การ
แปลงจะมีผลให้ขนาดไฟล์ใหญ่ขึ้น
ปรับขอบเขตสีพื้น
เป็ นการปรับลดหรือขยายขอบเขตสีพื้นของรูปทรง
ออกไปโดยรอบทุกทิศทางตามระยะที่กาหนด โดยปกติแล้วคาสั่งนี้จะใช้กับ
รูปทรงที่มีเฉพาะพื้นภาพโดยไม่มีเส้นขอบ และมีสีพื้นเป็ นเนื้อเดียวกัน แต่
หากรูปทรงมีเส้น หลังจากปรับแล้วเส้นจะถูกลบออกไป
ปรับขอบสีพื้นให้ดูนุ่มนวล
เป็ นการปรับให้ขอบสีพื้นของรูปทรงค่อยๆจางหายไปกับพื้นหลัง
คล้ายการสร้างภาพเบลอในโปรแกรม Photoshop หากรูปทรงมีเส้นด้วย
หลังจากใช้คาสั่งเส้นนั้นจะถูกลบออกไป
เป็ นคาสั่งที่ใช้เฉพาะกับออบเจ็คแบบ Object Drawing ที่เรียงซ้อน
กันอยู่ตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป เพื่อตัด เจาะ หรือรวมรูปทรงเข้าด้วยกัน โดยมี
ทั้งหมด 4 คาสั่งดังนี้
- Union (รวมชิ้น) เป็ นการรวมออบเจ็คทั้งหมดเข้าด้วยกันเป็ นชิ้น
เดียว หรือใช้ในกรณีที่ต้องการแปลงออบเจ็คแบบ Merge Drawing ให้เป็ น
Object Drawing
- Intersect (ตัด) เป็ นการตัดออบเจ็คชิ้นบนสุด โดยเอามาเฉพาะพื้นที่ที่
ออบเจ็คทุกชิ้นซ้อนทับกันเท่านั้น (ส่วนพื้นที่ด้านนอกจะถูกตัดทิ้ง)
- Punch (เจาะ) เป็ นการเจาะออบเจ็คทุกชิ้นด้านล่าง ด้วยรูปทรงของ
ออบเจ็คชิ้บนสุด
- Crop (ตัดขอบ) เป็ นคาสั่งที่ตรงกันข้ามกับ Punch คือ จะตัดขอบออบ
เจ็คทุกชิ้นด้านล่างออกโดยใช้รูปทรงของออบเจ็คชิ้นบนสุด
หน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรง

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอป
ใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอปใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอป
ใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอปNimanong Nim
 
การเขียนแบบด้วยcad
การเขียนแบบด้วยcadการเขียนแบบด้วยcad
การเขียนแบบด้วยcadguest0ca794
 
Powerpoint2007
Powerpoint2007Powerpoint2007
Powerpoint2007supapud
 
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมPiyaboon Nilkaew
 
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมPiyaboon Nilkaew
 
Sharp Pen Software & Touch Display Link
Sharp Pen Software & Touch Display LinkSharp Pen Software & Touch Display Link
Sharp Pen Software & Touch Display LinkARC
 
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ppt
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\PptC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ppt
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\PptWichit Chawaha
 
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้าง
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้างคู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้าง
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้างSKETCHUP HOME
 
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2Banyapon Poolsawas
 
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทยตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทยSKETCHUP HOME
 
คู่มือการใช้ Ecotect จาก Revit เบื้องต้น
คู่มือการใช้ Ecotect จาก Revit เบื้องต้นคู่มือการใช้ Ecotect จาก Revit เบื้องต้น
คู่มือการใช้ Ecotect จาก Revit เบื้องต้นPatana Rattananavathong
 

What's hot (20)

ใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอป
ใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอปใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอป
ใบความรู้ที่ 1รู้จักโฟโต้ชอป
 
การเขียนแบบด้วยcad
การเขียนแบบด้วยcadการเขียนแบบด้วยcad
การเขียนแบบด้วยcad
 
Powerpoint2007
Powerpoint2007Powerpoint2007
Powerpoint2007
 
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ 3D Max กับงานสถาปัตยกรรม
 
Lesson3
Lesson3Lesson3
Lesson3
 
Photoshop ict
Photoshop ictPhotoshop ict
Photoshop ict
 
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรมคู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
คู่มือ Revit สำหรับงานสถาปัตยกรรม
 
Sharp Pen Software & Touch Display Link
Sharp Pen Software & Touch Display LinkSharp Pen Software & Touch Display Link
Sharp Pen Software & Touch Display Link
 
Lesson2
Lesson2Lesson2
Lesson2
 
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ppt
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\PptC:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ppt
C:\Documents And Settings\Administrator\Desktop\Ppt
 
เรื่องที่ 2
เรื่องที่ 2เรื่องที่ 2
เรื่องที่ 2
 
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้าง
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้างคู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้าง
คู่มือ Extension สำหรับงานก่อสร้าง
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2
การออกแบบกราฟิก 3D ด้วย Blender 2.8+ โดย อาจารย์ บัญญพนต์ พูลสวัสดิ์ Chapter 2
 
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทยตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย
ตัวอย่างคู่มื่อ Profile Builder 2.1.7 ภาษาไทย
 
Lesson7
Lesson7Lesson7
Lesson7
 
Lesson4
Lesson4Lesson4
Lesson4
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
คู่มือการใช้ Ecotect จาก Revit เบื้องต้น
คู่มือการใช้ Ecotect จาก Revit เบื้องต้นคู่มือการใช้ Ecotect จาก Revit เบื้องต้น
คู่มือการใช้ Ecotect จาก Revit เบื้องต้น
 
GIMP
GIMPGIMP
GIMP
 

Viewers also liked

หน่วยที่ 4 การเเทรกมัลติมีเดียและการเชื่อมโยงหลายมิติ
หน่วยที่  4 การเเทรกมัลติมีเดียและการเชื่อมโยงหลายมิติหน่วยที่  4 การเเทรกมัลติมีเดียและการเชื่อมโยงหลายมิติ
หน่วยที่ 4 การเเทรกมัลติมีเดียและการเชื่อมโยงหลายมิติNu_waew
 
หน่วยที่ 1 รู้จักกับโปรแกรม microsoft office power point 2007
หน่วยที่ 1 รู้จักกับโปรแกรม microsoft  office power point 2007หน่วยที่ 1 รู้จักกับโปรแกรม microsoft  office power point 2007
หน่วยที่ 1 รู้จักกับโปรแกรม microsoft office power point 2007Nu_waew
 
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์มหน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์มkruthanyaporn
 
หน่วยที่ 2 เริ่มต้นสร้างงานนำเสนอ
หน่วยที่ 2 เริ่มต้นสร้างงานนำเสนอหน่วยที่ 2 เริ่มต้นสร้างงานนำเสนอ
หน่วยที่ 2 เริ่มต้นสร้างงานนำเสนอNu_waew
 
การใช้งาน Microsoft office word 2007
การใช้งาน Microsoft office word 2007การใช้งาน Microsoft office word 2007
การใช้งาน Microsoft office word 2007sirirat khamthanet
 
คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007chanoncm2555
 
บทที่ 6 การตกแต่งเอกสารด้วยรูปภาพ
บทที่ 6 การตกแต่งเอกสารด้วยรูปภาพบทที่ 6 การตกแต่งเอกสารด้วยรูปภาพ
บทที่ 6 การตกแต่งเอกสารด้วยรูปภาพVeerapong Takonok
 
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ Por Oraya
 
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007KruJeabja
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2Fon Edu Com-sci
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 kanidta vatanyoo
 

Viewers also liked (13)

หน่วยที่ 4 การเเทรกมัลติมีเดียและการเชื่อมโยงหลายมิติ
หน่วยที่  4 การเเทรกมัลติมีเดียและการเชื่อมโยงหลายมิติหน่วยที่  4 การเเทรกมัลติมีเดียและการเชื่อมโยงหลายมิติ
หน่วยที่ 4 การเเทรกมัลติมีเดียและการเชื่อมโยงหลายมิติ
 
หน่วยที่ 1 รู้จักกับโปรแกรม microsoft office power point 2007
หน่วยที่ 1 รู้จักกับโปรแกรม microsoft  office power point 2007หน่วยที่ 1 รู้จักกับโปรแกรม microsoft  office power point 2007
หน่วยที่ 1 รู้จักกับโปรแกรม microsoft office power point 2007
 
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์มหน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
หน่วยที่ 5 การสร้างฟอร์ม
 
หน่วยที่ 2 เริ่มต้นสร้างงานนำเสนอ
หน่วยที่ 2 เริ่มต้นสร้างงานนำเสนอหน่วยที่ 2 เริ่มต้นสร้างงานนำเสนอ
หน่วยที่ 2 เริ่มต้นสร้างงานนำเสนอ
 
การใช้งาน Microsoft office word 2007
การใช้งาน Microsoft office word 2007การใช้งาน Microsoft office word 2007
การใช้งาน Microsoft office word 2007
 
คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007คู่มือการใช้งาน Word 2007
คู่มือการใช้งาน Word 2007
 
บทที่ 6 การตกแต่งเอกสารด้วยรูปภาพ
บทที่ 6 การตกแต่งเอกสารด้วยรูปภาพบทที่ 6 การตกแต่งเอกสารด้วยรูปภาพ
บทที่ 6 การตกแต่งเอกสารด้วยรูปภาพ
 
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007
คู่มือการใช้โปรแกรม Power point 2007
 
ข้อสอบ Power point 2010
ข้อสอบ Power point 2010ข้อสอบ Power point 2010
ข้อสอบ Power point 2010
 
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPointแบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
แบบฝึกหัดที่ 3 Microsoft PowerPoint
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010 เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
เอกสารประกอบการเรียน โปรแกรม Microsoft Excel 2010
 

Similar to หน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรง

งาน3ชุติมา.ยุพา(ม.62)
งาน3ชุติมา.ยุพา(ม.62)งาน3ชุติมา.ยุพา(ม.62)
งาน3ชุติมา.ยุพา(ม.62)Yupa
 
ภาพพื้นหลังออก
ภาพพื้นหลังออกภาพพื้นหลังออก
ภาพพื้นหลังออกkitkit1974
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2
เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2
เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2Kanon Dhasanon
 
ดอล์ล่าถูกเผา
ดอล์ล่าถูกเผาดอล์ล่าถูกเผา
ดอล์ล่าถูกเผาIvIy Alice
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6Khon Kaen University
 
ใบความรู้ เรื่อง หลักการพื้นฐานในการเลือกและการแก้ไข
ใบความรู้ เรื่อง หลักการพื้นฐานในการเลือกและการแก้ไขใบความรู้ เรื่อง หลักการพื้นฐานในการเลือกและการแก้ไข
ใบความรู้ เรื่อง หลักการพื้นฐานในการเลือกและการแก้ไขNicharee Piwjan
 
ใบความรู้ที่ 14การทำโปสการ์ด
ใบความรู้ที่ 14การทำโปสการ์ดใบความรู้ที่ 14การทำโปสการ์ด
ใบความรู้ที่ 14การทำโปสการ์ดNimanong Nim
 
ใบความรู้ที่ 17
ใบความรู้ที่ 17ใบความรู้ที่ 17
ใบความรู้ที่ 17Nimanong Nim
 
ใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่ม
ใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่มใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่ม
ใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่มWilasineejib
 
Power point20072
Power point20072Power point20072
Power point20072thongtaw
 
เวลาพลบค่ำในเมือง
เวลาพลบค่ำในเมืองเวลาพลบค่ำในเมือง
เวลาพลบค่ำในเมืองIvIy Alice
 
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลักใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลักไกรลาศ จิบจันทร์
 

Similar to หน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรง (18)

Pwpdata 7.1-7.4
Pwpdata 7.1-7.4Pwpdata 7.1-7.4
Pwpdata 7.1-7.4
 
DIA - Diagram
DIA - DiagramDIA - Diagram
DIA - Diagram
 
Word3
Word3Word3
Word3
 
งาน3ชุติมา.ยุพา(ม.62)
งาน3ชุติมา.ยุพา(ม.62)งาน3ชุติมา.ยุพา(ม.62)
งาน3ชุติมา.ยุพา(ม.62)
 
ภาพพื้นหลังออก
ภาพพื้นหลังออกภาพพื้นหลังออก
ภาพพื้นหลังออก
 
P3
P3P3
P3
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2
เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2
เอกสารประกอบการสอนวิชาคอมพิวเตอร์ ง 30241 กราฟิกและตกแต่งภาพ หน่วยที่ 2
 
ดอล์ล่าถูกเผา
ดอล์ล่าถูกเผาดอล์ล่าถูกเผา
ดอล์ล่าถูกเผา
 
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
รู้จักโปรแกรม Adobe Photoshop CS6
 
ใบความรู้ เรื่อง หลักการพื้นฐานในการเลือกและการแก้ไข
ใบความรู้ เรื่อง หลักการพื้นฐานในการเลือกและการแก้ไขใบความรู้ เรื่อง หลักการพื้นฐานในการเลือกและการแก้ไข
ใบความรู้ เรื่อง หลักการพื้นฐานในการเลือกและการแก้ไข
 
Unit 6
Unit 6Unit 6
Unit 6
 
ใบความรู้ที่ 14การทำโปสการ์ด
ใบความรู้ที่ 14การทำโปสการ์ดใบความรู้ที่ 14การทำโปสการ์ด
ใบความรู้ที่ 14การทำโปสการ์ด
 
บทที่3
บทที่3บทที่3
บทที่3
 
ใบความรู้ที่ 17
ใบความรู้ที่ 17ใบความรู้ที่ 17
ใบความรู้ที่ 17
 
ใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่ม
ใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่มใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่ม
ใบความรู้ที่ 7 การแก้ไขภาพเป็นกลุ่ม
 
Power point20072
Power point20072Power point20072
Power point20072
 
เวลาพลบค่ำในเมือง
เวลาพลบค่ำในเมืองเวลาพลบค่ำในเมือง
เวลาพลบค่ำในเมือง
 
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลักใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
ใบความรู้ เรื่อง การสร้างเมนูหลัก
 

