SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
การสร้างเนื้อหาของมูฟวี่โดยใช้ซิมโบลจะช่วยให้ขนาดไฟล์มูฟวี่
นั้นเล็กลงมาก เนื่องจากคุณสามารถดึงซิมโบลมาใช้ซ้าๆกันได้ไม่จากัด
โดยที่โปรแกรมจะจัดเก็บเฉพาะซิมโบลต้นแบบเพียงตัวเดียว และเก็บ
คุณสมบัติเฉพาะของอินสแตนซ์แต่ละตัวที่แตกต่างจากซิมโบลต้นแบบ
(กรณีที่ปรับแต่งอินสแตนซ์เพิ่มเติม)อีกทั้งจะช่วยเพิ่มความเร็วในการ
แสดงมูฟวี่อีกด้วย นอกจากนี้การใช้ซิมโบลยังช่วยให้สามารถปรับแต่งเอฟ
เฟ็คต์พิเศษบางอย่างที่ออบเจ็คพื้นฐานไม่สามารถทาได้ เช่น การกาหนด
ActionScript, การปรับ Blend Mode หรือใส่ฟิลเตอร์
ซิมโบลแบ่งออกเป็ น 3 ชนิด โดยแต่ละชนิดมีวิธีสร้างและรูปแบบ
การใช้งานที่แตกต่างกันดังนี้
มูฟวี่คลิป (Movie Clip) คือซิมโบลสาหรับสร้างภาพเคลื่อนไหว
เป็ นมูฟวี่ย่อยๆ มักใช้ในการแบ่งตัวแสดงหรือแบ่งตอนของการแสดง โดยที่
ภาพเคลื่อนไหวนี้จะเล่นอย่างเป็ นอิสระจากไทม์ไลน์ของมูฟวี่หลัก ทั้งนี้มูฟวี่
คลิปอาจเป็ นภาพนิ่งก็ได้เช่นกัน
ปุ่ ม (Botton) คือซิมโบลสาหรับสร้างปุ่ มที่ใช้ตอบสนองต่อการ
กระทาของเมาส์ เช่น การคลิกปุ่ มมหรือการเลื่อนเมาส์เหนือปุ่ มเป็ นต้น
กราฟิก (Gtaphic) คือซิมโบลสาหรับรูปทรงเวคเตอร์หรือภาพบิท
แมพที่เป็ นภาพนิ่ง ซึ่งอาจนาไปเป็ นส่วนประกอบของการสร้าง
ภาพเคลื่อนไหวของมูฟวี่คลิป, ปุ่ ม หรือมูฟวี่หลักได้ โดยปกติกราฟิกจถูก
สร้างขึ้นมาให้อัตโนมัติ เมี่อคุณกาหนดให้ออบเจ็คนั้นแสดงการเคลื่อนไหว
แบบทวีน (tween)
การสร้างซิมโบลสามารถทาได้ 2 วิธี คือ การแปลงออบเจ็คที่มีอยู่
แล้วบนสเตจให้เป็ นซิมโบล หรือ สร้างซิมโบลเปล่าขึ้นมาใหม่แล้วค่อยใส่เนื้อห
ต่างๆเข้าไป
แปลงออบเจ็คให้เป็ นซิมโบล
เมื่อมีเนื้อหาหรือออบเจ็คอยู่บนสเตจแล้ว สามารถแปลงให้เป็ นซิ
มโบลได้อย่างรวดเร็วดังนี้
โปรแกรมจะแปลงออบเจ็คที่เลือกไว้ให้กลายเป็ นซิมโบลพร้อมกับ
นาไปเก็บในไลบรารี ส่วนออบเจ็คเดิมที่อยู่บนสเตจก็จะกลายเป็ นอินสแตนซ์
ของซิมโบล
สร้างซิมโบลขึ้นมาใหม่
การสร้างซิมโบลขึ้นมาใหม่ เริ่มต้นจากสร้างซิมโบลเปล่าก่อน
