SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
ใน Flash มีวิธีการสร้างภาพเคลื่อนไหวอยู่ 2 วิธี
หลักๆ คือ
- สร้างด้วยคาสั่ง Timeline Effects ซึ่งเป็ น
การเคลื่อนไหวแบบสาเร็จรูปที่โปรแกรมมีให้
- สร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยตัวเอง โดยวิธีนี้
คุณจะสามารถกาหนดจังหวะ ช่วงเวลาเล่น ทิศ
ทางการเคลื่อนไหว และการเปลี่ยนแปลงรูปทรงได้
เอง ซึ่งการสร้างด้วยวิธีนี้จะแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด
คือ แบบเฟรมต่อเฟรม (fream-by-fream) และ
แบบทวีน (Tween animation)
เป็ นการเคลื่อนไหวแบบสาเร็จรูปที่สร้างได้
ด้วยขั้นตอนง่ายๆ โดยโปรแกรมจะสร้างซิมโบล คีย์
เฟรมและเลเยอร ์ให้อัตโนมัติ เพื่อให้สอดคล้องกับ
การเคลื่อนไหวที่เลือก ซึ่งหลังจากใช้คาสั่งแล้วออบ
เจ็คจะถูกย้ายไปยังเลเยอร ์ใหม่ด้วย คาสั่งในชุดนี้
แบ่งออกเป็ น 3 กลุ่มด้วยกันคือ Assistant, Effect
และ Transition/ Transform ซึ่งจะมีบางคาสั่งที่ใช่
การสร้างภาพเคลื่อนไหวแต่มักใช้เพื่อเพิ่มเอฟเฟ็ คต์
ให้กับมูฟวี่คลิปที่เป็ นภาพเคลื่อนไหวอีกที เช่น ใช้
เอฟเฟ็ คต์Drop Shadow ในการสร้างเงาให้กับ
ภาพเคลื่อนไหว เป็ นต้น
ขั้นตอนการสร้างภาพเคลื่อนไหว
คุณสามารถคาสั่งเหล่านี้ได้กับออบเจ็คทุก
ออบชั่นของกลุ่ม Timeline Effects
แต่ละคาสั่งจะทาให้ผลที่แตกต่างกัน และมี
ออบชั่นที่แตกต่างกันด้วยดังนี้
คาสั่ง Copy to Grid
คาสั่งนี้ไม่ทาให้เกิดการเคลื่อนไหว แต่
เป็ นการก็อปปี้ออบเจ็คที่เลือกไปวางเรียงต่อๆกัน
ในแนวนอนหรือแนวตั้ง ดังภาพตัวอย่าง
คาสั่ง Distributed Duplicate
คาสั่งนี้สร้างความเคลื่อนไหว โดยการก๊อปปี้
ออบเจ็คไปวางซ้อนอยู่ด้านหลังแล้วค่อยๆแสดง
ออกมาทีละซีน ซึ่งระหว่างแสดงสามารถกาหนดให้
ออบเจ็คแปรเปลี่ยนขนาดและสีไปทีละนิดได้อีกด้วย
คาสั่ง Blur
เป็ นคาสั่งที่ทาให้ออบเจ็คค่อยๆเบลอและจาง
ลงไปเรื่อยๆ โดยสามารถปรับขนาดและทิศทางการ
เบลอได้ด้วย ดังนั้นจึงเหมะสาหรับใช้สร้างเอฟเฟ็ คต์
ในการเปลี่ยนภาพที่กาลังแสดงไปเป็ นภาพอื่น
คาสั่ง Drop Shadow
เป็ นคาสั่งที่ใช้สร้างเงาให้กับออบเจ็คหรือ
ภาพเคลื่อนไหวอื่น โดยไม่สามารถสร้างการ
เคลื่อนไหวขึ้นในตัวเองได้
คาสั่ง Expand
คาสั่ง Explode
เป็ นคาสั่งที่ใช้สร้างการเคลื่อนไหวแบบแตก
กระจายออก โดยหากเป็ นข้อความหรือกลุ่มออบเจ็ค
จะเป็ นการแยกออบเจ็คแต่ละชิ้นออกจากกัน แต่หาก
เป็ นออบเจ็คชิ้นเดียวก็จะการแตกออบเจ็คนั้นเป็ นชิ้น
ย่อยๆทั้งนี้คุณสามารถกาหนดทิศทางของการ
กระจายในลักษณะต่างๆได้
คาสั่ง Transform
เป็ นคาสั่งสาหรับทาให้ออบเจ็คเคลื่อนที่ พร้อม
กับเกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ไปพร้อมๆกัน เช่น ปรับ
ขนาด หมุน เปลี่ยนสี ความโปร่งใส และเปลี่ยนจังหวะ
การเคลื่อนที่
คาสั่ง Transittion
เป็ นคาสั่งที่ทาให้ออบเจ็คค่อยๆแสดงออกมา
หรือจางหายไปทีน้อย (Fade) หรือให้เลื่อนตัวออกมา
ชนิดของภาพเคลื่อนไหว
- ภาพเคลื่อนไหวแบบเฟรมต่อเฟรม
(Frame-by-Frame) คือการสร้างคีย์เฟรมหลายๆ
เฟรมเรียงต่อกัน โดยแต่ละเฟรมจะมีเนื้อหาเป็ น
ภาพนิ่งที่ค่อยๆเปลี่ยนแปลงรูปร่างหรือคุณสมบัติ
ไปทีละนิด ซึ่งเมื่อมีการแสดงย่างต่อเนื่องก็จาทา
ให้มองเห็นการเคลื่อนไหวเกิดขึ้น
- ภาพเคลื่อนไหวแบบทวีน (Tween
animation) คือการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ
อัตโนมัติโดยเพียงคุณสร้างเนื้อหาไว้ในเฟรม
เริ่มต้นและเฟรมสุดท้ายเท่านั้น ส่วนการ
เคลื่อนไหวที่อยู่ในเฟรมระหว่างการโปรแกรมจะ
Motion tween เป็ นการเคลื่อนไหวแบบ
เคลื่อนที่ คือมีการเปลี่ยนตาแหน่งของออบเจ็คจาก
จุดหนึ่งไปยังอีกจุด รวมไปถึงการเปลี่ยนแปลง
คุณสมบัติของตัวออบเจ็คเอง เช่น ขนาด สี ความ
โปร่งใสและการหมุน นอกจากนี้ยังสามารถสร้าง
เส้นทางการเคลื่อนที่ให้ออบเจ็คได้อีกด้วย
Shape tween เป็ นการเคลื่อนไหวแบบ
เปลี่ยนแปลงรูปร่าง คือการเปลี่ยนจากรูปร่างหนึ่งไป
เป็ นอีกรูปร่างหนึ่ง โดยโปรแกรมจะสร้างรูปร่างของ
ออบเจ็คในเฟรมที่อยู่ระหว่างกลางให้เอง
เนื่องจากการเคลื่อนไหวแบบเฟรมต่อเฟรมนี้
