SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
โครงงานคอมพิวเตอร์
เรื่อง ลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี

จัดทาโดย
นางสาวปิ่ นนิดา สามะคะผล เลขที่ 16
ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 5/1

รายวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ (ง32102)
ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556
กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์ )
โรงเรียนส้ มป่ อยพิทยาคม ตาบลส้ มป่ อย อาเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ
สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 28
้ ่
หัวข้ อโครงงาน
ประเภทของโครงงาน
ผู้เสนอโครงงาน
ครู ทปรึกษาโครงงาน
ี่
ปี การศึกษา

: เรื่ อง ลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์
: โครงงานพัฒนาสื่ อเพื่อการศึกษา
: นางสาวปิ่ นนิดา สามะคะผล ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/1 เลขที่ 16
: คุณครู ณฐพล บัวพันธ์ ตาแหน่ง .................................
ั
: 2556

บทคัดย่อ
การทาโครงงานจากขยะอิเล็กทรอนิก ด้วยความห่วงใยและใส่ ใจสิ่ งแวดล้อม เรื่ อง ลาโพง
จากจอคอมพิวเตอร์ที่เสี ยแล้ว มีวตถุประสงค์เพื่อ
ั
1. ต้องการศึกษาการทาลาโพงจากคอมพิวเตอร์
2. เพื่อช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์
3. เพื่อต้องการศึกษาคิดค้น พัฒนาความคิดของผูเ้ รี ยนและนาความรู ้มาประยุกต์ให้เกิด
ประโยชน์ในท้องถิ่นและสิ่ งแวดล้อม หลักการทางานของลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ที่เสี ยแล้วมา
ประยุกต์ใช้ให้เป็ นลาโพง หรื อเป็ นมอนิเตอร์ หน้าเวทีการแสดงขนาดย่อมได้ จากผลการดาเนินการ
พบว่า ลาโพงที่ทาขึ้นมามีประสิ ทธิ ภาพเท่ากับลาโพงที่ขายในท้องตลาด และมีน้ าหนักเบากว่า
ลาโพงที่ขายในท้องตลาด สามารถนาไปใช้ได้จริ ง
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานคอมพิวเตอร์ ฉบับนี้ สาเร็ จขึ้นได้โครงงานเรื่ องลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ ที่ประดิษฐ์ข้ ึนมา
ได้รับการสนับสนุนจากหลายๆฝ่ าย อาทิ ด้านงบประมาณจากโรงเรี ยนส้มป่ อยพิทยาคม อาเภอราษี
ไศล จังหวัดศรี สะเกษ โดยผูอานวยการ
้

นาย บัญชา ติละกูล คุณครู ที่ปรึ กษา นาย ณัฐพล

บัวพันธ์ และคาแนะนาการทาลาโพงจากคณะครู โรงเรี ยนส้มป่ อยพิทยาคมทุกท่าน เพื่อนๆพี่ๆ
น้องๆโรงเรี ยนส้มป่ อยพิทยาคมทุกคนที่คอยอยูเ่ ป็ นเพื่อนและกาลังใจมาตลอด
ขอขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ ญาติพี่นองทุกคนที่ให้โอกาสและช่วยเหลืออานวยความ
้
สะดวกในทุกด้านจนกระทังสิ่ งประดิษฐ์ชิ้นนี้สาเร็ จได้ตามวัตถุประสงค์
่
ชื่อผูจดทา
้ั
นางสาวปิ่ นนิดา สามะคะผล
ชั้น ม.5/1 เลขที่ 16
สารบัญ
หน้ า
บทคัดย่อ

ก

กิตติกรรมประกาศ

ข

สารบัญ

ค

บทที่ 1 บทนา
ที่มาและความสาคัญ

1

วัตถุประสงค์

1

ขอบเขตการศึกษา

2

ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ

2

บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กียวข้ อง
่
จอคอมพิวเตอร์

3

ลาโพง

5

บทที่ 3 อุปกรณ์ วิธีการดาเนินการ
วัสดุ อุปกรณ์

9

ขั้นตอนการดาเนินงาน

9

บทที่ 4 ผลการทดลองและปฏิบัติ
ผลการดาเนินงาน

11

ประโยชน์ที่ได้รับ

11

บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง และ อภิปรายผลของชิ้นงานสิ่งประดิษฐ์
สรุ ปผลการดาเนินงาน
ปั ญหาที่พบ

12
12
แนวทางการแก้ไขปั ญหา

12

เอกสารอ้างอิง

13
บทที่ 1
บทนา
1.1 แนวคิด ทีมา และความสาคัญ
่
เนื่องจากในปั จจุบนปริ มาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ทวโลกกาลังเพิมขึ้นอย่างรวดเร็ วในขณะนี้
ั
ั่
่
โดยในแต่ละปี จะมีมากถึง 20-50 ล้านตัน อาจเป็ นเรื่ องยากที่จะนึกภาพปริ มาณขยะที่มากมาย
มหาศาลเช่นนี้ ให้ลองนึกภาพว่าถ้าขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดขึ้นในแต่ละปี ทั้งหมดถูกนาใส่ ตู้
คอนเทนเนอร์ บนขบวนรถไฟ จะกลายขบวนรถไฟที่ยาวเท่าหนึ่งรอบโลกของเรา! ในปัจจุบน
ั
ขยะอิเล็กทรอนิกส์คิดเป็ นร้อยละ 5 ของขยะแข็งในเขตเทศบาลทัวโลก เทียบเท่ากับปริ มาณ
่
ขยะวัสดุห่อหุ มที่เป็ นพลาสติกทั้งหมด แต่มีอนตรายมากกว่ามาก และไม่ใช่ประเทศพัฒนาแล้ว
้
ั
เท่านั้นที่เป็ นต้นตอของขยะอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ ในเอเชียเองก็มีการทิ้งขยะแบบนี้ประมาณ 12
ล้านตันต่อปี ขยะอิเล็กทรอนิกส์ได้กลายเป็ นส่ วนหนึ่งของขยะแข็งในเขตเทศบาลที่เพิ่ม จานวน
ขึ้นอย่างรวดเร็ วที่สุดในปั จจุบน เพราะผูบริ โภคเปลี่ยนโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์
ั
้
อุปกรณ์เครื่ องเสี ยง และ พริ้ นเตอร์ บ่อยครั้งกว่าที่เคยเป็ นมา โทรศัพท์มือถือและคอมพิวเตอร์
ก่อให้เกิดปั ญหามากที่สุดเพราะมีการเปลี่ยน เครื่ องใหม่บ่อยที่สุด ในยุโรปขยะอิเล็กทรอนิกส์
ั
เพิ่มจานวนขึ้นร้อยละ 3-5 ต่อปี ซึ่ งเพิ่มขึ้นรวดเร็ วกว่าขยะอย่างอื่นถึง 3 เท่า และคาดการณ์กน
ว่าประเทศกาลังพัฒนาจะผลิตขยะอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้นอีกถึง

3 เท่าภายใน 5 ปี ข้างหน้า

ตัวอย่างเช่น ในโรงเรี ยนส้มป่ อยพิทยาคม มีคอมพิวเตอร์ เก่าที่ใช้งานไม่ได้แล้วเป็ นจานวนมาก
และไม่มีที่เก็บ ก็ตองทิงไปโดยไม่ได้ใช้ประโยชน์อะไรเลย พวกเราจึงได้ปรึ กษากันในกลุ่มว่า
้ ้
ั
จะทาอย่างไรดีกบขยะเหล่านี้ เราจึงได้ทาลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ ข้ ึนมา