จากนั้นจึงค่อยสร้างเนื้อหาด้วยการวาดหรือใส่องค์ประกอบคต่างๆ ลงไปอีกที
ซิมโบลแต่ละชนิดจะมีไทม์ไลน์ที่แตกต่างกัน ดังนั้นในขั้นตอนต่อไปนี้จะเป็ น
ตัวอย่างคร่าวๆเท่านั้น สาหรับการวาดและวางองค์ประกอบให้กับซิมโบลแต่
ละชนิดนั้น
ไลบรารี คือพาเนลที่ใช้จัดเก็บซิมโบลมราสร้างขึ้นภายใน Flash
รวมทั้งใช้เก็บไฟล์ชนิดต่างๆที่นาเข้ามาจากภายนอก ไม่ว่าจะเป็ นภาพบิท
แมพ, เวคเตอร์, ไฟล์เสียง และไฟล์วิดีโอ เมื่อคลิกชื่อซิมโบลในไลบรารีจะ
ปรากฏภาพตัวอย่างของซิมโบลนั้นที่ด้านบนของพาเนล และถ้าซิมโบลนั้น
เป็ นภาพเคลื่อนไหวหรือเสียง คุณก้สามารถคลิกปุ่ มควบคุมเพื่อชมหรือฟัง
เสียงได้ ไฟล์ Flash แต่ละไฟล์จะมีไลบรารีเป็ นของตัวเอง ดังภาพเป็ นไลบรารี
ของไฟล์ Untitled-3
คาสั่งที่ใช้เปิ ด/ปิ ด : Window > Library (คีย์ลัด Ctrl + L)
ปรับแต่งไลบรารี
ปรับความกว้างของไลบรารี
โดยคลิกที่ปุ่ ม เพื่อแสดงแบบกว้าง (แสดงข้อมูลครบทุกคอลัมน์) หรือคลิก
ที่ปุ่ ม เพื่อแสดงแบบแคบ
ปรับความกว้างของคอลัมน์
คลิกลากที่ขอบขวาของชื่อคอลัมน์ ออกไปทางขวาเพื่อขยาย หรือ
คลิกลากไปทางซ้ายเพื่อย่อ
จัดเรียงซิมโบล
คลิกที่หัวคอลัมน์ข้อมูลที่ต้องการให้จัดเรียง จากนั้นจึงคลิกที่ปุ่ ม
เพื่อเรียงจากค่าน้อยไปหามาก หรือปุ่ ม เพื่อเรียงจากค่ามากไปน้อย
เรียกใช้ไลบรารีของไฟล์อื่นที่เปิ ดอยู่
ขณะที่กาลังทางานกับไฟล์หนึ่ง คุณสามารถเรียกใช้ซิมโบลของไฟล์
อื่นที่เปิ ดอยู่ โดยคลิก music-notes-symbol.fla ด้านบนไลบรารี แล้วเลือกชื่อ
ไฟล์ที่ต้องการ ก็จะสามารถดึงซิมโบลเหล่านั้นมาใช้บนสเตจได้ทันที ซึ่ง
โปรแกรมจะก๊อปปี้ ซิมโบลที่ถูกเรียกใช้มาเก็บในไลบรารีของไฟล์มูฟวี่ที่กาลัง
ทางานอยู่ให้โดยอัตโนมัติ
เปลี่ยนคุณสมบัติของซิมโบล
การเปลี่ยนคุณสมบัติของซิมโบล เช่น ชื่อและชนิดทาได้ดังนี้
ก๊อปปี้ ซิมโบล
คุณสามารถก๊อปปี้ ซิมโบลเพื่อนาไปปรับแต่งเนื้อหาใหม่ หรือก๊อปปี้
พร้อมกับเปลี่ยนชนิดไปเป็ นแบบอื่นก็ได้
ลบซิมโบล
การลบซิมโบลควรทาอย่างระมัดระวัง เนื่องจากจะทาให้อินสแตนซ์
ทั้งหมดของซิมโบลนั้นถูกลบไปด้วย สาหรับขั้นตอนในการลบมีดังนี้