คุณจะต้องสร้างเนื้อหาขึ้นมาเองทุกเฟรม ดังนั้นแต่
ละการเคลื่อนไหวจะมีความเป็ นอิสระต่อกัน โดยคุณ
สามารถเปลี่ยนแปลงเนื้อหาในเฟรมใดเฟรมหนึ่งได้
โดยไม่มีผลกระทบกับเฟรมอื่น คืออาจเคลื่อนที่ไป
ในทิศทางใดก็ได้ หรือเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปแบบใดก็
ได้ตามต้องการปรับแต่งของคุณ ซึ่งจะเหมาะกับ
ภาพเคลื่อนไหวที่ค่อนข้างซับซ้อน ไม่มีรูปแบบที่
แน่นอน เกี่ยวข้องกับออบเจ็คหลายชิ้น หรือมีการ
เปลี่ยนแปลงแต่ละส่วนของออบเจ็คที่ไม่สัมพันธ ์กัน
เช่น ภาพนกค่อยๆกระพือปี กบินภาพดอกไม้ที่ค่อยๆ
บาน หรือภาพคนที่กาลังวิ่งหรือเต้นราอยู่ เป็ นต้น
สร้างภาพเคลื่อนไหวแบบเฟรมต่อเฟรม
ในการสร้างภาพเคลื่อนไหวชนิดนี้ ทาได้โดย
กาหนดแต่ละเฟรมให้เป็ นคีย์เฟรมแล้วใส่เนื้อหาที่
แตกต่างกันลงไป แต่เพื่อให้ได้การเคลื่อนไหวที่
ต่อเนื่องจึงต้องมีการก๊อปปี้เนื้อหาจากเฟรมที่อยู่
ก่อนหน้ามาใช้ แล้วค่อยๆทาการปรับแต่งทีละน้อย
อย่างเป็ นลาดับขั้น หรือคุณอาจจัเพิ่มเนื้อหาใหม่
เข้าไปก็ได้เช่นกัน
เนื่องจากการเคลื่อนไหวแบบเฟรมต่อเฟรมนี้
คุณจะต้องสร้างเนื้อหาขึ้นมาเองทุกเฟรม ดังนั้นแต่
ละการเคลื่อนไหวจะมีความเป็ นอิสระต่อกัน โดยคุณ
สามารถเปลี่ยนแปลงเนื้อหาในเฟรมใดเฟรมหนึ่งได้
โดยไม่มีผลกระทบกับเฟรมอื่น คืออาจเคลื่อนที่ไปใน
ทิศทางใดก็ได้ หรือเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปแบบใดก็ได้
ตามต้องการปรับแต่งของคุณ ซึ่งจะเหมาะกับ
ภาพเคลื่อนไหวที่ค่อนข้างซับซ้อน ไม่มีรูปแบบที่
แน่นอน เกี่ยวข้องกับออบเจ็คหลายชิ้น หรือมีการ
เปลี่ยนแปลงแต่ละส่วนของออบเจ็คที่ไม่สัมพันธ ์กัน
เช่น ภาพนกค่อยๆกระพือปี กบินภาพดอกไม้ที่ค่อยๆ
บาน หรือภาพคนที่กาลังวิ่งหรือเต้นราอยู่ เป็ นต้น
สร้างภาพเคลื่อนไหวแบบเฟรมต่อเฟรม
ในการสร้างภาพเคลื่อนไหวชนิดนี้ ทาได้
โดยกาหนดแต่ละเฟรมให้เป็ นคีย์เฟรมแล้วใส่
เนื้อหาที่แตกต่างกันลงไป แต่เพื่อให้ได้การ
เคลื่อนไหวที่ต่อเนื่องจึงต้องมีการก๊อปปี้เนื้อหาจาก
เฟรมที่อยู่ก่อนหน้ามาใช้ แล้วค่อยๆทาการ
ปรับแต่งทีละน้อยอย่างเป็ นลาดับขั้น หรือคุณอาจ
จัเพิ่มเนื้อหาใหม่เข้าไปก็ได้เช่นกัน
เป็ นการเคลื่อนไหวที่มีการเปลี่ยนตาแหน่งของ
ออบเจ็คจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง หรือเปลี่ยน
คุณสมบัติจากแบบหนึ่งไปเป็ นอีกแบบหนึ่ง โดยเป็ น
การเปลี่ยนแปลงที่แน่นอน ดังนั้น motion tween จึง
เหมาะกับภาพเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่องสม่าเสมอ เช่น
ภาพดวงอาทิตย์กาลังตกดิน ภาพกังหันที่กาลังหมุน
ภาพเครื่องบินกาลังบินขึ้น หรือภาพฉากหลังที่เปลี่ยน
จากสีหนึ่งไปเป็ นอีกสีหนึ่ง เป็ นต้น
วิธีสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Motion Tween
สร้างด้วยออปชั่น Motion Tween
คุณสามารถนาออบเจ็คมาสร้างได้หลาย
ประเภท ไม่ว่าจะเป็ น Object Drawing, ข้อความ, ซิ
มโบลหรือออบเจ็คที่ถูกรวมกลุ่มก็ได้ (ยกเว้น Merge
ก๊อปปี้การเคลื่อนไหวแบบ Motion Tween
เป็ นคาสั่งที่ช่วยให้คุฯสามารถนารูปแบบ
เคลื่อนไหวของออบเจ็คหนึ่งไปใช้กับออบเจ็คอื่นๆ
โดยจะเป็ นการก๊อปปี้คุณสมบัติทุกอย่างไม่ว่าจะเป็ น
ทิศทางการเคลื่อนที่ จังหวะ หรือจานวนเฟรมที่ใช้
และยังสามารถก๊อปปี้จากไฟล์หนึ่งไปยังอีกไฟล์หนึ่ง
ได้ด้วย
ปรับแต่งรูปแบบการเคลื่อนไหว
หลังจากสร้างการเคลื่อนไหวให้ออบเจ็คแล้ว
คุณสามารถปรับแต่งรูปแบบการเคลื่อนไหวเพิ่มเติม
จาก Property inspector ได้หลายรูปแบบ
ให้ออบเจ็คเคลื่อนที่ตามเส้นทาง
ตามปกติออบเจ็คที่เคลื่อนไหวแบบ Motion
tween จะเคลื่อนที่เป็ นแนวเส้นตรง แต่หากคุณ
เป็ นการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของออบเจ็คจากแบบ
หนึ่งให้ค่อยๆกลายเป็ นอีกแบบหนึ่ง ซึ่งจะต้องใช้ออบ
เจ็ค 2 ชิ้น ที่แตกต่างกัน เช่น การเปลี่ยนจากตัวอักษร
A ไปเป็ น B จากเสื้อไปเป็ นกางเกง หรือจากดินสอไป
เป็ นยางลบ เป็ นต้น (ต่างจากการเคลื่อนไหวแบบ
motion tween ซึ่งจะใช้ออบเจ็คชิ้นเดียว) โดย
โปรแกรมจะสร้างการเปลี่ยนแปลงรูปร่างในระหว่าง
กลางให้อัตโนมัติ
วิธีสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Shape Tween
ออบเจ็คที่นามาสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ shape
tween จะต้องเป็ นออบเจ็คพื้นฐานแบบ Merge
Drawing หรือ Object Drawing ซึ่งถ้าจะใช้
อินสแตนซ ์ออบเจ็คที่ร่วมกลุ่มอยู่ (group) ข้อความ
ปรับแต่งรูปแบบการเคลื่อนไหว
คุณสามารถปรับแต่งลักษณะการเคลื่อนไหว
แบบ shape tween ได้จาก Propery inspector
โดยคลิกเลือกเฟรมใดเฟรมหนึ่งของการเคลื่อนไหว
แล้วกาหนดออปชั่นต่างๆดังนี้
- Ease กาหนดจังหวะในการเคลื่อนไหว
ระหว่างเฟรม ถ้าต้องการเริ่มต้นช้าๆแล้วเร่ง
ความเร็วในช่วงท้าย ให้ใช้ค่าลบ แต่ถ้าจะให้เริ่มต้น
เร็วแล้วค่อยๆช้าลง ให้ใช้ค่าบวก
- Blend กาหนดวิธีการแปรเปลี่ยนของรูปทรง
โดย Distributive จะให้รูปทรงระหว่างกลางที่เรียบ
กว่า ส่วน Angular จะให้รูปทรงระหว่างกลางที่คง
ลักษณะของมุมหรือเส้นตรงไว้
ควบคุมการเปลี่ยนรูปทรงด้วย Shape hint
ในการสร้างภาพเคลื่อนไหวของรูปทรงที่
ซับซ้อน คุณสามารถใช้ shape hint เพื่อตรึงจุดที่
ต้องการให้อยู่คงที่ของรูปทรงทั้งก่อนและหลังการ
เปลี่ยนแปลงได้ shape hint ประกอบด้วยตัวอักษร
จาก a ถึง z โดยในคีย์เฟรมเริ่มต้นจะเป็ นสีเหลือง
และในคีย์เฟรมสุดท้ายจะเป็ นสีขาว แต่จะเป็ นสีแดง
ถ้า shape hint นั้นไม่ได้วางอยู่บนเส้นขอบรูปทรง
เพิ่มจังหวะการเคลื่อนไหว
หากต้องการเพิ่มช่วงหรืจังหวะการเคลื่อน
ไหว
เข้าไปในภาพเคลื่อนไหวเดิม ก็ทาได้โดยเพิ่มคีย์
เฟรมใหม่ โดยแบ่งเป็ น 2 กรณี คือ
- การเพิ่มช่วงเคลื่อนไหวในระหว่างกลาง ให้
คุณแทรกคีย์เฟรมใหม่ระหว่างเฟรมเคลื่อนไหวเดิม
- การเพิ่มช่วงเคลื่อนไหวต่อเนื่องไป ให้เพิ่มคีย์
เฟรมใหม่ต่อจากคีย์เฟรมสุดท้าย
ทั้ง 2 วิธีสามารถทาได้ทั้งกับการเคลื่อนไหว
แบบ motion และ shape tween (ที่สร้างด้วยคาสั่ง
Create Motion / Shape Tween)
สลับทิศทางการเคลื่อนไหว
เป็ นย้ายตาแหน่งของคีย์เฟรมจากเฟรมแรกไป
เป็ นเฟรมสุดท้ายและเฟนมสุดท้ายมาเป็ นเฟรมแรก
ส่วนเฟรมอื่นๆก็จะถูกสลับในทานองเดียวกัน ทาให้
มองเห็นการเคลื่อนไหวกลับเป็ นตรงกันข้าม การสลับ
นี้ทาได้ภาพเคลื่อนไหวแบบ Frame-by-Frame,
Motion tween หรือ Shape tween
แก้ไขซิมโบลภาพเคลื่อนไหว
เมื่อคุณสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ motion
tween ด้วยคาสั่ง Create Motion Tween โปรแกรม
จะแปลงออบเจ็คเหล่านั้นให้เป็ นซิมโบลประเภท
กราฟิ ก ชื่อ Tween 1, Tween 2,…ตามลาดับ และ
เก็บไว้ในไลบรารีให้อัตโนมัติ ซึ่งซิมโบลนี้จะถูกใช้เป็ น
้ ้ ่
เอฟเฟ็ คต์แบบ spotlight หรือ transition
ซึ่งมีลักษณะเหมือนกับการส่องไฟไปยังตัวละครที่
กาลังแสดงอยู่ หรือให้เห็นตัวละครและเนื้อหาค่อยๆ
ปรากฏขึ้นทีละส่วน เอฟเฟ็ คต์แบบนี้มีหลักในการ
สร้างคือ ให้คุณสร้างตัวละครหรือเนื้อหาทั้งหมดไว้
ในเลเยอร ์ด้านล่าง จากนั้นสร้าง spotlight หรือ
ช่องกรอบไว้ในเลเยอร ์ด้านบน แล้วกาหนดเลเยอร ์
บนเป็ น Mask layer เพื่อเจาะทะลุให้ผู้ชมมองเห็น
เฉพาะเนื้อหาในช่องเท่านั้นส่วนเนื้อหาที่อยู่ด้าน
นอกจะถูกบังไว้
สร้างการเคลื่อนไหวให้กับ Mask layer
คุณสามารถสร้างการเคลื่อนไหวของออบ
เจ็คใน mask layer โดยโดยจะให้ผลเหมือนกับ
แสงไฟที่เคลื่อนที่เพื่อสาดส่องไปยังเนื้อหาอื่นๆ
การเคลื่อนไหวนี้ทาได้ทั้งแบบ frame-by-
frame,motion tween และ shape tween
สาหรับ motion นั้นยังสามารถดาหนดให้
เคลื่อนที่ไปบน motion path ได้ด้วย
เทคนิคการใช้ Mask layer
เปลี่ยนเลเยอร ์ปกติให้เป็ นเลเยอร ์ที่ถูกบัง
คุณสามารถนาเลเยอร ์ปกติไปเพิ่มไว้
ภายใต้เลเยอร ์mask โดยหลายวิธีดีงนี้
- สร้างเลเยอณใหม่ภายใต้เลเยอร ์mask แล้ว
ค่อยสร้างเนื้อหา
- คลิกลากเลเยอร ์ที่มีเนื้อหาอยู่แล้ว ไปไว้ใต้เล
เยอร ์mask
- สาหรับเลเยอร ์ที่วางอยู่ด้านล่างของเลเยอร ์
mask ให้คลิกขวาที่เลเยอร ์แล้วเลือกคาสั่ง
properties จากนั้นให้คลิกเลือกออปชั่น Masked
ยกเลิกเลเยอร ์ที่ถูกบังคับ
- คลิกลากเลเยอร ์นั้น ออกนอกชั้นเลเยอร ์
mask
สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)