1.เพื่อต้องการ

ศึกษาการทาลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์ 3. เพื่อต้องการศึกษา
คิดค้น พัฒนาความคิดของผูเ้ รี ยนและนาความรู ้มาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ในท้องถิ่นและ
ประเทศชาติ และเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่เรานามาใช้ทาลาโพงนั้น เป็ นรุ่ น CRT ซึ่ งในปั จจุบนไม่
ั
ค่อยมีคนนิยมใช้แล้ว เพราะว่ากินไฟมาก รายละเอียดภาพไม่ชด ทาให้เราสายตาเสี ยได้ ได้
ั
ดังนั้นจึงเป็ นที่มาของโครงงานเรื่ องลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์
1.2 วัตถุประสงค์
1. เพื่อต้องการศึกษาการทาลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์
2. เพื่อช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์
3. เพื่อต้องการศึกษาคิดค้น พัฒนาความคิดของผูเ้ รี ยนและนาความรู ้มาประยุกต์ให้เกิด
ประโยชน์ในท้องถิ่นและประเทศชาติ
1.3 ขอบเขตของโครงงาน
ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้จะเกี่ยวกับลาโพงที่ทาจากจอคอมพิวเตอร์ ซึ่ งส่ วนใหญ่จะใช้ขยะ
อิเล็กทรอนิกส์ เช่น คอมพิวเตอร์ คียบอร์ ด เป็ นต้น
์
1.4 ผลทีคาดว่าจะได้ รับ
่
1. ได้ลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์
่
2. นาวัสดุอิเล็กทรอนิกส์ที่มีอยูมากมาประดิษฐ์เพื่อให้เกิดคุณค่าและเป็ นแบบอย่างได้
3. เพื่อส่ งเสริ มกิจกรรมความคิดของเยาวชน
4. เพื่อประโยชน์แก่ผใช้และพัฒนาต่อยอดให้เกิดประโยชน์ในอนาคต
ู้
บทที่ 2
เอกสารทีเ่ กียวข้ อง
่
จอภาพแบบซีอาร์ ที

การแสดงผลบนจอภาพเป็ นเรื่ องที่จาเป็ นสาหรับการใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ วิวฒนาการ
ั
ั
ของการแสดงผลได้พฒนาก้าวหน้าขึ้น มาตรฐานการแสดงผลที่ใช้กบไมโครคอมพิวเตอร์ มีพ้ืนฐาน
ั
มาจากการพัฒนาของบริ ษทไอบีเอ็ม ในยุคต้นความต้องการของการแสดงผลส่ วนใหญ่ยงเป็ นแบบ
ั
ั
ตัวอักษรโดยมีภาวะการทางาน (mode) แยกจากการแสดง กราฟิ ก แต่ในปั จจุบนซอฟต์แวร์ จานวน
ั
มากสามารถแสดงผลในภาวะกราฟิ ก เช่น ระบบปฎิบติงานวินโดวส์ ต้องใช้ภาวะการแสดงผลใน
ั
รู ปกราฟิ กล้วน ๆ ผูใช้สามารถกาหนดขนาดช่องหน้าต่าง หรื อการแสดงผลได้ตามที่ตองการ
้
้
จอภาพจึงเป็ นส่ วนสาคัญมากส่ วนหนึ่งสาหรับผูใช้งานในยุคปั จจุบน ในยุคแรกตั้งแต่ พ.ศ. 2524
้
ั
ั
บริ ษทไอบีเอ็มได้พฒนาระบบการแสดงผลที่ใช้กบจอภาพสี เดียวที่เรี ยกว่าโมโนโครม หรื อ เอ็มดีเอ
ั
ั
(Monochrome Display Adapter : MDA) และแสดงผลได้เฉพาะภาวะตัวอักษรแต่เพียงอย่างเดียวแต่
ให้ความละเอียดสู ง หากต้องการแสดงผลในภาวะกราฟิ กก็ตองเลือกภาวะการแสดงผลอีกแบบหนึ่ง
้
ที่เรี ยกว่า ซี จีเอ (Color Graphic Adapter : CGA) ที่สามารถแสดงสี และกราฟิ กได้แต่ความละเอียด
น้อย เมื่อมีผผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ ยหอต่าง ๆ ที่มีระบบการทางานแบบเดียวกับคอมพิวเตอร์ ของ
ู้
ี่ ้
ไอบีเอ็ม (IBM compatible) ไอบีเอ็มจึงต้องกาหนดมาตรฐานการแสดงผลไว้ ต่อมาบริ ษทเฮอร์ คิว
ั
ลีส ซึ่ งเห็นปั ญหาของระบบการแสดงผลทั้งสองนี้ จึงออกแบบแผลวงจรแสดงผล เรี ยกกันติดปาก
ว่าแผงวงจรเฮอร์ คิวลิส (herculis card) หรื อ เอชจีเอ (Herculis Graphic Adapter : HGA) บางครั้ง
เรี ยกว่าโมโนโครกราฟิ กอะแดปเตอร์ หรื อเอ็มจีเอ (Monochrome Graphic Adapter : MGA) การ
ั
ั
แสดงผลแบบนี้เป็ นที่แพร่ หลายและนิยมใช้กนต่อเนื่องมาและมีผลิตขึ้นมาใช้กนมากมาย ต่อมา
บริ ษทไอบีเอ็มเห็นว่าความต้องการทางด้านกราฟิ กสู งขึ้น การแสดงสี ควรจะมีรายละเอียดและ
ั
จานวนสี มากขึ้น จึงได้พฒนามาตรฐานการแสดงผลบนจอภาพขึ้นอีกโดยปรับปรุ งจากเดิมเรี ยกว่า อี
ั
จีเอ (Enhance Graphic Adapter : EAG) การเพิ่มเติมจานวนสี ยงไม่พอเพียงกับซอฟต์แวร์ ที่ได้รับ
ั
ั
การพัฒนาให้ใช้กบระบบปฎิบติการวินโดวส์และโอเอสทูไอบีเอ็มจึงสร้างมาตรฐานการแสดงผลที่
ั
มีความละเอียดและสี เพิ่มยิงขึ้นเรี ยกว่า เอ็กซ์วจีเอ (eXtra Video Graphic Array : XVGA) การเลือก
ี
่
ซื้ อจอภาพจะตัองพิจารณาความสัมพันธ์ของจอภาพกับตัวปรับต่อซึ่ งเป็ นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่
่
ติดตั้งอยูบนแผงวงจรหลัก (main board) และต่อสัญญาณมายังจอภาพ แผงวงจรนี้จะเป็ นตัว
แสดงผลตามมาตรฐานที่ตองการ มีภาวะการแสดงผลหลายแบบ เช่น
้
ก. แผงวงจรโมโนโครมหรื อแผงวงจรเอ็มดีเอ เป็ นแผงวงจรที่ไม่ค่อยนิยมใช้แล้วแสดงผลได้
เฉพาะตัวอักษรจานวน 25 บรรทัด บรรทัดละ 80 ตัวอักษร ขนาดความละเอียดของตัวอักษรเป็ น
9x14 ชุด
ข. แผงวงจรเฮอร์คิวลิสหรื อแผงวงจรเอชจีเอ แสดงผลเป็ นตัวอักษรขนาด 25 บรรทัด บรรทัดละ 80
ตัวอักษร เหมือนแผงวงจรเอ็มดีเอ แต่สามารถแสดงกราฟิ กแบบสี เดียวด้วยความละเอียด 720x348
จุด
ค. แผงวงจรอีจีเอ เป็ นแผงวงจรที่แสดงด้วยความละเอียดของตัวอักษรขนาด 9x14 จุดแสดงสี ได้ 16
สี ความละเอียดของการแสดงกราฟิ ก 640x350 จุด
ง. แผงวงจรวีจีเอ เป็ นแผงวงจรที่แสดงด้วย ความละเอียดของตัวอักษร 9x16 จุด แสดงสี ได้ 16 สี
แสดงกราฟิ กด้วยความละเอียด 640x480 จุด และแสดงสี ได้สูงถึง 256 สี
จ. แผงวงจรเอ็กซ์วจีเอ เป็ นแผงวงจรที่ปรับปรุ งจากแผงวงจรวีจีเอ แสดงกราฟิ กด้วยความละเอียด
ี
สู งขึ้นเป็ น 1,024x768 จุด และแสดงสี ได้มากกว่า 256 สี
เมื่อได้ทราบว่าตัวปรับต่อมีกี่แบบแล้ว คราวนี้มาดูมาตรฐานตัวเชื่อมต่อ (connector) ของตัวปรับต่อ
กับจอภาพบ้าง ตัวเชื่อมต่อมาตรฐานที่ใช้มีแบบ 9 ขา ตัวเชื่อมต่อสาหรับแผงวงจรแบบ วีจีเอ และ
เอสวีจีเอ เป็ นแบบ 15 ขา การที่หวต่อไม่เหมือนกันจึงทาให้ใช้จอภาพพร่ วมกันไม่ได้
ั
นอกจากตัวเชื่อมต่อและตัวปรับต่อแล้ว คุณภาพของจอภาพก็จะต้องได้รับการพิจารณาอย่างมาก
สัญญาณที่ส่งมายังจอภาพมีรูปแบบไม่เหมือนกัน สัญญาณของแผงวงจรแบบวีจีเอเป็ นแบบแอ
นะล็อก สัญญาณของแผงวงจรแบบ เอ็มดีเอ ซีจีเอ เอชจีเอ อีจีเอ เป็ นแบบดิจิทล ข้อพิจารณาที่จะ
ั
ตรวจสอบด้วยตาเปล่าได้ คือ การแสดงผลจะต้องเป็ นจุดเล็กละเอียดคมชัด ไม่เป็ นภาพพร่ าหรื อ
เสมือนปรับโฟกัสไม่ชดเจน ภาพที่ได้จะต้องมีลกษณะของการกราดตามแนวตั้งคงที่ สังเกตได้จาก
ั
ั
ขนาดตัวหนังสื อแถวบน กับแถวกลางหรื อแถวล่างต้องมีขนาดเท่ากันและคมชัดเหมือนกัน ภาพที่
ปรากฎจะต้องไม่กระพริ บถึงแม้จะปรับความเข้มของแสงเต็มี่ ภาพไม่สั่งไหวหรื อพลิ้ว การแสดง
ของสี ตองไม่เพี้ยนจากสี ที่ควรจะเป็ น
้
พิจารณารายละเอียดทางเทคนิคของจอภาพ เช่น ขนาดของจอภาพซึ่ งจะวัดตามแนวเส้นทะแยงมุม
ของจอ ว่าเป็ นขนาดกี่นิ้ว โดยทัวไปจะมีขนาด 14 นิ้ว จอภาพที่แสดงผลงานกราฟิ กบางแบบอาจ
่
ต้องใช้ขนาดใหญ่ถึง 20 นิ้ว ความละเอียดของจุดซึ่ งสามารถสังเกตได้จากสัญญาณแถบความถี่ของ
จอภาพ จอภาพแบบวีจีเอควรมีสัญญาณแถบความถี่สูงกว่า 25 เมกะเฮิรตซ์ สัญญาณแถบความถี่ยง
ิ่
สู งยิงดี จอภาพแบบเอ็กซ์วจีเอแสดงผลแบบมัลติซิงค์ (multisync) ใช้สัญญาณแถบความถี่สูงกว่า 60
ี
่
เมกะเฮิรตซ์ ขนาดของจุดยิงเล็กยิงมีความคมชัด เช่น ขนาดจุด .28 มิลลิเมตร ภาพที่ได้จะคมชัดกว่า
่
่
ขนาดจุด .33 มิลลิเมตร ค่าของสัญญาณแถบความถี่จึงเป็ นข้อที่จะต้องพิจารณาด้วย