More from Yui Janjira Ketsakorn

สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)
สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)
สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)Yui Janjira Ketsakorn
 
ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์Yui Janjira Ketsakorn
 
ซิมโบลและอินสแตนช์
ซิมโบลและอินสแตนช์ซิมโบลและอินสแตนช์
ซิมโบลและอินสแตนช์Yui Janjira Ketsakorn
 
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกYui Janjira Ketsakorn
 
พิมพ์และจัดการกับข้อความ
พิมพ์และจัดการกับข้อความพิมพ์และจัดการกับข้อความ
พิมพ์และจัดการกับข้อความYui Janjira Ketsakorn
 
จัดการและปรับแต่งรูปทรง
จัดการและปรับแต่งรูปทรงจัดการและปรับแต่งรูปทรง
จัดการและปรับแต่งรูปทรงYui Janjira Ketsakorn
 
แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
แต่งแต้มสีสันให้ภาพแต่งแต้มสีสันให้ภาพ
แต่งแต้มสีสันให้ภาพYui Janjira Ketsakorn
 
การใช้งานเบื้องต้น
การใช้งานเบื้องต้นการใช้งานเบื้องต้น
การใช้งานเบื้องต้นYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหว
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหวหน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหว
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหวYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์Yui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 8 ซิมโบลและอินสแตนช์
หน่วยที่ 8 ซิมโบลและอินสแตนช์หน่วยที่ 8 ซิมโบลและอินสแตนช์
หน่วยที่ 8 ซิมโบลและอินสแตนช์Yui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกหน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความ
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความหน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความ
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพหน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพYui Janjira Ketsakorn
 

More from Yui Janjira Ketsakorn (20)

สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)
สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)
สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)
 
ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
 
ซิมโบลและอินสแตนช์
ซิมโบลและอินสแตนช์ซิมโบลและอินสแตนช์
ซิมโบลและอินสแตนช์
 
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
 
พิมพ์และจัดการกับข้อความ
พิมพ์และจัดการกับข้อความพิมพ์และจัดการกับข้อความ
พิมพ์และจัดการกับข้อความ
 
จัดการและปรับแต่งรูปทรง
จัดการและปรับแต่งรูปทรงจัดการและปรับแต่งรูปทรง
จัดการและปรับแต่งรูปทรง
 
แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
แต่งแต้มสีสันให้ภาพแต่งแต้มสีสันให้ภาพ
แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
 
ลงมือวาดภาพ
ลงมือวาดภาพลงมือวาดภาพ
ลงมือวาดภาพ
 
การใช้งานเบื้องต้น
การใช้งานเบื้องต้นการใช้งานเบื้องต้น
การใช้งานเบื้องต้น
 
รู้จักกับ Flash
รู้จักกับ Flashรู้จักกับ Flash
รู้จักกับ Flash
 
รู้จักกับ Flash
รู้จักกับ Flashรู้จักกับ Flash
รู้จักกับ Flash
 
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหว
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหวหน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหว
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหว
 
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
 
หน่วยที่ 8 ซิมโบลและอินสแตนช์
หน่วยที่ 8 ซิมโบลและอินสแตนช์หน่วยที่ 8 ซิมโบลและอินสแตนช์
หน่วยที่ 8 ซิมโบลและอินสแตนช์
 
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกหน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
 
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความ
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความหน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความ
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความ
 
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพหน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 