More Related Content

More from Yui Janjira Ketsakorn

ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์Yui Janjira Ketsakorn
 
ซิมโบลและอินสแตนช์
ซิมโบลและอินสแตนช์ซิมโบลและอินสแตนช์
ซิมโบลและอินสแตนช์Yui Janjira Ketsakorn
 
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกYui Janjira Ketsakorn
 
จัดการและปรับแต่งรูปทรง
จัดการและปรับแต่งรูปทรงจัดการและปรับแต่งรูปทรง
จัดการและปรับแต่งรูปทรงYui Janjira Ketsakorn
 
แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
แต่งแต้มสีสันให้ภาพแต่งแต้มสีสันให้ภาพ
แต่งแต้มสีสันให้ภาพYui Janjira Ketsakorn
 
การใช้งานเบื้องต้น
การใช้งานเบื้องต้นการใช้งานเบื้องต้น
การใช้งานเบื้องต้นYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์Yui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 8 ซิมโบลและอินสแตนช์
หน่วยที่ 8 ซิมโบลและอินสแตนช์หน่วยที่ 8 ซิมโบลและอินสแตนช์
หน่วยที่ 8 ซิมโบลและอินสแตนช์Yui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกหน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความ
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความหน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความ
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรง
หน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรงหน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรง
หน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรงYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพหน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพYui Janjira Ketsakorn
 

More from Yui Janjira Ketsakorn (20)

ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
 
ซิมโบลและอินสแตนช์
ซิมโบลและอินสแตนช์ซิมโบลและอินสแตนช์
ซิมโบลและอินสแตนช์
 
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
 
จัดการและปรับแต่งรูปทรง
จัดการและปรับแต่งรูปทรงจัดการและปรับแต่งรูปทรง
จัดการและปรับแต่งรูปทรง
 
แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
แต่งแต้มสีสันให้ภาพแต่งแต้มสีสันให้ภาพ
แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
 
ลงมือวาดภาพ
ลงมือวาดภาพลงมือวาดภาพ
ลงมือวาดภาพ
 
การใช้งานเบื้องต้น
การใช้งานเบื้องต้นการใช้งานเบื้องต้น
การใช้งานเบื้องต้น
 
รู้จักกับ Flash
รู้จักกับ Flashรู้จักกับ Flash
รู้จักกับ Flash
 
รู้จักกับ Flash
รู้จักกับ Flashรู้จักกับ Flash
รู้จักกับ Flash
 
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
 
หน่วยที่ 8 ซิมโบลและอินสแตนช์
หน่วยที่ 8 ซิมโบลและอินสแตนช์หน่วยที่ 8 ซิมโบลและอินสแตนช์
หน่วยที่ 8 ซิมโบลและอินสแตนช์
 
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกหน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
 
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความ
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความหน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความ
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความ
 
หน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรง
หน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรงหน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรง
หน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรง
 
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพหน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 

สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)