ลาโพง

การทางานของลาโพง
ในการใช้งานไม่ใช่ระบบเสี ยงไฮฟายคาว่า “ลาโพง” โดยปกติจะหมายถึงว่าเป็ นอุปกรณ์
ชิ้นหนึ่งซึ่ งทาให้เกิดเสี ยงขึ้นมา เป็ นอุปกรณ์ตวเดียวในระบบไฮฟายที่มองเห็นรู ปร่ างของมันได้
ั
ชัดเจน แต่ในระบบไฮฟายลาโพงของระบบไฮฟายมักจะมีหน่วยไดรฟ์ 2 หน่วย หรื อมากกว่าเป็ น
่
หน่วยไดรฟ์ มีขนาดและชนิดแตกต่างกันซึ่ งจะมักเรี ยกว่าระบบลาโพง แต่หน่วยไดรฟ์ ทั้งหมดไม่วา
จะเป็ นของระบบไฮฟายหรื อไม่ก็ตามีหลักการทางานอย่างเดียวกันหมด คือ ใช้หลักการใช้ขดลวดเค
ลื่นที่หรื อเรี ยกเป็ นภาษาเทคนิคว่าใช้มูฟวิงคอยล์ (Moving Coil) ในการทาให้อากาศสันตัว
่
่
เพื่อให้เกิดเป็ นคลื่นเสี ยงนั้น ตัวกรวยของลาโพงจะต้องเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและข้างหลังได้อย่าง
่
อิสระ ด้วยเหตุน้ ีจึงต้องตั้งกรวยของลาโพงไว้ในบริ เวณสภาพแวดล้อมที่มีความยืดหยุนสู ง ตรง
ปลายกรวยของลาโพงมีรูปทรงกลมขนาดเล็กติดอยูเ่ รี ยกว่า “วอยซ์คอยล์” (Voice Coil) ปลายทั้ง
สองข้างของวอยซ์คอยล์ต่อเข้ากับอินพุทของระบบลาโพง รอบ ๆ คอยล์มีแม่เหล็กถาวรตั้งอยู่
่
ล้อมรอบ การจัดไว้เช่นนั้นจนเมื่อทาการทดสอบกรวยวอยซ์คอยล์แล้ว วอยซ์คอยล์จะวางตัวอยูใน
บริ เวณสนามแม่เหล็กซึ่ งมีความเข้มมาก ถ้าหากมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านคอยล์มนจะเคลื่อนตัวไป
ั
ข้างหน้าหรื อข้างหลังในช่วงระหว่างขั้วแม่เหล็ก สัญญาณออดิโอซึ่ งประกอบด้วยกระแสสลับหรื อ
กระแสเปลี่ยนทิศทางด้วยความถี่ตรงกับเสี ยงดนตรี ดงนั้นจึงทาให้กรวยของลาโพงเคลื่อนที่ ซึ่ งเป็ น
ั
การทาให้เกิดคลื่นเสี ยง หน่วยไดรฟ์ ของลาโพง ความจริ งมีรูปแบบเช่นเดียวกับมอเตอร์ ไฟฟ้ าแบบ
ง่ายๆ เท่านั้นเองหน่วยไดรฟ์ ขนาดเล็กและมีราคาถูกๆ สามารถสร้างขึ้นมาให้เสี ยงได้ดี ให้เสี ยงฟัง
ได้ยนอย่างชัดเจน ให้เสี ยงแบคกราวด์าของเสี ยงดนตรี ในเครื่ องรับโทรทัศน์หรื อเสี ยงดนตรี ใน
ิ
รถยนต์ แต่เมื่อนาหน่วยไดรฟ์ เช่นนี้มาใช้ทาให้เกิดเสี ยงดนตรี ที่มีความเพี้ยนน้อยที่สุดก็จาเป็ นต้องมี
บางสิ่ งบางอย่างที่มีความละเอียดลออมากยิงขึ้น ทั้งนี้ก็เพราะหน่วยไดรฟ์ หน่วยเล็กๆ จะไม่มีการ
่
่
ตอบสนองต่อความถี่ต่าสุ ดและความถี่สูงสุ ดอย่างที่มีอยูในเสี ยงดนตรี แต่เมื่อมองดูตลอดย่าน
ความถี่เสี ยงจริ งๆ จะพบว่าเสี ยงต่าสุ ดที่เกิดจากเสี ยงเบสกีตาร์ เป็ นเสี ยงต่ากว่า 50 Hz ใน
ขณะเดียวกันเสี ยงสู งสุ ดของเปี ยโนเป็ นความถี่ประมาณ 4 kHz ที่เหนือความถี่น้ ีไปเป็ นความถี่ฮาร์
โมนิค ซึ่ งทาให้เครื่ องดนตรี ชิ้นต่างๆ ให้เสี ยงแตกต่างกันไป ดังนั้นส่ วนสาคัญของย่านความถี่จึงอยู่
่
ระหว่าง 40 Hz ถึง 15 kHz ทั้งนี้ก็เพราะเสี ยงที่บนทึกได้ส่วนมากจะมียานความถี่ในย่านนี้ การส่ ง
ั
่
กระจายเสี ยงโดยวิทยุ FM ก็เช่นกัน จะให้ยานการตอบสนองความถี่สูงสุ ดประมาณ 15 kHz ทั้งนี้ก็
เพราะระบบเสี ยงที่ใช้ในขณะที่เครื่ องเล่นเทปคานเซทเด็ค (Cassett Deck) โดยทัวๆ ไปมักจะไม่ให้
่
การตอบสนองเรี ยบสู งเกินไปกว่านี้ แต่ระบบบันทึกเสี ยงดิจิตอลสามารถให้การตอบสนองสู งถึง 20
kHz และต่าลงมาถึง 20 Hz แต่ที่ความถี่ต่าๆ เช่นนั้นเอาท์พุทจากลาโพงจะได้รับผลกระทบเพราะ
แฟคเตอร์ อื่นๆ อีก อย่าง เช่น เรื่ องขนาดของห้องฟังเป็ นต้น
เสี ยงของลาโพงออกมาได้ อย่างไร ?
ส่ วนสาคัญที่สุดของเครื่ องเล่นเหล่านี้ก็คือลาโพง โดยหน้าที่สาคัญสุ ดของลาโพงคือ เปลี่ยน
สัญญาณทางไฟฟ้ าที่ได้มาจากเครื่ องขยายเป็ นสัญญาณเสี ยง ลาโพงที่ดีจะต้องสร้างเสี ยงให้
เหมือนกับต้นฉบับเดิมมากที่สุด โดยมีการผิดเพี้ยนน้อยที่สุด
่ ั่
ลาโพงที่เห็นขายกันอยูทวๆไป ภายในประกอบด้วย
-กรวยหรื อไดอะแฟรม ทาด้วยกระดาษแข็งหรื อแผ่นพลาสติก หรื อจะทาด้วยแผ่นโลหะบางๆ ก็
ได้
่
่ ั
-ขอบยึด (suspension หรื อ surround ) เป็ นขอบของไดอะแฟรม มีความยืดหยุน ติดอยูกบ
เฟรม สามารถเคลื่อนที่ข้ ึนและลงได้ในระดับหนึ่ง
-เฟรมหรื อบางทีเรี ยกว่า บาสเก็ต (basket)
่ ั
-ยอดของกรวยติดอยูกบคอยส์เสี ยง( Voice coil )
่ ั
-คอยส์เสี ยงจะยึดอยูกบ สไปเดอร์ (Spider) มีลกษณะเป็ นแผ่นวงกลมเหมือนแหวน สไปเดอร์จะ
ั
่
ยึดคอยส์เสี ยงให้อยูในตาแหน่งเดิม และทาหน้าที่ เหมือนกับสปริ ง โดยจะสั่นสะเทือน เมื่อมี
สัญญาณไฟฟ้ าเข้ามา
การทางานของคอยส์เสี ยงใช้หลักการของแม่เหล็กไฟฟ้ า โดยได้จากกฎของแอมแปร์ เมื่อมี
กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านเข้าไปในขดลวดหรื อคอยส์ ภายในคอยส์จะเกิดสนามแม่เหล็กขึ้น ซึ่งจะ
เหนี่ยวนาให้แท่งเหล็กที่สอดอยูเ่ ป็ นแม่เหล็กไฟฟ้ า ปกติแม่เหล็กจะมีข้ วเหนือและขั้วใต้ ถ้านา
ั
่
แม่เหล็กสองแท่งมาอยูใกล้ๆกัน โดยนาขั้วเดียวกันมาชิดกันมันจะผลักกัน แต่ถาต่างขั้วกันมันจะ
้
ดูดกัน ด้วยหลักการพื้นฐานนี้ จึงติดแม่เหล็กถาวรล้อมคอยส์เสี ยงและแท่งเหล็กไว้ เมื่อมีสัญญาณ
ั
ทางไฟฟ้ าหรื อสัญญาณเสี ยงที่เป็ นไฟฟ้ ากระแสสลับป้ อนสัญญาณให้กบคอยส์เสี ยง ขั้วแม่เหล็ก
ภายในคอยส์เสี ยงจะเปลี่ยนทิศทางตามสัญญาณสลับที่เข้ามา ทาให้คอยส์เสี ยงขยับขึ้นและลง ซึ่ ง
จะทาให้ใบลาโพงขยับเคลื่อนที่ข้ ึนและลงด้วย ไปกระแทกกับอากาศ เกิดเป็ นคลื่นเสี ยงขึ้น ถ้าเป็ น
เครื่ องเสี ยงระบบโมโน ลาโพงจะมีอนเดียว แต่สาหรับเครื่ องเสี ยงที่เป็ นระบบเสตอริ โอ ลาโพงจะมี
ั
่ ั
2 ข้าง คือข้างซ้าย และข้างขวา ใบลาโพงทาด้วยกรวยกระดาษ ติดอยูกบคอยส์เสี ยง เมื่อคอยส์
เสี ยงสั่นขึ้นและลงตามสัญญาณไฟฟ้ ากระแสสลับ มันจะทาให้ใบลาโพงสั่นขึ้นลงด้วย ใบลาโพง
่
จะติดอยูบนสไปเดอร์ ที่ทาหน้าที่เหมือนสปริ ง คอยดึงใบลาโพงที่สั่นสะเทือนให้กลับเข้าสู่
ตาแหน่งเดิมเสมอ เมื่อไม่มีสัญญาณไฟฟ้ าป้ อนเข้าลาโพง