ใช้โฟล์เดอร์จัดเก็บซิมโบล
การแยกเก็บซิมโบลออกเป็ นกลุ่มย่อยๆจะช่วยให้คุณสามารถจัด
ระเบียบและจัดการซิมโบลได้ง่ายขึ้น
สร้างโฟลเดอร์ใหม่
1. ตั้งชื่อโฟลเดอร์แล้วกดคีย์ Enter 2. คลิกปุ่ ม New Folder
ย้ายซิมโบลไปเก็บในโฟลเดอร์
การย้ายให้คลิกลากซิมโบลไปปล่อยบนโฟลเดอร์ที่ต้องการ
โดยเมื่อย้ายแล้วจะเห็นได้ว่าไอคอนจะเปลี่ยนไปจากรูป (หมายถึง ไม่มีซิมโบล)
เป็ น (หมายถึง มีซิมโบลเก็บอยู่)
1. คลิกลากไปปล่อยบนโฟลเดอร์ 2. เลือกรายการซิมโบล
เปลี่ยนชื่อโฟลเดอร์
1. ดับเบิลคลิก
2. ตั้งชื่อโฟลเดอร์ใหม่ แล้วกดคีย์ Enter
จากซิมโบลต้นแบบเพียงชิ้นเดียวคุณสามารถนามาใช้เป็ นอินสแตนซ์กี่
ชิ้นก็ได้ โดยอินสแตนซ์จะไม่สามารถใช้เครื่องมือ ระบายสี หรือแก้ไขเนื้อหา
ภายในเหมือนรูปทรงปกติได้ เนื่องจากจะมีผลทาให้ซิมโบลต้นแบบและอินสแตนซ์
อื่นๆถูกแก้ไขตามไปด้วย แต่ว่าคุณสามารถปรับขนาด, หมุน, บิด, ปรับเอฟเฟ็คต์
ของสีความโปรงใส และใส่ฟิลเตอร์ต่างๆ ซึ่งเป็ นคุณสมบัติเฉพาะตัวของ
อินสแตนซ์แต่ละชิ้นได้
สร้างอินสแตนซ์
ทาได้โดยดึงซิมโบลนั้นมาวางบนสเตจแบบเดี่ยวๆ หรืออาจนาไปซ้อนใน
ซิมโบลชิ้นอื่นก็ได้
สลับอินสแตนซ์
เป็ นการสลับเอาอินสแตนซ์ของซิมโบลอื่นที่อยู่ในไฟล์เดียวกันมาใช้
แทนที่ โดยคุณสมบัติเฉพาะตัวของอินสแตนซ์เดิมยังคงอยู่ ไม่ว่าจะเป็ นตาแหน่ง
การบิด การหมุน ActionScript เอฟเฟ็คต์ของสี Blend Mode หรือฟิลเตอร์ เป็ นต้น
แยกส่วนอินสแตนซ์
การแยกส่วน (break apart) มักใช้ในกรณีที่ต้องการแก้ไข
อินสแตนซ์ที่มีรายละเอียดซับซ้อน หรือเนื้อหาที่ต้องการแก้ไขมีมาก ทั้งนี้เพื่อ
ไม่ให้การแก้ไขนั้นมีผลกับซิมโบลต้นแบบ การแยกส่วนจะทาให้องค์ประกอบ
ทั้งหมดถูกแยกออกเป็ นชิ้นส่วนย่อยๆ ไม่ว่าจะเป็ นรูปทรงต่างๆ ข้อความ
ออบเจ็คที่รวมกลุ่ม หรือองค์ประกอบอื่นๆ ที่ใช้ในการสร้างซิมโบลดังกล่าว
และจะทาให้อินสแตนซ์นั้นถูกตัดขาดจากซิมโบลต้นแบบดังนั้นเมื่อมีการ
แก้ไขซิมโบลต้นแบบในภายหลังก็จะไม่มีผลกับอินสแตนซ์นี้อีก วิธีการแยก
ส่วนอินสแตนซ์ทาได้
การเปลี่ยนแปลงแก้ไขเนื้อหาหรือปรับแต่งรายละเอียดส่วนใดๆ ของ