  • 1.
  • 2. ใน Flash มีวิธีการสร้างภาพเคลื่อนไหวอยู่ 2 วิธี หลักๆ คือ - สร้างด้วยคาสั่ง Timeline Effects ซึ่งเป็ น การเคลื่อนไหวแบบสาเร็จรูปที่โปรแกรมมีให้ - สร้างภาพเคลื่อนไหวด้วยตัวเอง โดยวิธีนี้ คุณจะสามารถกาหนดจังหวะ ช่วงเวลาเล่น ทิศ ทางการเคลื่อนไหว และการเปลี่ยนแปลงรูปทรงได้ เอง ซึ่งการสร้างด้วยวิธีนี้จะแบ่งออกเป็ น 2 ชนิด คือ แบบเฟรมต่อเฟรม (fream-by-fream) และ แบบทวีน (Tween animation)
  • 3. เป็ นการเคลื่อนไหวแบบสาเร็จรูปที่สร้างได้ ด้วยขั้นตอนง่ายๆ โดยโปรแกรมจะสร้างซิมโบล คีย์ เฟรมและเลเยอร ์ให้อัตโนมัติ เพื่อให้สอดคล้องกับ การเคลื่อนไหวที่เลือก ซึ่งหลังจากใช้คาสั่งแล้วออบ เจ็คจะถูกย้ายไปยังเลเยอร ์ใหม่ด้วย คาสั่งในชุดนี้ แบ่งออกเป็ น 3 กลุ่มด้วยกันคือ Assistant, Effect และ Transition/ Transform ซึ่งจะมีบางคาสั่งที่ใช่ การสร้างภาพเคลื่อนไหวแต่มักใช้เพื่อเพิ่มเอฟเฟ็ คต์ ให้กับมูฟวี่คลิปที่เป็ นภาพเคลื่อนไหวอีกที เช่น ใช้ เอฟเฟ็ คต์Drop Shadow ในการสร้างเงาให้กับ ภาพเคลื่อนไหว เป็ นต้น ขั้นตอนการสร้างภาพเคลื่อนไหว คุณสามารถคาสั่งเหล่านี้ได้กับออบเจ็คทุก
  • 4. ออบชั่นของกลุ่ม Timeline Effects แต่ละคาสั่งจะทาให้ผลที่แตกต่างกัน และมี ออบชั่นที่แตกต่างกันด้วยดังนี้ คาสั่ง Copy to Grid คาสั่งนี้ไม่ทาให้เกิดการเคลื่อนไหว แต่ เป็ นการก็อปปี้ออบเจ็คที่เลือกไปวางเรียงต่อๆกัน ในแนวนอนหรือแนวตั้ง ดังภาพตัวอย่าง
  • 5. คาสั่ง Distributed Duplicate คาสั่งนี้สร้างความเคลื่อนไหว โดยการก๊อปปี้ ออบเจ็คไปวางซ้อนอยู่ด้านหลังแล้วค่อยๆแสดง ออกมาทีละซีน ซึ่งระหว่างแสดงสามารถกาหนดให้ ออบเจ็คแปรเปลี่ยนขนาดและสีไปทีละนิดได้อีกด้วย คาสั่ง Blur เป็ นคาสั่งที่ทาให้ออบเจ็คค่อยๆเบลอและจาง ลงไปเรื่อยๆ โดยสามารถปรับขนาดและทิศทางการ เบลอได้ด้วย ดังนั้นจึงเหมะสาหรับใช้สร้างเอฟเฟ็ คต์ ในการเปลี่ยนภาพที่กาลังแสดงไปเป็ นภาพอื่น คาสั่ง Drop Shadow เป็ นคาสั่งที่ใช้สร้างเงาให้กับออบเจ็คหรือ ภาพเคลื่อนไหวอื่น โดยไม่สามารถสร้างการ เคลื่อนไหวขึ้นในตัวเองได้ คาสั่ง Expand
  • 6. คาสั่ง Explode เป็ นคาสั่งที่ใช้สร้างการเคลื่อนไหวแบบแตก กระจายออก โดยหากเป็ นข้อความหรือกลุ่มออบเจ็ค จะเป็ นการแยกออบเจ็คแต่ละชิ้นออกจากกัน แต่หาก เป็ นออบเจ็คชิ้นเดียวก็จะการแตกออบเจ็คนั้นเป็ นชิ้น ย่อยๆทั้งนี้คุณสามารถกาหนดทิศทางของการ กระจายในลักษณะต่างๆได้ คาสั่ง Transform เป็ นคาสั่งสาหรับทาให้ออบเจ็คเคลื่อนที่ พร้อม กับเกิดการเปลี่ยนแปลงต่างๆ ไปพร้อมๆกัน เช่น ปรับ ขนาด หมุน เปลี่ยนสี ความโปร่งใส และเปลี่ยนจังหวะ การเคลื่อนที่ คาสั่ง Transittion เป็ นคาสั่งที่ทาให้ออบเจ็คค่อยๆแสดงออกมา หรือจางหายไปทีน้อย (Fade) หรือให้เลื่อนตัวออกมา
  • 7. ชนิดของภาพเคลื่อนไหว - ภาพเคลื่อนไหวแบบเฟรมต่อเฟรม (Frame-by-Frame) คือการสร้างคีย์เฟรมหลายๆ เฟรมเรียงต่อกัน โดยแต่ละเฟรมจะมีเนื้อหาเป็ น ภาพนิ่งที่ค่อยๆเปลี่ยนแปลงรูปร่างหรือคุณสมบัติ ไปทีละนิด ซึ่งเมื่อมีการแสดงย่างต่อเนื่องก็จาทา ให้มองเห็นการเคลื่อนไหวเกิดขึ้น - ภาพเคลื่อนไหวแบบทวีน (Tween animation) คือการสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ อัตโนมัติโดยเพียงคุณสร้างเนื้อหาไว้ในเฟรม เริ่มต้นและเฟรมสุดท้ายเท่านั้น ส่วนการ เคลื่อนไหวที่อยู่ในเฟรมระหว่างการโปรแกรมจะ
  • 8. Motion tween เป็ นการเคลื่อนไหวแบบ เคลื่อนที่ คือมีการเปลี่ยนตาแหน่งของออบเจ็คจาก จุดหนึ่งไปยังอีกจุด รวมไปถึงการเปลี่ยนแปลง คุณสมบัติของตัวออบเจ็คเอง เช่น ขนาด สี ความ โปร่งใสและการหมุน นอกจากนี้ยังสามารถสร้าง เส้นทางการเคลื่อนที่ให้ออบเจ็คได้อีกด้วย Shape tween เป็ นการเคลื่อนไหวแบบ เปลี่ยนแปลงรูปร่าง คือการเปลี่ยนจากรูปร่างหนึ่งไป เป็ นอีกรูปร่างหนึ่ง โดยโปรแกรมจะสร้างรูปร่างของ ออบเจ็คในเฟรมที่อยู่ระหว่างกลางให้เอง