ถ้ามีสญ

ญาณไฟฟ้ ากระแสสลับป้ อนเข้าไปในคอยส์เสี ยง ทิศทางของกระแสไฟฟ้ าจะกลับทิศทางอยู่
ตลอดเวลา (สังเกตที่เครื่ องหมาย + และ - จะเห็นว่ากลับทิศทางตลอดเวลาด้วย) และทาให้แผ่น
ลาโพงสันเคลื่อนที่ข้ ึนและลง อัดอากาศด้านหน้าเกิดคลื่นเสี ยงขึ้น สัญญาณไฟฟ้ ากระแสสลับที่
่
ั
ใส่ ให้กบลาโพง จะแปรตามความถี่และแอมพลิจูด ซึ่ งเป็ นสัญญาณเดียวกันกับสัญญาณไฟฟ้ า
่
กระแสสลับที่ได้จากไมโครโฟน แต่วาสัญญาณที่ได้ในครั้งแรก ยังอ่อนมากจึงต้องผ่านเครื่ อง
่ ั
ขยายก่อน จึงจะป้ อนเข้าลาโพงได้ ใบลาโพงจะสั่นเร็ วหรื อช้าขี้นอยูกบความถี่ และเสี ยงจะดังหรื อ
่ ั
่
ค่อยขึ้นอยูกบแอมพลิจูดของสัญญาณไฟฟ้ า ขนาดของลาโพงมีความสาคัญมาก ไม่ใช่วาลาโพงตัว
เดียวสามารถจะให้ความถี่ได้ออกมาทุกๆความถี่ ถ้าต้องการให้เหมือนกับเสี ยงธรรมชาติมาก
ที่สุด ลาโพงจะต้องมีหลายขนาด เราจะแบ่งลาโพงโดยใช้ความถี่ออกเป็ น 3 ประเภท ดังนี้
-วูฟเฟอร์ (Woofers)
-ทวีทเตอร์ (Tweeters)
-มิดเรนส์ (Midrange)
ลาโพงประเภทต่ างๆ
วูฟเฟอร์ เป็ นลาโพงที่มีขนาดใหญ่สุด ออกแบบมาเพื่อให้เสี ยงที่มีความถี่ต่า
ทวีสเตอร์ เป็ นลาโพงที่มีขนาดเล็กสุ ด ออกแบบมาเพื่อให้เสี ยงที่มีความถี่สูง
ลาโพงทวีทเตอร์ เป็ นลาโพงที่มีความถี่สูง แผ่นลาโพงมีขนาดเล็กและค่อนข้างแข็ง จึง
สามารถสั่นด้วยความเร็ วที่สูง ส่ วนลาโพงแบบวูฟเฟอร์ แผ่นลาโพงจะมีขนาดใหญ่ และค่อนข้าง
นิ่ม จึงสั่นด้วยความเร็ วต่า เพราะมีมวลมาก อย่างไรก็ตามเสี ยงทัวไป มีความถี่กว้าง คือ มีความถี่
่
จากสู งถึงต่า ซึ่ งเราจะเรี ยกว่า มีความถี่ช่วงกว้าง ถ้าเรามีแต่ลาโพงทวีทเตอร์ และวูฟเฟอร์ เราจะได้
่
เสี ยงอยูในย่านความถี่สูงกับต่าเท่านั้น ความถี่ในช่วงกลางจะหายไป เพื่อจะให้คุณภาพของเสี ยง
ออกมาทุกช่วงความถี่ จึงจาเป็ นจะต้องมีลาโพงมิดเรนส์ดวย ภายในตูลาโพงตูหนึ่ง จึงมักจะเห็น
้
้
้
ลาโพงทั้งสามชนิดประกอบเข้าด้วยกัน
สาหรับลาโพงแบบทวีทเตอร์ เครื่ องขยายเสี ยงจะส่ ง
ความถี่สูงให้ ลาโพงวูฟเฟอร์ จะส่ งความถี่ต่า ส่ วนความถี่ในช่วงที่เหลือเป็ นของลาโพงแบบมิด
เรนส์ ถ้าลองถอดฝาตูดานหลังออก เราจะได้เห็น อุปกรณ์ชิ้นหนึ่งเรี ยกว่า ครอสโอเวอร์ (Cross
้้
over) อุปกรณ์ตวนี้เป็ นตัวแยกสัญญาณไฟฟ้ ากระแสสลับให้ออกเป็ น 3 ส่ วน คือ ส่ วนความถี่
ั
สู ง ความถี่ต่า และความถี่ขนาดกลาง ครอสโอเวอร์แยกออกเป็ น 2 แบบ คือ แบบ
พาสซีพ (Passive) และ แบบแอคทีฟ (active) ครอสโอเวอร์ แบบแอคทีฟ ไม่ตองมี
้
แหล่งจ่ายไฟ แต่ใช้พลังงานจากสญญาณเสี ยงแทน หลักการพื้นฐานของครอสโอเวอร์ น้ น
ั
ประกอบขึ้นด้วย ตัวต้ านทาน ตัวเหนี่ยวนา และ ตัวเก็บประจุ ต่อขึ้นเป็ นวงจรไฟฟ้ า ทั้งตัวเก็บ
ประจุและตัวเหนี่ยวนาจะเป็ นตัวนาที่ดีภายใต้เงื่อนไขบางประการ ยกตัวอย่างเช่น ตัวเก็บประจุจะ
ยอมให้ความถี่สูงที่เกินกว่าค่าที่กาหนดผ่านไปได้ แต่ถาเป็ นความถี่ต่ากว่าค่าที่กาหนดมันจะไม่ยอม
้
่
ให้ผานไป ส่ วนตัวเหนี่ยวนาจะทาหน้าที่แตกต่างกัน คือจะเป็ นตัวนาที่ดีเมื่อความถี่ต่า คือมันจะ
ยอมให้ความถี่ต่ากว่าค่าที่กาหนดผ่านไปได้ และจะไม่ยอมให้ความถี่สูงกว่าค่าที่กาหนดผ่าน
่
ไป สัญญาณไฟฟ้ ากระแสสลับที่ผานการขยายมาแล้ว จะถูกส่ งผ่านไปยังครอสโอเวอร์ แบบพาส
ซีฟ โดยเราจะต่อตัวเก็บประจุไว้ก่อนที่จะเข้าทวีทเตอร์ เพราะจะยอมให้แต่ความถี่สูงผ่านไปได้
่ ั
เท่านั้น ตัวเหนี่ยวนาจะต่อไว้ก่อนจะเข้าวูฟเฟอร์ ส่ วนลาโพงมิดเรนส์ จะต่ออยูกบ ตัวเก็บประจุ
และตัวเหนี่ยวนา โดยต่อเป็ นวงจรไฟฟ้ า เรี ยกว่า วงจร L-C และเลือกค่าให้เหมาะสม เพื่อให้ความถี่
ในช่วงกลางสามารถผ่านไปได้ ครอสโอเวอร์แบบแอคทีฟ เป็ นอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์
่
เหมือนกับครอสโอเวอร์ แบบพาสซี ฟ แต่วาออกแบบซับซ้อนกว่า จึงต้องมีแหล่งจ่ายไฟป้ อน
พลังงานให้ ครอสโอเวอร์ แบบนี้จะแยกความถี่ออกก่อนที่จะเข้าเครื่ องขยายเสี ยง ดังนั้นจึงต้องมี
เครื่ องขยาย 3 อัน แต่ละอันขยายความถี่ในช่วงที่แตกต่างกัน จึงเป็ นข้อเสี ยที่สาคัญประการ
หนึ่ง แต่มีขอดีมากเมื่อเทียบกับแบบพาสซี ฟ และเป็ นสิ่ งที่เครื่ องเสี ยงราคาเป็ นแสนขาดเสี ยไม่ได้
้
ั
คือ คุณสามารถปรับแต่งความถี่ทุกๆช่วงได้ อย่างไรก็ตามมันมีราคาค่อนข้างแพงจึงใช้กบเครื่ อง
เสี ยงราคาสู งเสี ยมากกว่า
บทที่ 3
วิธีดาเนินงานโครงงาน
ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่ องลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ นี้ ผูจดทาโครงงานมี
้ั
วิธีดาเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. 3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือทีใช้ ในการพัฒนา
่
ไม้อดแบบหนา 20 mm.
ั
2. ทวิสเตอร์ 2 ตัว 150 วัตต์
3. ดอกลาโพง 2 ตัว 200 – 250 วัตต์
4. ซีทอง2 ตัว
5. เครื่ องขยาย 1 เครื่ อง
6. ผ้ามองกลู 1 เมตร
7. หน้าจอคอมพิวเตอร์ ขนาด 17 นิ้ว 2 จอ
8. น็อต
9. โฟมแข็ง
10. สายไฟขนาด 1 เมตร
3.2 ขั้นตอนการดาเนินงาน
- ศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่จะทา
- ศึกษาปั ญหาเกี่ยวกับขยะอิเล็กทรอนิกส์และเตรี ยมแก้ปัญหา
- คิดค้นวิธีดาเนินงานสร่ างสิ่ งประดิษฐ์เพื่อช่วยในการแก้ไขปั ญหาและความเป็ นไปของชิ้นงาน
-ออกแบบสิ่ งประดิษฐ์
-เตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ
บทที่ 4
ผลการดาเนินงานโครงงาน
การทาลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ ในครั้งนี้ ลาโพงที่ทาขึ้นมามีประสิ ทธิ ภาพเท่ากับ
ลาโพงที่ขายในท้องตลาด และมีน้ าหนักเบากว่าลาโพงที่ขายในท้องตลาด
บทที่ 5
สรุ ปผลการดาเนินงาน และข้ อเสนอแนะ
จากการศึกษาเปรี ยบเทียบประสิ ทธิ ภาพของลาโพงที่ทาจากจอคอมพิวเตอร์ กับลาโพงที่
ขายตามท้องตลาด พบว่า มีประสิ ทธิ ภาพเท่ากัน แต่ลาโพงที่เราทาจากจอคอมพิวเตอร์ มีน้ าหนักเบา
กว่าสามารถเคลื่อนย้ายได้ง่าย
ปัญหาทีพบ
่
-สมาชิกมีเวลาว่างไม่ตรงกันการรวมกลุ่มจึงไม่พร้อมเพรี ยงเท่าที่ควร
-ไม่มีประสบการณ์ในเรื่ องไฟฟ้ าเท่าที่ควร
แนวทางการแก้ไขปัญหา
ั
-แบ่งงานและหน้าที่กนตามที่เห็นสมควรของสมาชิกในกลุ่มทุกคน
-ปรึ กษาผูที่รู้และเชี่ยวชาญ
้
เอกสารอ้างอิง
http://www.thaigoodview.com/library/contest2552/type1/tech03/18/monitor.html
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=choshang&month=012011&date=15&group=8&gblog=3

ภาคผนวก
(ขอให้นกเรี ยนนาภาพการพัฒนาโครงงาน เรื่ อง................ขั้นตอนการสร้าง Storyboard)
ั

More Related Content

What's hot

การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศpuppypingpong
 
โครงงานคอม 60435
โครงงานคอม 60435โครงงานคอม 60435
โครงงานคอม 60435Praw Vanitt
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266karakas14
 
ต วอย างโครงงานการประย_กต_ใช_งาน
ต วอย างโครงงานการประย_กต_ใช_งานต วอย างโครงงานการประย_กต_ใช_งาน
ต วอย างโครงงานการประย_กต_ใช_งานRattanathon Phetthom
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์chayanon Atoon
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์princess Thirteenpai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ysmhcnboice
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์princess Thirteenpai
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์uniquejupjang5603
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7Pop Nattakarn
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนyudohappyday
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_Rattanathon Phetthom
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”Warong Hamkamhak
 
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ Por Oraya
 
Course Outline ม.6 ปี
Course Outline ม.6 ปี Course Outline ม.6 ปี
Course Outline ม.6 ปี Khemjira_P
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Wisaruta
 
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาPennapa Boopphacharoensok
 
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการโครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการpeepee kullabut
 

What's hot (20)

การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาด้วยด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
โครงงานคอม 60435
โครงงานคอม 60435โครงงานคอม 60435
โครงงานคอม 60435
 
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
โครงงาน ระบบปฏิบัติการ266
 
ต วอย างโครงงานการประย_กต_ใช_งาน
ต วอย างโครงงานการประย_กต_ใช_งานต วอย างโครงงานการประย_กต_ใช_งาน
ต วอย างโครงงานการประย_กต_ใช_งาน
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์เรื่อง หุ่นยนต์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7ใบงานที่ 7
ใบงานที่ 7
 