หน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรง

  • 1.
  • 2. ก่อนที่จะการหรือทาการปรับแต่งใดๆ คุณจะต้องเลือกออบเจ็คหรือ บริเวณที่ต้องการเสียก่อน โดยใช้เครื่องมือหรือเทคนิคต่างๆที่กล่าวต่อไป ซึ่งออบ เจ็คที่ถูกเลือกอยู่จะมีการแสดงผลแตกต่างจากออบเจ็คปกติ ออบเจ็คแบบ Merge Drawing สาหรับออบเจ็คแบบ Merge Drawing คุณสามารถแยกเลือก เฉพาะเส้น สีพื้น หรือเพียงบางส่วนของเส้นและสีพื้นก็ได้ ซึ่งพื้นที่ที่ถูกเลือกจะ แสดงด้วยจุดเล็กๆ
  • 3. ออบเจ็คแบบ Object Drawing และ Group สาหรับออบเจ็คแบบ Object Drawing หรือ ออบเจ็คที่ถูกรวมกลุ่มไว้ (Group) การเลือกจะต้องเลือกทีเดียวทั้งชิ้นเสมอ โดยออบเจ็คที่ถูกเลือกจะ แสดงเส้นขอบสี่เหลี่ยมขึ้นมา (หากต้องการเลือกพื้นที่บางส่วนของ) Object Drawing ให้ดับเบิ้ลคลิกบนออบเจ็คแล้วจะสามารถเลือกแบบ Merge Drawing ได้
  • 4. ออบเจ็คแบบ Primitive เฉพาะออบเจ็คที่วาดด้วยเครื่องมือ Rectangle Primitive หรือ Oval Primitive เมื่อถูกเลือกแล้วจะแสดงเส้นขอบสี่เหลี่ยมและจุด ควบคุมที่ใช้สาหรับดัดแปลงรูปทรงขึ้นมาด้วย ภาพบิทแมพ ภาพบิทแมพที่ถูกเลือกจะแสดงเส้นสีเทาลายจุดเล็กๆ เป็ นขอบสี่เหลี่ยมรอบรูปภาพ เครื่องมือ Selection .ใช้สาหรับเลือกออบเจ็ค ซึ่งทาได้หลายแบบไม่ว่า จะเป็ นการเลือกทั้งชิ้นงาน หลายชิ้น หรือเลือกเพียงบางส่วนก็ตาม วิธีใช้ให้คลิก เครื่องมือ Selection (คีย์ลัด V) แล้วคลิก, ดับเบิลคลิกหรือคลิกลากเมาส์ ซึ่ง แบ่งเป็ นหลายกรณี ดังนี้
  • 5. เลือกออบเจ็คแบบ Merge Drawing เลือกเฉพาะเส้น ให้คลิกบนส่วนของเส้นที่ต้องการ หากดับเบิลคลิกบนเส้นจะเป็ นการ เลือกเส้นทั้งหมดที่เชื่อมกัน เลือกเฉพาะพื้น ให้คลิกบนสีพื้นที่ต้องการหากพื้นมีหลายสีโปรแกรมจะเลือกเฉพาะใน ขอบเขตสีที่คลิกเท่านั้น เลือกทั้งพื้นและเส้น ให้ดับเบิลคลิกบนสีพื้นออบเจ็คจะถูกเลือกตามขอบเขตของเส้นรอบ รูปทรงนั้นเป็ นหลัก
  • 6. เลือกออบเจ็คทั้งชิ้นหรือหลายชิ้น ให้คลิกลากเมาส์จากพื้นที่ว่างบนสเตจหรือ Pasteboard โดยให้ ครอบคลุมออบเจ็คทั้งชิ้น เลือกบางส่วนของออบเจ็ค ให้คลิกลากเมาส์จากพื้นที่ว่างบนสเตจหรือ Pasteboard โดยให้ครอบคลุมเฉพาะ พื้นที่ที่ต้องการ เลือกออบเจ็คแบบ Object Drawing, Group และ Primitive ให้คลิกบนเส้นหรือสีพื้นของออบเจ็คก็ได้ จะปรากฏเส้นขอบล้อมรอบ รูปทรง
  • 7. - การเลือกออบเจ็คทั้งหมด ทั้งที่อยู่บนสเตจและ Pasteboard ให้ใช้ คาสั่ง Edit > Select All หรือกดคีย์ Ctrl + A - การยกเลิกการเลือกออบเจ็ค ให้ใช้คาสั่ง Edit > Deselect All หรือ กดคีย์ Esc หรือถ้ากาลังเลือกเครื่องมือ Selection อยู่ ก็คลิกบนที่ว่างของสเตจ Lasso เป็ นเครื่องมือที่เหมาะสมสาหรับใช้เลือกพื้นที่บางส่วนของ รูปทรงแบบ Merge Drawing โดยวิธีลากอย่างอิสระ (freehand) หรือลากแบบ เส้นตรง (Straight-edge) ก็ได้
  • 10. เลือกสีบนภาพบิทแมพ เมื่อมีการเติมสีพื้นของออบเจ็คแบบ Merge Drawing ด้วยภาพบิทแมพ คุณก็สามารถเลือกสีบนภาพนั้นได้โดยใช้ออปชั่น Magic Wand ของเครื่องมือ Lasso ซึ่งสีที่ถูกเลือกก็คือสีของจุดที่คลิกรวมทั้งพื้นที่ที่ต่อเนื่องและมีสีใกล้เคียง กัน ออปชั่นการทางานของ Magic Wand คุณสามารถปรับแต่งการทางานของ Magic Wand เพื่อกาหนด ความแตกต่างสีของบริเวณที่ถูกเลือก และปรับลักษณะขอบของบริเวณดังกล่าว ได้ โดยใช้ออปชั่นบนไดอะล็อกบ็อกซ์ Magic Wand Settings ดังนี้
  • 11. - Threshold กาหนดระดับความแตกต่างของสีที่จะทาให้พิกเซล ที่อยู่ใกล้เคียงถูกเลือกไปพร้อมกัน ซึ่งใช้ค่าได้ตั้งแต่ 0-200 โดยค่าที่ สูงขึ้นจะทาให้พิกเซลที่ถูกเลือกมีสีแตกต่างกันมากตามไปด้วย - Smoothing กาหนดความเรียบของขอบบริเวณที่ถูกเลือก โดย มีตัวเลือกตั้งแต่หยาบไปจนถึงเรียบที่สุดให้ 4 แบบคือ Pixels, Rough, Normal และ Smooth หลังจากเลือกออบเจ็คแล้ว คุณก็สามารถดาเนินการใดๆกับออบ เจ็คนั้นได้ ไม่ว่าจะเป็ นการเคลื่อนย้าย ก๊อปปี้ หรือลบออบเจ็ค
  • 12. เคลื่อนย้ายออบเจ็ค เมื่อเลือกออบเจ็คแล้ว คุณสามารถเคลื่อนย้ายออบเจ็คนั้นไปยัง ตาแหน่งต่างๆได้ดังนี้ - ใช้เครื่องมือ Selection คลิกลากออบเจ็คไปยังตาแหน่งใหม่ ถ้า ต้องการบังคับให้ออบเจ็คย้ายตาแหน่งไปในแนวตั้ง แนวนอน หรือเป็ นมุม 45 องศาก็ให้กดคีย์ Shift ร่วมด้วย - กดคีย์ลูกศร ขึ้น ลง ซ้าย ขวา ตามทิศทางที่ต้องการ ออบเจ็คจะ เลื่อนไปครั้งละ 1 พิกเซลของจอภาพขณะนั้น (การซูมภาพมีผลต่อระยะการ เคลื่อนที่) แต่ถ้าหากกาหนดการ Snapping ไว้ (View > Snapping > Snap to Pixels) ออบเจ็คจะเลื่อนไปครั้งละ 1 พิกเซลตามขนาดจริงของสเตจ นอกจากนี้ถ้ากดคีย์ Shift ร่วมด้วยก็จะเลื่อนไปครั้งละ 10 พิกเซล