  • 9. เนื่องจากการเคลื่อนไหวแบบเฟรมต่อเฟรมนี้ คุณจะต้องสร้างเนื้อหาขึ้นมาเองทุกเฟรม ดังนั้นแต่ ละการเคลื่อนไหวจะมีความเป็ นอิสระต่อกัน โดยคุณ สามารถเปลี่ยนแปลงเนื้อหาในเฟรมใดเฟรมหนึ่งได้ โดยไม่มีผลกระทบกับเฟรมอื่น คืออาจเคลื่อนที่ไป ในทิศทางใดก็ได้ หรือเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปแบบใดก็ ได้ตามต้องการปรับแต่งของคุณ ซึ่งจะเหมาะกับ ภาพเคลื่อนไหวที่ค่อนข้างซับซ้อน ไม่มีรูปแบบที่ แน่นอน เกี่ยวข้องกับออบเจ็คหลายชิ้น หรือมีการ เปลี่ยนแปลงแต่ละส่วนของออบเจ็คที่ไม่สัมพันธ ์กัน เช่น ภาพนกค่อยๆกระพือปี กบินภาพดอกไม้ที่ค่อยๆ บาน หรือภาพคนที่กาลังวิ่งหรือเต้นราอยู่ เป็ นต้น
  • 10. สร้างภาพเคลื่อนไหวแบบเฟรมต่อเฟรม ในการสร้างภาพเคลื่อนไหวชนิดนี้ ทาได้โดย กาหนดแต่ละเฟรมให้เป็ นคีย์เฟรมแล้วใส่เนื้อหาที่ แตกต่างกันลงไป แต่เพื่อให้ได้การเคลื่อนไหวที่ ต่อเนื่องจึงต้องมีการก๊อปปี้เนื้อหาจากเฟรมที่อยู่ ก่อนหน้ามาใช้ แล้วค่อยๆทาการปรับแต่งทีละน้อย อย่างเป็ นลาดับขั้น หรือคุณอาจจัเพิ่มเนื้อหาใหม่ เข้าไปก็ได้เช่นกัน
  • 11. เนื่องจากการเคลื่อนไหวแบบเฟรมต่อเฟรมนี้ คุณจะต้องสร้างเนื้อหาขึ้นมาเองทุกเฟรม ดังนั้นแต่ ละการเคลื่อนไหวจะมีความเป็ นอิสระต่อกัน โดยคุณ สามารถเปลี่ยนแปลงเนื้อหาในเฟรมใดเฟรมหนึ่งได้ โดยไม่มีผลกระทบกับเฟรมอื่น คืออาจเคลื่อนที่ไปใน ทิศทางใดก็ได้ หรือเปลี่ยนแปลงรูปร่างไปแบบใดก็ได้ ตามต้องการปรับแต่งของคุณ ซึ่งจะเหมาะกับ ภาพเคลื่อนไหวที่ค่อนข้างซับซ้อน ไม่มีรูปแบบที่ แน่นอน เกี่ยวข้องกับออบเจ็คหลายชิ้น หรือมีการ เปลี่ยนแปลงแต่ละส่วนของออบเจ็คที่ไม่สัมพันธ ์กัน เช่น ภาพนกค่อยๆกระพือปี กบินภาพดอกไม้ที่ค่อยๆ บาน หรือภาพคนที่กาลังวิ่งหรือเต้นราอยู่ เป็ นต้น
  • 12. สร้างภาพเคลื่อนไหวแบบเฟรมต่อเฟรม ในการสร้างภาพเคลื่อนไหวชนิดนี้ ทาได้ โดยกาหนดแต่ละเฟรมให้เป็ นคีย์เฟรมแล้วใส่ เนื้อหาที่แตกต่างกันลงไป แต่เพื่อให้ได้การ เคลื่อนไหวที่ต่อเนื่องจึงต้องมีการก๊อปปี้เนื้อหาจาก เฟรมที่อยู่ก่อนหน้ามาใช้ แล้วค่อยๆทาการ ปรับแต่งทีละน้อยอย่างเป็ นลาดับขั้น หรือคุณอาจ จัเพิ่มเนื้อหาใหม่เข้าไปก็ได้เช่นกัน
  • 13. เป็ นการเคลื่อนไหวที่มีการเปลี่ยนตาแหน่งของ ออบเจ็คจากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง หรือเปลี่ยน คุณสมบัติจากแบบหนึ่งไปเป็ นอีกแบบหนึ่ง โดยเป็ น การเปลี่ยนแปลงที่แน่นอน ดังนั้น motion tween จึง เหมาะกับภาพเคลื่อนไหวที่ต่อเนื่องสม่าเสมอ เช่น ภาพดวงอาทิตย์กาลังตกดิน ภาพกังหันที่กาลังหมุน ภาพเครื่องบินกาลังบินขึ้น หรือภาพฉากหลังที่เปลี่ยน จากสีหนึ่งไปเป็ นอีกสีหนึ่ง เป็ นต้น วิธีสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Motion Tween สร้างด้วยออปชั่น Motion Tween คุณสามารถนาออบเจ็คมาสร้างได้หลาย ประเภท ไม่ว่าจะเป็ น Object Drawing, ข้อความ, ซิ มโบลหรือออบเจ็คที่ถูกรวมกลุ่มก็ได้ (ยกเว้น Merge
  • 14. ก๊อปปี้การเคลื่อนไหวแบบ Motion Tween เป็ นคาสั่งที่ช่วยให้คุฯสามารถนารูปแบบ เคลื่อนไหวของออบเจ็คหนึ่งไปใช้กับออบเจ็คอื่นๆ โดยจะเป็ นการก๊อปปี้คุณสมบัติทุกอย่างไม่ว่าจะเป็ น ทิศทางการเคลื่อนที่ จังหวะ หรือจานวนเฟรมที่ใช้ และยังสามารถก๊อปปี้จากไฟล์หนึ่งไปยังอีกไฟล์หนึ่ง ได้ด้วย ปรับแต่งรูปแบบการเคลื่อนไหว หลังจากสร้างการเคลื่อนไหวให้ออบเจ็คแล้ว คุณสามารถปรับแต่งรูปแบบการเคลื่อนไหวเพิ่มเติม จาก Property inspector ได้หลายรูปแบบ ให้ออบเจ็คเคลื่อนที่ตามเส้นทาง ตามปกติออบเจ็คที่เคลื่อนไหวแบบ Motion tween จะเคลื่อนที่เป็ นแนวเส้นตรง แต่หากคุณ
  • 15. เป็ นการเปลี่ยนแปลงรูปร่างของออบเจ็คจากแบบ หนึ่งให้ค่อยๆกลายเป็ นอีกแบบหนึ่ง ซึ่งจะต้องใช้ออบ เจ็ค 2 ชิ้น ที่แตกต่างกัน เช่น การเปลี่ยนจากตัวอักษร A ไปเป็ น B จากเสื้อไปเป็ นกางเกง หรือจากดินสอไป เป็ นยางลบ เป็ นต้น (ต่างจากการเคลื่อนไหวแบบ motion tween ซึ่งจะใช้ออบเจ็คชิ้นเดียว) โดย โปรแกรมจะสร้างการเปลี่ยนแปลงรูปร่างในระหว่าง กลางให้อัตโนมัติ วิธีสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ Shape Tween ออบเจ็คที่นามาสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ shape tween จะต้องเป็ นออบเจ็คพื้นฐานแบบ Merge Drawing หรือ Object Drawing ซึ่งถ้าจะใช้ อินสแตนซ ์ออบเจ็คที่ร่วมกลุ่มอยู่ (group) ข้อความ