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียนโครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
โครงงานวิชาคอมพิวเตอร์ เรื่อง แอปพลิเคชั่นตัดคะแนนนักเรียน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
ต วอย างโครงงานการจำลองทฤษฎ_
 
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
ใบงานที่ 7 เรื่อง โครงงานประเภท “การประยุกต์ใช้งาน”
 
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์ หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
หน่วยที่ 1 หลักการทำโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Course Outline ม.6 ปี
Course Outline ม.6 ปี Course Outline ม.6 ปี
Course Outline ม.6 ปี
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนาตัวอย่างโครงงานพัฒนา
ตัวอย่างโครงงานพัฒนา
 
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการโครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
โครงงานเรื่อง ระบบปฎิบัติการ
 
Computerproject151620
Computerproject151620Computerproject151620
Computerproject151620
 

Similar to 1

โครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบคโครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบคWirachat Inkhamhaeng
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้วThank Chiro
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์laddawan wangkhamlun
 
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
โครงงานคอมพ วเตอร  2-8โครงงานคอมพ วเตอร  2-8
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8Prom Pan Pluemsati
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28sawalee kongyuen
 
การพัฒนาเว็บบล็อก
การพัฒนาเว็บบล็อกการพัฒนาเว็บบล็อก
การพัฒนาเว็บบล็อกwadsana123
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์kanlaya champatho
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทPermtrakul Khammoon
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1Siriporn Roddam
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2Singto Theethat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Onpreeya Sahnguansak
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์weerachai504
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์weerachai504
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์devilp Nnop
 
รายงาน 4 2
รายงาน 4 2รายงาน 4 2
รายงาน 4 2Varid Tunyamat
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์Buzzer'Clup Her-Alone
 

Similar to 1 (20)

โครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบคโครงงานน้องแบค
โครงงานน้องแบค
 
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ววิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
วิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ 2 รหัสวิชา ง32101 แก้ไขแล้ว
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
โครงงานคอมพ วเตอร  2-8โครงงานคอมพ วเตอร  2-8
โครงงานคอมพ วเตอร 2-8
 
605 43projectcom
605 43projectcom605 43projectcom
605 43projectcom
 
งานคอม 606
งานคอม 606งานคอม 606
งานคอม 606
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 28
 
Electronoc waste
Electronoc wasteElectronoc waste
Electronoc waste
 
การพัฒนาเว็บบล็อก
การพัฒนาเว็บบล็อกการพัฒนาเว็บบล็อก
การพัฒนาเว็บบล็อก
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภทใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
เครือข่ายคอมพิวเตอร์ 1
 
Work 2-woot-game
Work 2-woot-gameWork 2-woot-game
Work 2-woot-game
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
การเขียนรายงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ที่ 3 เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
รายงาน 4 2
รายงาน 4 2รายงาน 4 2
รายงาน 4 2
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
 