ซิมโบลต้นแบบก็ตาม จะมีผลทาให้อินสแตนซ์ทั้งหมดของซิมโบลนั้นถูกแก้ไข
ตามไปด้วย ไม่ว่าจะเป็ นการใช้เครื่องมือวาดและระบายสี, การพิมพ์ข้อความ,
การปรับขนาด, หมุน, บิด หรือแม้แต่การนาอินสแตนซ์ของซิมโบลอื่นมาวาง
เป็ นส่วนประกอบวิธีเข้าสู่การแก้ไขซิมโบลทาได้ 3 แบบคือ
- แก้ไขขณะที่อยู่ในหน้าจอปกติร่วมกับออบเจ็คอื่น
- แก้ไขในโหมดแก้ไขซิมโบล
- เปิ ดเป็ นวินโดว์ใหม่ขึ้นมาเพื่อแก้ไขซิมโบลโดยอิสระ
แก้ไขซิมโบลในหน้าจอปกติ
เป็ นการแก้ไขซิมโบลจากอินสแตนซ์ที่วางอยู่บนสเตจ ซึ่งคุณจะ
ยังคงมองเห็นออบเจ็คอื่นๆที่ไม่เกี่ยวข้องอยู่ในตาแหน่งเดิม เพียงแต่ออบเจ็ค
เหล่านั้นจะมีสีจางลง เพื่อบอกว่าคุณไม่สามารถทาอะไรกับมันได้นอกจากซิ
มโบลที่กาลังแก้ไขอยู่
แก้ไขซิมโบลในโหมดแก้ไข
เป็ นการแก้ไขที่ซิมโบลต้นแบบโดยตรง ซึ่งคุณจะมองเห็นเฉพาะซิ
มโบลที่กาลังแก้ไขเท่านั้น
แก้ไขซิมโบลในวินโดว์ใหม่
เป็ นการเปิ ดวินโดว์ใหม่เพื่อแก้ไขซิมโบลนั้นโดยเฉพาะ ซึ่งมีข้อดีกว่า
การเข้าสู่โหมดแก้ไข คือ สามารถเปิ ดแก้ไขซิมโบลหลายชิ้นได้พร้อมๆกัน
(แต่ละชิ้นจะถูกเปิ ดเป็ น 1 วินโดว์) และในขณะปรับแต่งยังสามารถดูการ
เปลี่ยนแปลงของอินสแตนซ์บนวินโดว์มูฟวี่หลักได้ตลอดเวลา
นอกจากซิมโบลที่สร้างขึ้นเองภายในมูฟวี่แล้ว คุณยังสามารถเรียกใช้ซิ
มโบลจากแหล่งอื่นๆได้อีกไม่ว่าจะเป็ นซิมโบลสาเร็จรูปที่โปรแกรมมีให้ หรือจาก
ไลบรารีของไฟล์อื่น
เรียกใช้ซิมโบลสาเร็จรูปของโปรแกรม
โปรแกรม Flash ได้เตรียมซิมโบลสาเร็จรูปไว้จานวนหนึ่ง สาหรับให้คุณ
นามาใช้ได้ทันทีโดยไม่ต้องสร้างเอง ซิมโบลเหล่านี้เรียกว่า common library ซึ่ง
ตามปกติจะมีให้เลือก 3 กลุ่ม คือ
- Buttons คือ ซิมโบลชนิดปุ่ มในแบบต่างๆ
- Classes คือ คอมโพเนนต์ที่ใช้เป็ นเครื่องมือสาหรับงานด้านฐานข้อมูล
- Learning Interactions คือ คอมโพเนนต์ที่ใช้เป็ นเครื่องมือสร้างสื่อ
แบบโต้ตอบกับผู้ชมได้
เมื่อมีการเปิ ด common library และดึงซิมโบลมาใช้แล้ว ซิมโบล
ดังกล่าวนั้นจะถูกเก็บเพิ่มเข้าไปในไลบรารีหลักของไฟล์ทันที วิธีเปิ ดไลบรารี