  • 13. เคลื่อนย้ายออบเจ็คด้วยวิธีกาหนดตาแหน่ง โดยระบุตาแหน่งใหม่ของออบเจ็คในแนวนอน (X) และแนวตั้ง (Y) บนพาเนล Info ซึ่งหน่วยจะเหมือนกับบนไม้บรรทัด (ตามปกติคือพิกเซล) ก๊อปปี้ ออบเจ็ค ก๊อปปี้ ภายในเลเยอร์และซีนเดียวกัน การก๊อปปี้ ออบเจ็คเพื่อใช้ภายในเลเยอร์และซีนเดียวกัน ของไฟล์ที่ทางานอยู่ เมื่อคลิกเลือกออบเจ็คที่ต้องการแล้วจะทาได้โดย ก๊อปปี้ ด้วยคาสั่ง Duplicate คลิกคาสั่ง Edit > Duplicate หรือกดคีย์ Ctrl + D จะได้ ออบเจ็คใหม่ที่เหมือนกับออบเจ็คต้นฉบับวางซ้อนอยู่ด้านบนไปเรื่อยๆตาม จานวนครั้งของการกดคีย์
  • 14. ก็อปปี้ และย้ายตาแหน่งพร้อมกัน กดคีย์ Ctrl หรือ Alt ค้างไว้แล้วใช้เครื่องมือ Selection คลิกลาก ออบเจ็คไปวางยังตาแหน่งใหม่ ก๊อปปี้ ออบเจ็คระหว่างเลเยอร์ ซีน หรือไฟล์ เมื่อต้องการจะก๊อปปี้ ออบเจ็คจากเลเยอร์หนึ่งไปยังอีกเล เยอร์หนึ่ง, ซีนหนึ่งไปยังอีกซีนหนึ่ง หรือไฟล์หนึ่งไปยังอีกไฟล์หนึ่งก็ตาม จะ ทาได้ดังนี้
  • 15. ก๊อปปี้ ออบเจ็คระหว่างเลเยอร์ ซีน หรือไฟล์ (ต่อ) 1. เปิ ดไฟล์ต้นฉบับ 2. เลือกออบเจ็ค 3. คลิกคาสั่ง Edit > Copy > (คีย์ลัด Ctrl + C) 4. เปิ ดไฟล์ปลายทางหรือเลือกเลเยอร์ปลายทางหรือเลือกซีนปลาย ทาง 5. คลิกคาสั่ง Edit > Paste in Center (คีย์ลัด Ctrl + V ภาพจะถูกวาง อยู่ตรงกลางวินโดว์) การวางออบเจ็คด้วยคาสั่งอื่นๆ นอกจากคาสั่ง Paste in Center แล้วคุณสามารถวางออบเจ็คด้วย คาสั่งอื่นๆอีกดังนี้ - Edit > Paste in Place (คีย์ลัด Ctrl + Shift + V) ออบเจ็คจะถูกวางใน ตาแหน่ง เดียวกับต้นฉบับ - Edit > Paste Special จะปรากฏไดอะล็อกบ็อกซ์ แล้วคลิกปุ่ ม OK
  • 16. การลบออบเจ็คจะทาให้ออบเจ็คนั้นหายไปจากไฟล์ แต่ในกรณีลบ ออบเจ็คที่เป็ นอินสแตนซ์จะไม่มีผลต่อซิมโบลที่อยู่ในไลบรารี (เนื่องจาก อินสแตนซ์เป็ นสาเนาของซิมโบลนั้นเอง) วิธีลบให้คุณเลือกออบเจ็คที่ต้องการ แล้วใช้วิธีใดวิธีหนึ่งดังนี้ - คลิกคาสั่ง Edit > Clear - กดคีย์ BkSp (Backspace) หรือคีย์ Delete - ดับเบิลคลิกที่เครื่องมือ Eraser จะเป็ นการลบออบเจ็คทั้งหมด บนสเตจ
  • 17. การล็อคออบเจ็คจะช่วยป้ องกันไม่ให้ออบเจ็คนั้นถูกเลือก, แก้ไข ปรับแต่งหรือเปลี่ยนตาแหน่งได้ และจะช่วยให้คุณเปลี่ยนตาแหน่งได้ และ จะช่วยให้คุณเลือกออบเจ็คที่อยู่ใกล้เคียงได้ง่ายขึ้น ออบเจ็คที่สามารถล็อค ได้นั้นจะต้องเป็ นอินสแตนซ์, ออบเจ็คแบบ Object Drawingหรือออบเจ็คที่ ถูกรวมกลุ่ม (group) ไว้ วิธีปลดล็อคออบเจ็ค ให้คลิกคาสั่ง Modify > Arrange > Unlock All (คีย์ลัด Ctrl + Alt + Shift + L) จะเป็ นการปลดล็อคออบเจ็คทั้งหมดที่ถูกล็อคไว้
  • 18. การจัดการออบเจ็คที่มีองค์ประกอบย่อยหลายๆชิ้น เช่น การเลือก หรือเคลื่อนย้ายจะมีความยุ่งยากมากขึ้น ดังนั้นคุณจึงควรรวมกลุ่ม (Group) องค์ประกอบย่อยเหล่านั้นให้เป็ นออบเจ็คเพียงชิ้นเดียว ซึ่งจะทาให้สามารถ เลือกหรือเคลื่อนย้ายออบเคนั้นได้อย่างสะดวก โดยออบเจ็คที่นามารวมจะ เป็ นออบเจ็คแบบใดก็ได้ เช่น Merge Drawing, Object Drawing, ข้อความ หรือออบเจ็คที่รวมกลุ่มไว้แล้วก็ได้ แก้ไขออบเจ็คภายในกลุ่ม แม้ว่าออบเจ็คจะถูกรวมกลุ่มไว้ คุณก็ยังสามารถแก้ไขออบ เจ็คย่อยภายในกลุ่มได้โดยไม่จาเป็ นต้องใช้คาสั่งแยกกลุ่มออกมาก่อน แยกกลุ่มออบเจ็ค (Ungroup) การแยกกลุ่มจะทาให้ออบเจ็คต่างๆในกลุ่มนั้นย้อนกลับไปมี สภาพเหมือนกับก่อนที่จะทาการรวมกลุ่ม โดยซึ่งทาได้โดยคาสั่ง Ungroup
  • 19. การแยกส่วนประกอบของออบเจ็ค เช่น ข้อความ ภาพบิทแมพ อิ รสแตนซ์ของซิมโบล ลัออบเจ็คแบบ Object Drawing ออกเป็ นส่วนย่อยๆ นั้น จะใช้ในกรณีที่ต้องการแก้ไขและปรับแต่งรายละเอียดของออบเจ็คย่อย เหล่านั้น เช่น ปรับบิดตัวอักษร ลบภาพบิทแมพบางส่วนออก หรือแก้ไขสี ของอินสแตนซ์ เป็ นต้น วิธีการแยกส่วนทาได้โดยคลิกเลือกออบเจ็คที่ต้องการ แล้วคลิก คาสั่ง Modify >Break Apart ซึ่งคาสสั่งนี้จะมีผลต่อออบเจ็คแต่ละประเภท ต่างกัน อินสแตนซ์ จะตัดความสัมพันธ์ของอินสแตนซ์ออกจากซิมโบล ต้นแบบ เพื่อให้สามารถแก้ไขอินสแตนซ์ได้อย่างอิสระจากซิมโบลต้นแบบ