1

  • 1. โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี จัดทาโดย นางสาวปิ่ นนิดา สามะคะผล เลขที่ 16 ชั้น มัธยมศึกษาปี ที่ 5/1 รายวิชาโครงงานคอมพิวเตอร์ (ง32102) ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 กลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชี พและเทคโนโลยี (คอมพิวเตอร์ ) โรงเรียนส้ มป่ อยพิทยาคม ตาบลส้ มป่ อย อาเภอราษีไศล จังหวัดศรีสะเกษ สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 28 ้ ่
  • 2. หัวข้ อโครงงาน ประเภทของโครงงาน ผู้เสนอโครงงาน ครู ทปรึกษาโครงงาน ี่ ปี การศึกษา : เรื่ อง ลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ : โครงงานพัฒนาสื่ อเพื่อการศึกษา : นางสาวปิ่ นนิดา สามะคะผล ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5/1 เลขที่ 16 : คุณครู ณฐพล บัวพันธ์ ตาแหน่ง ................................. ั : 2556 บทคัดย่อ การทาโครงงานจากขยะอิเล็กทรอนิก ด้วยความห่วงใยและใส่ ใจสิ่ งแวดล้อม เรื่ อง ลาโพง จากจอคอมพิวเตอร์ที่เสี ยแล้ว มีวตถุประสงค์เพื่อ ั 1. ต้องการศึกษาการทาลาโพงจากคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์ 3. เพื่อต้องการศึกษาคิดค้น พัฒนาความคิดของผูเ้ รี ยนและนาความรู ้มาประยุกต์ให้เกิด ประโยชน์ในท้องถิ่นและสิ่ งแวดล้อม หลักการทางานของลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ที่เสี ยแล้วมา ประยุกต์ใช้ให้เป็ นลาโพง หรื อเป็ นมอนิเตอร์ หน้าเวทีการแสดงขนาดย่อมได้ จากผลการดาเนินการ พบว่า ลาโพงที่ทาขึ้นมามีประสิ ทธิ ภาพเท่ากับลาโพงที่ขายในท้องตลาด และมีน้ าหนักเบากว่า ลาโพงที่ขายในท้องตลาด สามารถนาไปใช้ได้จริ ง
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานคอมพิวเตอร์ ฉบับนี้ สาเร็ จขึ้นได้โครงงานเรื่ องลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ ที่ประดิษฐ์ข้ ึนมา ได้รับการสนับสนุนจากหลายๆฝ่ าย อาทิ ด้านงบประมาณจากโรงเรี ยนส้มป่ อยพิทยาคม อาเภอราษี ไศล จังหวัดศรี สะเกษ โดยผูอานวยการ ้ นาย บัญชา ติละกูล คุณครู ที่ปรึ กษา นาย ณัฐพล บัวพันธ์ และคาแนะนาการทาลาโพงจากคณะครู โรงเรี ยนส้มป่ อยพิทยาคมทุกท่าน เพื่อนๆพี่ๆ น้องๆโรงเรี ยนส้มป่ อยพิทยาคมทุกคนที่คอยอยูเ่ ป็ นเพื่อนและกาลังใจมาตลอด ขอขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ ญาติพี่นองทุกคนที่ให้โอกาสและช่วยเหลืออานวยความ ้ สะดวกในทุกด้านจนกระทังสิ่ งประดิษฐ์ชิ้นนี้สาเร็ จได้ตามวัตถุประสงค์ ่ ชื่อผูจดทา ้ั นางสาวปิ่ นนิดา สามะคะผล ชั้น ม.5/1 เลขที่ 16
  • 4. สารบัญ หน้ า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ 1 วัตถุประสงค์ 1 ขอบเขตการศึกษา 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กียวข้ อง ่ จอคอมพิวเตอร์ 3 ลาโพง 5 บทที่ 3 อุปกรณ์ วิธีการดาเนินการ วัสดุ อุปกรณ์ 9 ขั้นตอนการดาเนินงาน 9 บทที่ 4 ผลการทดลองและปฏิบัติ ผลการดาเนินงาน 11 ประโยชน์ที่ได้รับ 11 บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง และ อภิปรายผลของชิ้นงานสิ่งประดิษฐ์ สรุ ปผลการดาเนินงาน ปั ญหาที่พบ 12 12
  • 6. บทที่ 1 บทนา 1.1 แนวคิด ทีมา และความสาคัญ ่ เนื่องจากในปั จจุบนปริ มาณขยะอิเล็กทรอนิกส์ทวโลกกาลังเพิมขึ้นอย่างรวดเร็ วในขณะนี้ ั ั่ ่ โดยในแต่ละปี จะมีมากถึง 20-50 ล้านตัน อาจเป็ นเรื่ องยากที่จะนึกภาพปริ มาณขยะที่มากมาย มหาศาลเช่นนี้ ให้ลองนึกภาพว่าถ้าขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดขึ้นในแต่ละปี ทั้งหมดถูกนาใส่ ตู้ คอนเทนเนอร์ บนขบวนรถไฟ จะกลายขบวนรถไฟที่ยาวเท่าหนึ่งรอบโลกของเรา! ในปัจจุบน ั ขยะอิเล็กทรอนิกส์คิดเป็ นร้อยละ 5 ของขยะแข็งในเขตเทศบาลทัวโลก เทียบเท่ากับปริ มาณ ่ ขยะวัสดุห่อหุ มที่เป็ นพลาสติกทั้งหมด แต่มีอนตรายมากกว่ามาก และไม่ใช่ประเทศพัฒนาแล้ว ้ ั เท่านั้นที่เป็ นต้นตอของขยะอิเล็กทรอนิกส์เหล่านี้ ในเอเชียเองก็มีการทิ้งขยะแบบนี้ประมาณ 12 ล้านตันต่อปี ขยะอิเล็กทรอนิกส์ได้กลายเป็ นส่ วนหนึ่งของขยะแข็งในเขตเทศบาลที่เพิ่ม จานวน ขึ้นอย่างรวดเร็ วที่สุดในปั จจุบน เพราะผูบริ โภคเปลี่ยนโทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ ั ้ อุปกรณ์เครื่ องเสี ยง และ พริ้ นเตอร์ บ่อยครั้งกว่าที่เคยเป็ นมา โทรศัพท์มือถือและคอมพิวเตอร์ ก่อให้เกิดปั ญหามากที่สุดเพราะมีการเปลี่ยน เครื่ องใหม่บ่อยที่สุด ในยุโรปขยะอิเล็กทรอนิกส์ ั เพิ่มจานวนขึ้นร้อยละ 3-5 ต่อปี ซึ่ งเพิ่มขึ้นรวดเร็ วกว่าขยะอย่างอื่นถึง 3 เท่า และคาดการณ์กน ว่าประเทศกาลังพัฒนาจะผลิตขยะอิเล็กทรอนิกส์เพิ่มขึ้นอีกถึง 3 เท่าภายใน 5 ปี ข้างหน้า ตัวอย่างเช่น ในโรงเรี ยนส้มป่ อยพิทยาคม มีคอมพิวเตอร์ เก่าที่ใช้งานไม่ได้แล้วเป็ นจานวนมาก และไม่มีที่เก็บ ก็ตองทิงไปโดยไม่ได้ใช้ประโยชน์อะไรเลย พวกเราจึงได้ปรึ กษากันในกลุ่มว่า ้ ้ ั จะทาอย่างไรดีกบขยะเหล่านี้ เราจึงได้ทาลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ ข้ ึนมา 1.