และเรียกใช้ซิมโบลสาเร็จรูป
เรียกใช้ซิมโบลของไฟล์อื่น
เมื่อต้องการใช้ซิมโบลจากไฟล์มูฟวี่อื่น คุณสามารถเรียก
เปิ ดไลบรารีของไฟล์ที่ต้องการนั้นได้ ซึ่งเมื่อซิมโบลตัวใดถูกนามาใช้มันก็จะ
ถูกก๊อปปี้ เข้ามาเก็บในไลบรารีของไฟล์ปัจจุบันโดยอัตโนมัติ
สาหรับซิมโบลใดที่มีการใช้ซ้ากันในหลายๆมูฟวี่นั้น คุณสามารถ
แชร์ซิมโบลจากมูฟวี่หนึ่งไปใช้ในมูฟวี่อื่นๆได้ โดยไม่ต้องเก็บซิมโบล
ดังกล่าวไว้ในมูฟวี่ทุกไฟล์ ซึ่งวิธีการแบบนี้เรียกว่า “shared library” การใช้
ซิมโบลร่วมกันมี 2 วิธี
- Runtime sharing วิธีนี้ซิมโบลจากมูฟวี่ต้นทางจะถูกลิงค์เข้าไปใช้ในมูฟวี่
ปลายทาง โดยไม่ได้นาข้อมูลไปเก็บไว้จริง ซิมโบลจะถูกโหลดก็ต่อเมื่อมูฟวี่
ปลายทางถูกเล่น ดังนั้นคุณจึงต้องนาไฟล์มูฟวี่ต้นทางไปเก็บไว้บนเซิร์ฟเวอร์
ตามตาแหน่ง URL ที่กาหนดไว้ด้วย มิฉะนั้น Flash Player จะหาซิมโบลไม่พบ
และการเล่นจะไม่สมบูรณ์
- Share assets during authoring วิธีนี้เป็ นการนาซิมโบลจากมูฟวี่อื่นเข้ามา
แทนที่ซิมโบลในมูฟวี่ปัจจุบัน โดยที่ยังคงชื่อและคุณสมบัติเดิมไว้ ยกเว้น
เนื้อหาภายในที่จะเปลี่ยนไปตามซิมโบลที่คุณเลือก นอกจากนี้เมื่อมีการแก้ไข
ซิมโบลในมูฟวี่ต้นทาง ซิมโบลในมูฟวี่ปลายทางก็จะถูกปรับปรุงตามไปด้วย
การใช้ซิมโบลร่วมกันจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการทางาน
(workflow) และการจัดการ asset (asset management) ได้อย่างมาก เช่น
สะดวกในการควบคุมและติดตามการใช้ฟอนต์ซิมโบลร่วมกันในหลายมูฟวี่,
การใช้มูฟวี่คลิปเดียวกันในหลายซีนหรือหลายมูฟวี่ นอกจากนี้วิธี runtime
sharing ยังช่วยให้ขนาดรวมของไฟล์มูฟวี่ทั้งหมดลดลงเพราะไม่ต้องเก็บข้อมูล
ซ้าๆอีกด้วย
ใช้งาน Runtime sharing
ในการใช้งานแบบ runtime sharing นั้น มีขั้นตอยหลักๆอยู่ 2 ส่วน
โดยขั้นแรกคือการเอ็กซ์พอร์ตซิมโบลในมูฟวี่ต้นทางเพื่อให้สามารถเรียกใช้
จากมูฟวี่ปลายทาง และขั้นตอนที่สองคือการอิมพอร์ตซอมโบลดังกล่า
วจากมูฟวี่ต้นทางเข้ามาใช้ในมูฟวี่ปลายทาง
เอ็กพอร์ตซิมโบลในมูฟวี่ต้นทาง