  • 20. ออบเจ็คแบบ Object Drawing จะกลายเป็ นออบเจ็คแบบ Merge Drawing ข้อความ จะทาให้ข้อความถูกแยกออกเป็ นตัวอักษรแต่ละตัว โดย มีกรอบ text block ที่แยกกัน ทาให้สามารถสร้างเอฟเฟ็คให้ตัวอักษรแต่ละ ตัวได้ (ตัวอักษรเหล่านี้ยังสามารถแก้ไขได้ด้วยการพิมพ์) ตัวอักษร เมื่อมีการแยกส่วนตัวอักษรเดี่ยวๆ จะถูกแปลงเป็ น รูปทรงแบบ Merge Drawing ทั่วไป ซึ่งไม่สามารถแก้ไขได้ด้วยการพิมพ์ อีกต่อไป ภาพบิทแมพ จะเปลี่ยนภาพบิทแมพไปเป็ นรูปทรงสี่เหลี่ยมแบบ Merge Drawing ที่มีสีพื้น (fill) เป็ นภาพบิทแมพ เพื่อให้คุณสามารถแก้ไข หรือปรับแต่งเพิ่มเติมได้เหมือนกับรูปทรงแบบเวคเตอร์ทั่วไป
  • 21. ออบเจ็คที่วาดขึ้นหรือนามาวางบนสเตจจะมีการเรียงซ้อนกัน ตามลาดับ โดยออบเจ็คที่สร้างหลังสุดจะอยู่เหนือออบเจ็คอื่นๆทั้งหมด ซึ่ง ลาดับชั้นเหล่านี้จะมีผลต่อการมองเห็นของผู้ชม เพราะออบเจ็คที่อยู่ชั้นบน จะบังออบเจ็คชั้นล่างๆ ลงมา คุณสามารถจัดลาดับชั้นของออบเจ็คต่างๆ ได้ตามต้องการ ยกเว้นรูปทรงแบบ Merge Drawing ซึ่งจะอยู่ล่างสุดเสมอ หากต้องการจัดลาดับชั้นออบเจ็คประเภทนี้ จะต้องรวบรวมกลุ่มหรือแปลง เป็ นซิมโบลก่อน วิธีจัดลาดับชั้น วิธีจัดลาดับชั้นของออบเจ็ค มีขั้นตอนดังนี้ 1. เลือกออบเจ็ค 2. คลิกคาสั่ง Modify > Arrange > เลือกคาสั่ง
  • 22. คาสั่งจัดลาดับชั้น มีทั้งหมด 4 คาสั่งดังนี้ - Bring to Front (คีย์ลัด Ctrl + Shift + ลูกศรขึ้น) เพื่อเลื่อนออบเจ็ค ขึ้นมาอยู่ชั้นบนสุด - Bring Forward (คีย์ลัด Ctrl + ลูกศรขึ้น) เพื่อเลื่อนออบเจ็คขึ้นมา 1 ชั้น - Send Backward (คีย์ลัด Ctrl + ลูกศรลง) เพื่อเลื่อนออบเจ็คลงไป 1 ชั้น - Send to Back (คีย์ลัด Ctrl + Shift + ลูกศรลง) เพื่อเลื่อนออบเจ็คลงไป ชั้นล่างสุด ก่อนอื่นให้คุณแสดงพาเนล Align โดยคลิกคาสั่ง Window > Align (คีย์ลัด Ctrl + K) แล้วทาขั้นตอนการวางออบเจ็คหลายๆ ชิ้นให้เรียงเป็ น ระเบียบสวยงามนั้น ถ้าใช้วิธีคลิกลากไปวางแบบกะระยะเองทีละชิ้นจะทาให้ เสียเวลา
  • 23. และตาแหน่งอาจไม่ตรงกัน วิธีที่ดีที่สุดคือใช้คาสั่งจากพาเนล Align ซึ่ง จะช่วยให้คุณจัดเรียงออบเจ็คให้เป็ นระเบียบ มีระยะห่าง ขนาด และตรงแนว ตามที่ต้องการ ดังต่อไปนี้ คาสั่งจัดเรียงออบเจ็ค คาสั่งบนพาเนล Align แบ่งออกเป็ น 5 กลุ่มดังนี้ - Align จัดเรียงออบเจ็คตามแนวตั้งและแนวนอน จัดชิดขอบด้านซ้ายให้ตรงกัน จัดกึ่งกลางให้ตรงกันตามแนวตั้ง จัดชิดขอบด้านขวาให้ตรงกัน จัดชิดด้านบน จัดกึ่งกลางให้ตรงกันตามแนวนอน จัดชิดด้านล่าง
  • 24. - Distribute จัดเรียงออบเจ็ค (ต้องเลือกออบเจ็คไว้ตั้งแต่ 3 ชิ้นขึ้นไป) ให้มี ระยะห่างที่เท่ากันตามแนวตั้งหรือแนวนอน จัดระยะห่างจากขอบบน ของแต่ละออบเจ็คให้เท่ากัน จัดระยะห่างจากจุดกึ่งกลาง ของแต่ละออบเจ็คให้เท่ากันตามแนวตั้ง จัดระยะห่างจากขอบล่าง ของแต่ละออบเจ็คให้เท่ากัน จัดระยะห่างจากขอบซ้าย ของแต่ละออบเจ็คให้เท่ากัน จัดระยะห่างจากจุดกึ่งกลาง ของแต่ละออบเจ็คให้เท่ากันตาม แนวนอน จัดระยะห่างจากขอบขวา ของแต่ละออบเจ็คให้เท่ากัน - Match size ปรับขนาดออบเจ็คให้เท่ากันตามความกว้างหรือความสูง ปรับความกว้างให้เท่ากับออบเจ็คที่กว้างที่สุด ปรับความสูงให้เท่ากับออบเจ็คที่สูงที่สุด ปรับความกว้างและความสูงให้เท่ากับออบเจ็คที่มีขนาดใหญ่ที่สุด
  • 25. - Space จัดเรียงออบเจ็ค (ตั้งแต่ 3 ชิ้นขึ้นไป) โดยให้มีช่องว่างระหว่าง ขอบออบเจ็คที่เท่ากันในแนวตั้งหรือแนวนอน จัดช่องว่างระหว่างขอบออบเจ็คเท่าๆกันตามแนวตั้ง จัดช่องว่างระหว่างขอบออบเจ็คเท่าๆกันตามแนวนอน - To stage เป็ นตัวเลือกเพื่อกาหนดให้คาสั่งทั้งหมดในพาเนลนี้ ทาการ จัดเรียงโดยยึดพื้นที่ของสเตจเป็ นหลัก ซึ่งหากไม่เลือกจะเป็ นการ เปรียบเทียบกันระหว่างออบเจ็คในชุด นอกจากการใช้คาสั่งบนพาเนล Align แล้ว คุณยังสามารถ จัดเรียงออบเจ็คได้โดยใช้คาสั่ง Modify > Align > เลือกคาสั่ง ซึ่งจะมีคาสั่ง ต่างๆ เหมือนกันกับบนพาเนล Align ที่ได้อธิบายไว้ข้างต้น
  • 26. หลังจากวาดรูปด้วยเครื่องมือวาดพื้นฐานต่างๆ ดังที่กล่าวมาแล้ว ในบทที่ 3 คุณยังสามารถปรับแต่งแนวเส้น และแนวขอบของรูปทรงเพิ่มเติม ได้อีก โดยใช้เครื่องมือ Selection และคาสั่งอื่นๆจากเมนู ไม่ว่าจะเป็ นการดึง เส้นหรือขอบให้ลักษณะของรูปทรงเปลี่ยนไป ตลอดจนการปรับแนวเส้นและ แนวขอบให้เรียบหรือตรงมากขึ้น แต่คาสั่งเหล่านี้จะไม่สามารถใช้กับออบ เจ็คที่รวมกลุ่มแล้ว และออบเจ็คแบบ Primitive ปรับเปลี่ยนเส้นขอบรูปทรงด้วยเครื่องมือ Selection เครื่องมือนี้มีคุณสมบัติหลายอย่าง แต่ในที่นี้จะมาดูกันถึง คุณสมบัติในการปรับแต่งแนวเส้นและแนวขอบของรูปทรง เพื่อให้ได้รูปทรง ตรงตามลักษณะที่ต้องการใช้งาน โดยมีขั้นตอนดังต่อไปดังนี้