  • 16. ปรับแต่งรูปแบบการเคลื่อนไหว คุณสามารถปรับแต่งลักษณะการเคลื่อนไหว แบบ shape tween ได้จาก Propery inspector โดยคลิกเลือกเฟรมใดเฟรมหนึ่งของการเคลื่อนไหว แล้วกาหนดออปชั่นต่างๆดังนี้ - Ease กาหนดจังหวะในการเคลื่อนไหว ระหว่างเฟรม ถ้าต้องการเริ่มต้นช้าๆแล้วเร่ง ความเร็วในช่วงท้าย ให้ใช้ค่าลบ แต่ถ้าจะให้เริ่มต้น เร็วแล้วค่อยๆช้าลง ให้ใช้ค่าบวก - Blend กาหนดวิธีการแปรเปลี่ยนของรูปทรง โดย Distributive จะให้รูปทรงระหว่างกลางที่เรียบ กว่า ส่วน Angular จะให้รูปทรงระหว่างกลางที่คง ลักษณะของมุมหรือเส้นตรงไว้
  • 17. ควบคุมการเปลี่ยนรูปทรงด้วย Shape hint ในการสร้างภาพเคลื่อนไหวของรูปทรงที่ ซับซ้อน คุณสามารถใช้ shape hint เพื่อตรึงจุดที่ ต้องการให้อยู่คงที่ของรูปทรงทั้งก่อนและหลังการ เปลี่ยนแปลงได้ shape hint ประกอบด้วยตัวอักษร จาก a ถึง z โดยในคีย์เฟรมเริ่มต้นจะเป็ นสีเหลือง และในคีย์เฟรมสุดท้ายจะเป็ นสีขาว แต่จะเป็ นสีแดง ถ้า shape hint นั้นไม่ได้วางอยู่บนเส้นขอบรูปทรง
  • 18. เพิ่มจังหวะการเคลื่อนไหว หากต้องการเพิ่มช่วงหรืจังหวะการเคลื่อน ไหว เข้าไปในภาพเคลื่อนไหวเดิม ก็ทาได้โดยเพิ่มคีย์ เฟรมใหม่ โดยแบ่งเป็ น 2 กรณี คือ - การเพิ่มช่วงเคลื่อนไหวในระหว่างกลาง ให้ คุณแทรกคีย์เฟรมใหม่ระหว่างเฟรมเคลื่อนไหวเดิม - การเพิ่มช่วงเคลื่อนไหวต่อเนื่องไป ให้เพิ่มคีย์ เฟรมใหม่ต่อจากคีย์เฟรมสุดท้าย ทั้ง 2 วิธีสามารถทาได้ทั้งกับการเคลื่อนไหว แบบ motion และ shape tween (ที่สร้างด้วยคาสั่ง Create Motion / Shape Tween)
  • 19. สลับทิศทางการเคลื่อนไหว เป็ นย้ายตาแหน่งของคีย์เฟรมจากเฟรมแรกไป เป็ นเฟรมสุดท้ายและเฟนมสุดท้ายมาเป็ นเฟรมแรก ส่วนเฟรมอื่นๆก็จะถูกสลับในทานองเดียวกัน ทาให้ มองเห็นการเคลื่อนไหวกลับเป็ นตรงกันข้าม การสลับ นี้ทาได้ภาพเคลื่อนไหวแบบ Frame-by-Frame, Motion tween หรือ Shape tween แก้ไขซิมโบลภาพเคลื่อนไหว เมื่อคุณสร้างภาพเคลื่อนไหวแบบ motion tween ด้วยคาสั่ง Create Motion Tween โปรแกรม จะแปลงออบเจ็คเหล่านั้นให้เป็ นซิมโบลประเภท กราฟิ ก ชื่อ Tween 1, Tween 2,…ตามลาดับ และ เก็บไว้ในไลบรารีให้อัตโนมัติ ซึ่งซิมโบลนี้จะถูกใช้เป็ น ้ ้ ่
  • 20. เอฟเฟ็ คต์แบบ spotlight หรือ transition ซึ่งมีลักษณะเหมือนกับการส่องไฟไปยังตัวละครที่ กาลังแสดงอยู่ หรือให้เห็นตัวละครและเนื้อหาค่อยๆ ปรากฏขึ้นทีละส่วน เอฟเฟ็ คต์แบบนี้มีหลักในการ สร้างคือ ให้คุณสร้างตัวละครหรือเนื้อหาทั้งหมดไว้ ในเลเยอร ์ด้านล่าง จากนั้นสร้าง spotlight หรือ ช่องกรอบไว้ในเลเยอร ์ด้านบน แล้วกาหนดเลเยอร ์ บนเป็ น Mask layer เพื่อเจาะทะลุให้ผู้ชมมองเห็น เฉพาะเนื้อหาในช่องเท่านั้นส่วนเนื้อหาที่อยู่ด้าน นอกจะถูกบังไว้
  • 21. สร้างการเคลื่อนไหวให้กับ Mask layer คุณสามารถสร้างการเคลื่อนไหวของออบ เจ็คใน mask layer โดยโดยจะให้ผลเหมือนกับ แสงไฟที่เคลื่อนที่เพื่อสาดส่องไปยังเนื้อหาอื่นๆ การเคลื่อนไหวนี้ทาได้ทั้งแบบ frame-by- frame,motion tween และ shape tween สาหรับ motion นั้นยังสามารถดาหนดให้ เคลื่อนที่ไปบน motion path ได้ด้วย
  • 22. เทคนิคการใช้ Mask layer เปลี่ยนเลเยอร ์ปกติให้เป็ นเลเยอร ์ที่ถูกบัง คุณสามารถนาเลเยอร ์ปกติไปเพิ่มไว้ ภายใต้เลเยอร ์mask โดยหลายวิธีดีงนี้ - สร้างเลเยอณใหม่ภายใต้เลเยอร ์mask แล้ว ค่อยสร้างเนื้อหา - คลิกลากเลเยอร ์ที่มีเนื้อหาอยู่แล้ว ไปไว้ใต้เล เยอร ์mask - สาหรับเลเยอร ์ที่วางอยู่ด้านล่างของเลเยอร ์ mask ให้คลิกขวาที่เลเยอร ์แล้วเลือกคาสั่ง properties จากนั้นให้คลิกเลือกออปชั่น Masked ยกเลิกเลเยอร ์ที่ถูกบังคับ - คลิกลากเลเยอร ์นั้น ออกนอกชั้นเลเยอร ์ mask