มูฟวี่ต้นทางคือไฟล์ที่มีซิมโบล ซึ่งคุณต้องการแชร์ไปใช้
ในมูฟวี่อื่นๆด้วยเมื่อเสร็จขั้นตอนแล้ว ให้คุฯตรวจสอบอีกครั้งว่าไฟล์ SWF ที่
ได้นั้นอยู่ในโฟลเดอร์และมีชื่อตรงตามที่ระบุไว้ในขั้นตอนที่ 7 หรือไม่ หรือใน
กรณีที่คุณระบุไว้เป็ น URL ของเว็บเพจ ก็จะต้องอัพโหลดไฟล์ SWF ดังกล่าว
ไปไว้เสียก่อน ไม่เช่นนั้นมูฟวี่ปลายทางจะไม่สามารถเรียกใช้ได้
เอ็กพอร์ตซิมโบลเข้ามาใช้ในมูฟวี่ปลายทาง
คุณสามารถเรียกใช้ซิมโบลที่เอ็กพอร์ตไว้ในมูฟวี่ต้นทางได้
โดยมีหลักการคือ จะต้องสร้างซิมโบลตัวแทนไว้ก่อน หลังจากนั้นกอิมพอร์ตซิ
มโบลจากมูฟวี่ต้นทางมาแสดงแทน แต่การแสดงผลจะถูกต้องเฉพาะในขณะที่
เล่นมูฟวี่เท่านั้น ส่วนในขณะแก้ไขมูฟวี่คุณจะเห็นเป็ นซิมโบลเดิม
แทนที่ซิมโบลด้วยซิมโบลจากมูฟวี่อื่น (share assets during authoring)
เป็ นการนาเอาซิมโบลจากไฟล์เอกสาร (.fla) อื่นที่มีอยู่ในเครื่องมา
ใช้งาน ด้วยการแทนที่ซิมโบลเดิมในไฟล์ปัจจุบัน ดังนั้นขณะทางานคุณต้องมี
ไฟล์ (.fla) อยู่ด้วย แต่ไม่จาเป็ นต้องเอ็กซ์พอร์ตซิมโบลและซิมโบลจะถูกก๊อป
ปี้ ไปใช้ ดังนั้นจึงไม่ช่วยให้ขนาดรวมของไฟล์มูฟวี่ (.swf ลดลง)
ในการดึงซิมโบล 1 ตัวมาใช้เป็ นอินสแตนซ์หลายๆตัว บางครั้ง
คุณอาจจาเป็ นต้องปรับขนาดอินสแตนซ์ให้เล็กหรือใหญ่กว่าซิมโบล
ต้นแบบ ซึ่งการปรับนี้จะมีผลทาให้ขนาดของเส้นขอบและมุมเปลี่ยนตาม
ไปด้วย ภาพของอินสแตนซ์ที่ปรากฏจึงเสียสัดส่วนไป แต่การเลือกใช้
ออปชั่น 9-Slice จะช่วยรักษาขนาดเส้นขอบและมุมไว้ โดยโปรแกรมจะ
แบ่งซิมโบลออกเป็ น 9 ส่วน ซึ่งการปรับขนาดจะมีผลต่อพื้นที่ของซิมโบล
แต่ละส่วนแตกต่างกันไป
กาหนดซิมโบลให้เป็ น 9-Slice scaling
การกาหนด 9-Slice จะทาได้เฉพาะซิมโบลที่เป็ นมูฟวี่เป็ นมูฟวี่คลิป
เท่านั้น โดยออบเจ็คที่เหมาะสมควรเป็ นรูปทรงแบบเรียบๆไม่ซับซ้อนมาก
นัก เช่น รูปสี่เหลี่ยมมุมโค้งที่มักนามาสร้างเป็ นปุ่ มเมนูหรือลิงค์ในเว็บเพจ
เป็ นต้น วิธีกาหนด 9-Slice
ย้ายตาแหน่งเส้นไกด์
คุณสามารถปรับย้ายตาแหน่งเส้นไกด์ที่ใช้แบ่งพื้นที่ของซิมโบลได้
ตามความเหมาะสมของซิมโบลนั้นๆ
ซิมโบลและอินสแตนช์