  • 27. ปรับเปลี่ยนเส้นขอบรูปทรงด้วยเครื่องมือ Selection (ต่อ) 1.คลิกเครื่องมือ Selection (คีย์ลัด V) 2.คลิกพื้นที่ว่างของสเตจ (หากออบเจ็คถูกเลือกอยู่) 3.ชี้เมาส์ตามส่วนต่างๆที่เป็ นแนวเส้นหรือแนวขอบของรูปทรง (สังเกตรูปเมาส์ที่เปลี่ยนไป) 4.คลิกลากปรับรูปทรงตามต้องการโดยแยกเป็ นกรณีต่างๆ ดังหัวข้อ ต่อไป ในที่นี้ แนวเส้น หมายถึงเส้น (stroke) รอบรูปทรงที่มีสีเส้น ส่วน แนว ขอบ หมายถึงขอบของรูปทรงที่ มีแต่สีพื้น (fill) โดยไม่มีเส้น ซึ่งทั้ง 2 อย่างนี้สามารถปรับได้เช่นเดียวกัน ปรับส่วนโค้ง การปรับเส้นหรือขอบรูปทรงให้โค้งมากขึ้นหรือลดลง ทาได้โดยชี้ที่ เส้นหรือขอบเส้นหรือขอบแล้วใช้เมาส์รูปโค้งคลิกลากปรับความโค้ง ซึ่งแม้ว่า เดิมเส้นนั้นจะเป็ นเส้นตรงมันก็จะถูกปรับให้เป็ นเส้นโค้งได้
  • 28. เพิ่มจุดมุม ถ้าต้องการสร้างมุมใหม่ให้กับรูปทรง ให้กดคีย์ Ctrl ค้างไว้ แล้วใช้เมาส์รูปโค้ง คลิกลาก (จากนั้นเมาส์จะเปลี่ยนเป็ นรูป สี่เหลี่ยม) ทั้งนี้ ลักษณะของมุมที่ได้จะขึ้นกับชนิดของจุดแองเคอร์ข้างคียง ย้ายจุดปลายเส้นหรือจุดมุม การย้ายปลายเส้น (กรณีรูปทรงปลายเปิ ด) หรือมุมของ รูปทรง ให้เลื่อนเมาส์ไปชี (เมาส์จะเป็ นรูป สี่เหลี่ยม) แล้วคลิกลากย้ายตาม ต้องการ ลดรอยหยักของรูปทรงด้วยคาสั่ง Smooth แนวเส้นหรือแนวขอบของรูปทรงที่วาดไว้ไม่เรียบ เช่น ภาพที่ วาดด้วยเครื่องมือ Pencil หรือฺ Brush คุณสามารถปรับลดจานวนจุดแองเคอร์ และส่วนโค้งย่อยๆ ซึ่งจะมีผลทาให้รอยหยักลดลง และได้แนวเส้นที่เรียบขึ้น ทาให้ปรับแต่งด้วยเครื่องมือ Selection ดังกล่าวในหัวข้อที่ผ่านมาได้ง่ายขึ้น
  • 29. ปรับส่วนโค้งให้เป็ นเส้นตรงด้วยคาสั่ง Straighten เป็ นการปรับแนวเส้นหรือแนวขอบของรูปทรงที่วาดไว้ไม่ เรียบหรือเป็ นส่วนโค้ง ให้กลายเป็ นเส้นตรงโดยส่วนที่ตรงอยู่แล้วจะไม่ได้รับ ผลกระทบใดๆ นอกจากนี้หากรูปทรงดังกล่าวมีลักษณะใกล้เคียงกับรูปทรง เรขาคณิต เช่น วงรี วงกลม หรือสี่เหลี่ยม ก็จะถูกปรับให้เป็ นรูปทรง เรขาคณิตที่สมบูรณ์โดยอัตโนมัติ ลดทอนส่วนโค้ง (Optimize) เป็ นการปรับแนวเส้นหรือแนวขอบของรูปทรงโดย ลดทอน (optimize) จานวนชุดแองเคอร์และส่วนโค้งย่อยๆที่ประกอบกัน เป็ นรูปทรงอีกวิธีหนึ่ง ซึ่งนอกจากจะทาให้ได้แนวเส้นที่เรียบขึ้นแล้ว ยัง ส่งผลให้ไฟล์เอกสาร Flash (.fla) และไฟล์มูฟวี่ (.swf) มีขนาดเล็กลงด้วย
  • 30. ออปชั่นของคาสั่ง Optimize - Smoothing เลื่อนสไลเดอร์เพื่อกาหนดระดับความเรียบ โดยหาก เลื่อนไปทางขวา (Maximum) จานวนจุดแองเคอร์และส่วนโค้งจะยิ่งลดลงแต่ ก็จะทาให้รูปทรงเปลี่ยนแปลงมากขึ้นตามไปด้วย - Use multiple passes ให้ทาการปรับซ้าไปเรื่อยๆ จนกว่าจะไม่ เกิดผลใดๆ อีก (ให้ผลเหมือนการใช้คาสั่งนี้ซ้าหลายๆครั้ง) - Show totals message ให้แสดงข้อมูลสรุปผลเมื่อทางานเสร็จสิ้น การปรับขนาดเพื่อให้ออบเจ็คมีขนาดใหญ่ขึ้นหรือเล็กลงนั้น สามารถทาได้หลายวิธีไม่ว่าจะเป็ นการปรับจาก Property inspector ปรับ จากพาเนล Transform หรือ ปรัด้วยเครื่องมือ Free Transform ก็ได้เช่นกัน โดยแต่ละวิธีมีรายละเอียดดังนี้
  • 31. ปรับขนาดจาก Property inspector หรือพาเนล Info การปรับจากพาเนลทั้งสองนี้ทาได้โดยกาหนดค่าความกว้าง (W) และสูง (H) ใหม่ลงไป ซึ่งจะมีหน่วยตามที่กาหนดบนไม้บรรทัด (ตามปกติ คือ พิกเซล) โดยหลังจากเลือกออบเจ็คแล้วให้กาหนดค่าในพาเนลดังนี้
  • 32. ปรับขนาดจากพาเนล Transform เป็ นการปรับแบบเทียบสัดส่วนของออบเจ็คเดิม โดยขนาดเดิมถือ เป็ น 100 เปอร์เซ็นต์ ดังนั้นถ้าใช้คาน้อยกว่าเดิมจะลดขนาด แต่ถ้าใช้ค่า มากกว่าเดิมจะขยายขนาด หากต้องการปรับความกว้างและความสูงด้วยเปอร์เซ็นต์ที่ต่างกัน ให้คลิกยกเลิกตัวเลือก Constrain ออกก่อนจึงป้ อนตัวเลขเปอร์เซ็นต์
  • 33. ปรับขนาดด้วยเครื่องมือ Free Transform หรือคาสั่ง Scale เป็ นการปรับด้วยวิธีคลิกเมาส์ ซึ่งในการทางานนั้นคุณอาจใช้ เครื่องมือ Free Transform ในทูลพาเนล หรือใช้คาสั่ง Scale จากเมนูก็ได้ เช่นกัน เทคนิคการปรับ เมื่อใช้เครื่องมือ Free Transform เลือกออบเจ็ค (ชิ้นเดียว หรือหลายชิ้นก็ได้) จะปรากฏรอบภาพ (bounding box) รอยรูปทรง ให้คุณชี้ เมาส์ที่ปุ่ มสี่เหลี่ยมปุ่ มใดปุ่ มหนึ่ง (เมาส์จะเปลี่ยนเป็ รรูป ลูกศรซ้ายขวา) แล้ว คลิกลากออกด้านนอกรูปทรงเพื่อขยาย หรือ คลิกลากเข้าด้านในเพื่อย่อ สาหรับปุ่ มต่างๆจะสัมพันธ์กับการปรับขนาดแต่ละด้านดังภาพ