เพื่อต้องการ ศึกษาการทาลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์ 3. เพื่อต้องการศึกษา คิดค้น พัฒนาความคิดของผูเ้ รี ยนและนาความรู ้มาประยุกต์ให้เกิดประโยชน์ในท้องถิ่นและ ประเทศชาติ และเครื่ องคอมพิวเตอร์ ที่เรานามาใช้ทาลาโพงนั้น เป็ นรุ่ น CRT ซึ่ งในปั จจุบนไม่ ั ค่อยมีคนนิยมใช้แล้ว เพราะว่ากินไฟมาก รายละเอียดภาพไม่ชด ทาให้เราสายตาเสี ยได้ ได้ ั ดังนั้นจึงเป็ นที่มาของโครงงานเรื่ องลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์
  • 7. 1.2 วัตถุประสงค์ 1. เพื่อต้องการศึกษาการทาลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ 2. เพื่อช่วยลดขยะอิเล็กทรอนิกส์ 3. เพื่อต้องการศึกษาคิดค้น พัฒนาความคิดของผูเ้ รี ยนและนาความรู ้มาประยุกต์ให้เกิด ประโยชน์ในท้องถิ่นและประเทศชาติ 1.3 ขอบเขตของโครงงาน ในการศึกษาค้นคว้าครั้งนี้จะเกี่ยวกับลาโพงที่ทาจากจอคอมพิวเตอร์ ซึ่ งส่ วนใหญ่จะใช้ขยะ อิเล็กทรอนิกส์ เช่น คอมพิวเตอร์ คียบอร์ ด เป็ นต้น ์ 1.4 ผลทีคาดว่าจะได้ รับ ่ 1. ได้ลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ ่ 2. นาวัสดุอิเล็กทรอนิกส์ที่มีอยูมากมาประดิษฐ์เพื่อให้เกิดคุณค่าและเป็ นแบบอย่างได้ 3. เพื่อส่ งเสริ มกิจกรรมความคิดของเยาวชน 4. เพื่อประโยชน์แก่ผใช้และพัฒนาต่อยอดให้เกิดประโยชน์ในอนาคต ู้
  • 8. บทที่ 2 เอกสารทีเ่ กียวข้ อง ่ จอภาพแบบซีอาร์ ที การแสดงผลบนจอภาพเป็ นเรื่ องที่จาเป็ นสาหรับการใช้ไมโครคอมพิวเตอร์ วิวฒนาการ ั ั ของการแสดงผลได้พฒนาก้าวหน้าขึ้น มาตรฐานการแสดงผลที่ใช้กบไมโครคอมพิวเตอร์ มีพ้ืนฐาน ั มาจากการพัฒนาของบริ ษทไอบีเอ็ม ในยุคต้นความต้องการของการแสดงผลส่ วนใหญ่ยงเป็ นแบบ ั ั ตัวอักษรโดยมีภาวะการทางาน (mode) แยกจากการแสดง กราฟิ ก แต่ในปั จจุบนซอฟต์แวร์ จานวน ั มากสามารถแสดงผลในภาวะกราฟิ ก เช่น ระบบปฎิบติงานวินโดวส์ ต้องใช้ภาวะการแสดงผลใน ั รู ปกราฟิ กล้วน ๆ ผูใช้สามารถกาหนดขนาดช่องหน้าต่าง หรื อการแสดงผลได้ตามที่ตองการ ้ ้ จอภาพจึงเป็ นส่ วนสาคัญมากส่ วนหนึ่งสาหรับผูใช้งานในยุคปั จจุบน ในยุคแรกตั้งแต่ พ.ศ. 2524 ้ ั ั บริ ษทไอบีเอ็มได้พฒนาระบบการแสดงผลที่ใช้กบจอภาพสี เดียวที่เรี ยกว่าโมโนโครม หรื อ เอ็มดีเอ ั ั (Monochrome Display Adapter : MDA) และแสดงผลได้เฉพาะภาวะตัวอักษรแต่เพียงอย่างเดียวแต่ ให้ความละเอียดสู ง หากต้องการแสดงผลในภาวะกราฟิ กก็ตองเลือกภาวะการแสดงผลอีกแบบหนึ่ง ้ ที่เรี ยกว่า ซี จีเอ (Color Graphic Adapter : CGA) ที่สามารถแสดงสี และกราฟิ กได้แต่ความละเอียด น้อย เมื่อมีผผลิตไมโครคอมพิวเตอร์ ยหอต่าง ๆ ที่มีระบบการทางานแบบเดียวกับคอมพิวเตอร์ ของ ู้ ี่ ้ ไอบีเอ็ม (IBM compatible) ไอบีเอ็มจึงต้องกาหนดมาตรฐานการแสดงผลไว้ ต่อมาบริ ษทเฮอร์ คิว ั ลีส ซึ่ งเห็นปั ญหาของระบบการแสดงผลทั้งสองนี้ จึงออกแบบแผลวงจรแสดงผล เรี ยกกันติดปาก ว่าแผงวงจรเฮอร์ คิวลิส (herculis card) หรื อ เอชจีเอ (Herculis Graphic Adapter : HGA) บางครั้ง เรี ยกว่าโมโนโครกราฟิ กอะแดปเตอร์ หรื อเอ็มจีเอ (Monochrome Graphic Adapter : MGA) การ
  • 9. ั ั แสดงผลแบบนี้เป็ นที่แพร่ หลายและนิยมใช้กนต่อเนื่องมาและมีผลิตขึ้นมาใช้กนมากมาย ต่อมา บริ ษทไอบีเอ็มเห็นว่าความต้องการทางด้านกราฟิ กสู งขึ้น การแสดงสี ควรจะมีรายละเอียดและ ั จานวนสี มากขึ้น จึงได้พฒนามาตรฐานการแสดงผลบนจอภาพขึ้นอีกโดยปรับปรุ งจากเดิมเรี ยกว่า อี ั จีเอ (Enhance Graphic Adapter : EAG) การเพิ่มเติมจานวนสี ยงไม่พอเพียงกับซอฟต์แวร์ ที่ได้รับ ั ั การพัฒนาให้ใช้กบระบบปฎิบติการวินโดวส์และโอเอสทูไอบีเอ็มจึงสร้างมาตรฐานการแสดงผลที่ ั มีความละเอียดและสี เพิ่มยิงขึ้นเรี ยกว่า เอ็กซ์วจีเอ (eXtra Video Graphic Array : XVGA) การเลือก ี ่ ซื้ อจอภาพจะตัองพิจารณาความสัมพันธ์ของจอภาพกับตัวปรับต่อซึ่ งเป็ นแผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ ่ ติดตั้งอยูบนแผงวงจรหลัก (main board) และต่อสัญญาณมายังจอภาพ แผงวงจรนี้จะเป็ นตัว