More Related Content

Similar to ซิมโบลและอินสแตนช์

โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5Aungkana Na Na
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5Aungkana Na Na
 
บทเรียนที่ 3 บท 4
บทเรียนที่ 3 บท 4บทเรียนที่ 3 บท 4
บทเรียนที่ 3 บท 4Nakharin Inphiban
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5Aungkana Na Na
 
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้นเรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้นshe-vit-guu
 
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความ
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความหน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความ
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความYui Janjira Ketsakorn
 
พิมพ์และจัดการกับข้อความ
พิมพ์และจัดการกับข้อความพิมพ์และจัดการกับข้อความ
พิมพ์และจัดการกับข้อความYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหว
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหวหน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหว
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหวYui Janjira Ketsakorn
 

Similar to ซิมโบลและอินสแตนช์ (20)

โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
Dthgh
DthghDthgh
Dthgh
 
Dthgh
DthghDthgh
Dthgh
 
บทเรียนที่ 3 บท 4
บทเรียนที่ 3 บท 4บทเรียนที่ 3 บท 4
บทเรียนที่ 3 บท 4
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
week5
week5week5
week5
 
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
โครงงานพัฒนาเครื่องมือ 5
 
7
77
7
 
7
77
7
 
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้นเรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
เรื่องการใช้งาน Powerpoint2007 เบื้องต้น
 
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความ
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความหน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความ
หน่วยที่ 6 พิมพ์และจัดการกับข้อความ
 
พิมพ์และจัดการกับข้อความ
พิมพ์และจัดการกับข้อความพิมพ์และจัดการกับข้อความ
พิมพ์และจัดการกับข้อความ
 
บทที่4
บทที่4บทที่4
บทที่4
 
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหว
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหวหน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหว
หน่วยที่10 สร้างภาพเคลื่อนไหว
 
Unit 14
Unit 14Unit 14
Unit 14
 
Handbook flash8
Handbook flash8Handbook flash8
Handbook flash8
 
Docflash8
Docflash8Docflash8
Docflash8
 
Hanfbookflash8
Hanfbookflash8Hanfbookflash8
Hanfbookflash8
 

More from Yui Janjira Ketsakorn

สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)
สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)
สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)Yui Janjira Ketsakorn
 
ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์Yui Janjira Ketsakorn
 
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกYui Janjira Ketsakorn
 
จัดการและปรับแต่งรูปทรง
จัดการและปรับแต่งรูปทรงจัดการและปรับแต่งรูปทรง
จัดการและปรับแต่งรูปทรงYui Janjira Ketsakorn
 
แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
แต่งแต้มสีสันให้ภาพแต่งแต้มสีสันให้ภาพ
แต่งแต้มสีสันให้ภาพYui Janjira Ketsakorn
 
การใช้งานเบื้องต้น
การใช้งานเบื้องต้นการใช้งานเบื้องต้น
การใช้งานเบื้องต้นYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์Yui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกหน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรง
หน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรงหน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรง
หน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรงYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพหน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพYui Janjira Ketsakorn
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพYui Janjira Ketsakorn
 

More from Yui Janjira Ketsakorn (20)

สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)
สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)
สร้างภาพเคลื่อนไหว (Animation)
 
ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
 
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
 
จัดการและปรับแต่งรูปทรง
จัดการและปรับแต่งรูปทรงจัดการและปรับแต่งรูปทรง
จัดการและปรับแต่งรูปทรง
 
แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
แต่งแต้มสีสันให้ภาพแต่งแต้มสีสันให้ภาพ
แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
 
ลงมือวาดภาพ
ลงมือวาดภาพลงมือวาดภาพ
ลงมือวาดภาพ
 
การใช้งานเบื้องต้น
การใช้งานเบื้องต้นการใช้งานเบื้องต้น
การใช้งานเบื้องต้น
 
รู้จักกับ Flash
รู้จักกับ Flashรู้จักกับ Flash
รู้จักกับ Flash
 
รู้จักกับ Flash
รู้จักกับ Flashรู้จักกับ Flash
รู้จักกับ Flash
 
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
หน่วยที่9 ควบคุมมูฟวี่ด้วยไทม์ไลน์
 
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอกหน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
หน่วยที่ 7 ใช้งานภาพบิทแมพและเวคเตอร์จากภายนอก
 
หน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรง
หน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรงหน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรง
หน่วยที่ 5 จัดการและปรับแต่งรูปทรง
 
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพหน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
หน่วยที่ 4 แต่งแต้มสีสันให้ภาพ
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
 
หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3หน่วยที่ 3
หน่วยที่ 3
 
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพหน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
หน่วยที่ 3 ลงมือวาดภาพ
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 

ซิมโบลและอินสแตนช์