  • 34. การปรับหมุนออบเจ็คสามารถทาได้โดยกาหนดค่าในพาเนล Transform หรือใช้เครื่องมือ Free Transform ลากหมุนรอบ bounding box ก็ได้ หมุนจากพาเนล Transform เป็ นการหมุนแบบระบุค่าองศาที่แน่นอน ทั้งนี้ออบเจ็คจะหมุนโดย ยึดจุดศูนย์กลางเป็ นหลัก ทิศทางการหมุน ในการกาหนดองศาการหมุนบนพาเนล Transform นั้น คุณสามารถใช้ค่าได้ตั้งแต่ 0 องศา – 360 องศา โดยมีทิศทางการหมุน แบบตามเข็มนาฬิกา (clockwise) นอกจากนี้คุณยังสามารถใช้ค่าองศาเป็ นลบได้ โดยมีทิศทางการ หมุนแบบทวนเข็มนาฬิกา (counterclockwise)
  • 35. หมุนด้วยเครื่องมือ Free Transform หรือคาสั่ง Rotate and Skew เป็ นการปรับหมุนด้วยวิธีคลิกลากเมาส์ โดยใช้เครื่องมือ Free Transform หรือใช้คาสั่ง Rotate and Skew ก็ได้เช่นกัน ซึ่งการหมุนด้วยวิธี นี้มีข้อดีแตกต่างจากการหมุนด้วยพาเนล Transform คือ คุณสามารถ เปลี่ยนตาแหน่งจุดยึดในการหมุนได้ เป็ นการบิดออบเจ็คให้เอนเอียงไปในแนวเดียวกับเส้นกรอบแนวนอนหรือ แนวตั้ง ซึ่งสามารถทาได้ 2 วิธีคือ บิดเอนแบบกาหนดค่าในพาเนล Transform หรือคลิกลากโดยใช้ เครื่องมือ Free Transform บิดเอนจากพาเนล Transform คุณจะต้องป้ อนค่าองศาการบิดเอนในช่อง Skew
  • 36. บิดเอนด้วยเครื่องมือ Free Transform หรือคาสั่ง Rotate and Skew นอกจากการปรับขนาดและการหมุนแล้ว เครื่องมือ Free Transform ยังสามารถปรับบิดเอนได้ด้วยซึ่งจะเป็ นการบิดแบบคร่าวๆตาม การคลิกลาก ออบเจ็คที่ถูกปรับขนาด หมุน หรือบิดเอน (skew) แล้ว คุณ สามารถปรับรูปทรงให้คืนสู่สภาพเดิมได้ด้วยการคลิกปุ่ ม สี่เหลี่ยมจัตุรัส บน พาเนล Transform หรือเลือกคาสั่ง Modify > Tranform > Remove Transform
  • 37. คุณสามารถบิดแต่ละมุมหรือด้านของรูปทรงได้อย่างอิสระ ไม่มี ข้อจากัดว่าต้องบิดไปในแนวเดียวกับเส้นกรอบออบเจ็คด้านใดด้านหนึ่ง โดย ออบเจ็คที่สามารถบิดเอนได้นั้นจะต้องเป็ นแบบ Merge Drawing หรือ Object Drawing เท่านั้น ส่วนออบเจ็คที่มีการรวมกลุ่ม,ออบเจ็คแบบ Primitive, ภาพ บิทแมพ หรือซิมโบลจะไม่สามารถใช้วิธีการนี้ได้ จะเป็ นการปรับบิดเส้นกรอบให้มีความโค้งเว้าได้อย่างอิสระ ไม่ จากัดอยู่แค่รูปทรงสี่เหลี่ยม ซึ่งหลังจากปรับเส้นกรอบแล้วรูปทรงที่ได้ก็จะ ถูกบิดสัมพันธ์กันตามไปด้วย ทั้งนี้ออบเจ็คที่สามารถปรับบิดรูปทรงแบบนี้ ได้จะต้องเป็ น Merge Drawing หรือ Object Drawing เช่นเดียวกับคาสั่ง Distort
  • 38. เฉพาะออบเจ็คแบบ Object Drawing ที่ถูกปรับบิดเอนอิสระ (Distort) หรือปรับบิดรูปทรงอิสระ (Envelope) คุณสามารถยกเลิกการปรับ เพื่อให้รูปทรงกลับคืนสู่สภาพเดิมได้ โดยใช้คาสั่ง Modify > Combine Objects > Delete Envelope เป็ นการพลิกกลับด้านออบเจ็คในลักษณะเหมือนเงาสะท้อน ซึ่งจะ ช่วยให้สะดวกในการวาดรูปทรงที่มีลักษณะเหมือนกันทั้งสองด้าน เช่น มือ หรือเท้าที่มีทั้งด้านซ้ายและด้านขวา เป็ นต้น โดยสามารถพลิกกลับตาม แนวนอน (Flip Horizontal) หรือตามแนวตั้ง (Flip Vertical)
  • 39. คุณสามารถดัดแปลงรูปทรงที่วาดไว้แล้วได้หลายลักษณะ ไม่ว่าจะ เป็ นการแปลงเส้นให้เป็ นสีพื้น, การปรับขอบเขตสีพื้น และการปรับขอบสี พื้นให้ดูนุ่มนวล แปลงเส้นให้เป็ นสีพื้น การแปลงเส้น (stroke) ให้เป็ นสีพื้น (fill) มีประโยชน์ใน การสร้างเอฟเฟ็คต์พิเศษหรือการตกแต่งรูปทรงของเส้นใหม่ แต่ทั้งนี้การ แปลงจะมีผลให้ขนาดไฟล์ใหญ่ขึ้น ปรับขอบเขตสีพื้น เป็ นการปรับลดหรือขยายขอบเขตสีพื้นของรูปทรง ออกไปโดยรอบทุกทิศทางตามระยะที่กาหนด โดยปกติแล้วคาสั่งนี้จะใช้กับ รูปทรงที่มีเฉพาะพื้นภาพโดยไม่มีเส้นขอบ และมีสีพื้นเป็ นเนื้อเดียวกัน แต่ หากรูปทรงมีเส้น หลังจากปรับแล้วเส้นจะถูกลบออกไป
  • 40. ปรับขอบสีพื้นให้ดูนุ่มนวล เป็ นการปรับให้ขอบสีพื้นของรูปทรงค่อยๆจางหายไปกับพื้นหลัง คล้ายการสร้างภาพเบลอในโปรแกรม Photoshop หากรูปทรงมีเส้นด้วย หลังจากใช้คาสั่งเส้นนั้นจะถูกลบออกไป เป็ นคาสั่งที่ใช้เฉพาะกับออบเจ็คแบบ Object Drawing ที่เรียงซ้อน กันอยู่ตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไป เพื่อตัด เจาะ หรือรวมรูปทรงเข้าด้วยกัน โดยมี ทั้งหมด 4 คาสั่งดังนี้ - Union (รวมชิ้น) เป็ นการรวมออบเจ็คทั้งหมดเข้าด้วยกันเป็ นชิ้น เดียว หรือใช้ในกรณีที่ต้องการแปลงออบเจ็คแบบ Merge Drawing ให้เป็ น Object Drawing
  • 41. - Intersect (ตัด) เป็ นการตัดออบเจ็คชิ้นบนสุด โดยเอามาเฉพาะพื้นที่ที่ ออบเจ็คทุกชิ้นซ้อนทับกันเท่านั้น (ส่วนพื้นที่ด้านนอกจะถูกตัดทิ้ง) - Punch (เจาะ) เป็ นการเจาะออบเจ็คทุกชิ้นด้านล่าง ด้วยรูปทรงของ ออบเจ็คชิ้บนสุด - Crop (ตัดขอบ) เป็ นคาสั่งที่ตรงกันข้ามกับ Punch คือ จะตัดขอบออบ เจ็คทุกชิ้นด้านล่างออกโดยใช้รูปทรงของออบเจ็คชิ้นบนสุด