แสดงผลตามมาตรฐานที่ตองการ มีภาวะการแสดงผลหลายแบบ เช่น ้ ก. แผงวงจรโมโนโครมหรื อแผงวงจรเอ็มดีเอ เป็ นแผงวงจรที่ไม่ค่อยนิยมใช้แล้วแสดงผลได้ เฉพาะตัวอักษรจานวน 25 บรรทัด บรรทัดละ 80 ตัวอักษร ขนาดความละเอียดของตัวอักษรเป็ น 9x14 ชุด ข. แผงวงจรเฮอร์คิวลิสหรื อแผงวงจรเอชจีเอ แสดงผลเป็ นตัวอักษรขนาด 25 บรรทัด บรรทัดละ 80 ตัวอักษร เหมือนแผงวงจรเอ็มดีเอ แต่สามารถแสดงกราฟิ กแบบสี เดียวด้วยความละเอียด 720x348 จุด ค. แผงวงจรอีจีเอ เป็ นแผงวงจรที่แสดงด้วยความละเอียดของตัวอักษรขนาด 9x14 จุดแสดงสี ได้ 16 สี ความละเอียดของการแสดงกราฟิ ก 640x350 จุด ง. แผงวงจรวีจีเอ เป็ นแผงวงจรที่แสดงด้วย ความละเอียดของตัวอักษร 9x16 จุด แสดงสี ได้ 16 สี แสดงกราฟิ กด้วยความละเอียด 640x480 จุด และแสดงสี ได้สูงถึง 256 สี จ. แผงวงจรเอ็กซ์วจีเอ เป็ นแผงวงจรที่ปรับปรุ งจากแผงวงจรวีจีเอ แสดงกราฟิ กด้วยความละเอียด ี สู งขึ้นเป็ น 1,024x768 จุด และแสดงสี ได้มากกว่า 256 สี เมื่อได้ทราบว่าตัวปรับต่อมีกี่แบบแล้ว คราวนี้มาดูมาตรฐานตัวเชื่อมต่อ (connector) ของตัวปรับต่อ กับจอภาพบ้าง ตัวเชื่อมต่อมาตรฐานที่ใช้มีแบบ 9 ขา ตัวเชื่อมต่อสาหรับแผงวงจรแบบ วีจีเอ และ เอสวีจีเอ เป็ นแบบ 15 ขา การที่หวต่อไม่เหมือนกันจึงทาให้ใช้จอภาพพร่ วมกันไม่ได้ ั นอกจากตัวเชื่อมต่อและตัวปรับต่อแล้ว คุณภาพของจอภาพก็จะต้องได้รับการพิจารณาอย่างมาก สัญญาณที่ส่งมายังจอภาพมีรูปแบบไม่เหมือนกัน สัญญาณของแผงวงจรแบบวีจีเอเป็ นแบบแอ
  • 10. นะล็อก สัญญาณของแผงวงจรแบบ เอ็มดีเอ ซีจีเอ เอชจีเอ อีจีเอ เป็ นแบบดิจิทล ข้อพิจารณาที่จะ ั ตรวจสอบด้วยตาเปล่าได้ คือ การแสดงผลจะต้องเป็ นจุดเล็กละเอียดคมชัด ไม่เป็ นภาพพร่ าหรื อ เสมือนปรับโฟกัสไม่ชดเจน ภาพที่ได้จะต้องมีลกษณะของการกราดตามแนวตั้งคงที่ สังเกตได้จาก ั ั ขนาดตัวหนังสื อแถวบน กับแถวกลางหรื อแถวล่างต้องมีขนาดเท่ากันและคมชัดเหมือนกัน ภาพที่ ปรากฎจะต้องไม่กระพริ บถึงแม้จะปรับความเข้มของแสงเต็มี่ ภาพไม่สั่งไหวหรื อพลิ้ว การแสดง ของสี ตองไม่เพี้ยนจากสี ที่ควรจะเป็ น ้ พิจารณารายละเอียดทางเทคนิคของจอภาพ เช่น ขนาดของจอภาพซึ่ งจะวัดตามแนวเส้นทะแยงมุม ของจอ ว่าเป็ นขนาดกี่นิ้ว โดยทัวไปจะมีขนาด 14 นิ้ว จอภาพที่แสดงผลงานกราฟิ กบางแบบอาจ ่ ต้องใช้ขนาดใหญ่ถึง 20 นิ้ว ความละเอียดของจุดซึ่ งสามารถสังเกตได้จากสัญญาณแถบความถี่ของ จอภาพ จอภาพแบบวีจีเอควรมีสัญญาณแถบความถี่สูงกว่า 25 เมกะเฮิรตซ์ สัญญาณแถบความถี่ยง ิ่ สู งยิงดี จอภาพแบบเอ็กซ์วจีเอแสดงผลแบบมัลติซิงค์ (multisync) ใช้สัญญาณแถบความถี่สูงกว่า 60 ี ่ เมกะเฮิรตซ์ ขนาดของจุดยิงเล็กยิงมีความคมชัด เช่น ขนาดจุด .28 มิลลิเมตร ภาพที่ได้จะคมชัดกว่า ่ ่ ขนาดจุด .33 มิลลิเมตร ค่าของสัญญาณแถบความถี่จึงเป็ นข้อที่จะต้องพิจารณาด้วย ลาโพง การทางานของลาโพง ในการใช้งานไม่ใช่ระบบเสี ยงไฮฟายคาว่า “ลาโพง” โดยปกติจะหมายถึงว่าเป็ นอุปกรณ์ ชิ้นหนึ่งซึ่ งทาให้เกิดเสี ยงขึ้นมา เป็ นอุปกรณ์ตวเดียวในระบบไฮฟายที่มองเห็นรู ปร่ างของมันได้ ั
  • 11. ชัดเจน แต่ในระบบไฮฟายลาโพงของระบบไฮฟายมักจะมีหน่วยไดรฟ์ 2 หน่วย หรื อมากกว่าเป็ น ่ หน่วยไดรฟ์ มีขนาดและชนิดแตกต่างกันซึ่ งจะมักเรี ยกว่าระบบลาโพง แต่หน่วยไดรฟ์ ทั้งหมดไม่วา จะเป็ นของระบบไฮฟายหรื อไม่ก็ตามีหลักการทางานอย่างเดียวกันหมด คือ ใช้หลักการใช้ขดลวดเค ลื่นที่หรื อเรี ยกเป็ นภาษาเทคนิคว่าใช้มูฟวิงคอยล์ (Moving Coil) ในการทาให้อากาศสันตัว ่ ่ เพื่อให้เกิดเป็ นคลื่นเสี ยงนั้น ตัวกรวยของลาโพงจะต้องเคลื่อนที่ไปข้างหน้าและข้างหลังได้อย่าง ่ อิสระ ด้วยเหตุน้ ีจึงต้องตั้งกรวยของลาโพงไว้ในบริ เวณสภาพแวดล้อมที่มีความยืดหยุนสู ง ตรง ปลายกรวยของลาโพงมีรูปทรงกลมขนาดเล็กติดอยูเ่ รี ยกว่า “วอยซ์คอยล์” (Voice Coil) ปลายทั้ง สองข้างของวอยซ์คอยล์ต่อเข้ากับอินพุทของระบบลาโพง รอบ ๆ คอยล์มีแม่เหล็กถาวรตั้งอยู่ ่ ล้อมรอบ การจัดไว้เช่นนั้นจนเมื่อทาการทดสอบกรวยวอยซ์คอยล์แล้ว วอยซ์คอยล์จะวางตัวอยูใน บริ เวณสนามแม่เหล็กซึ่ งมีความเข้มมาก ถ้าหากมีกระแสไฟฟ้ าไหลผ่านคอยล์มนจะเคลื่อนตัวไป ั ข้างหน้าหรื อข้างหลังในช่วงระหว่างขั้วแม่เหล็ก สัญญาณออดิโอซึ่ งประกอบด้วยกระแสสลับหรื อ กระแสเปลี่ยนทิศทางด้วยความถี่ตรงกับเสี ยงดนตรี ดงนั้นจึงทาให้กรวยของลาโพงเคลื่อนที่ ซึ่ งเป็ น ั การทาให้เกิดคลื่นเสี ยง หน่วยไดรฟ์ ของลาโพง ความจริ งมีรูปแบบเช่นเดียวกับมอเตอร์ ไฟฟ้ าแบบ ง่ายๆ เท่านั้นเองหน่วยไดรฟ์ ขนาดเล็กและมีราคาถูกๆ สามารถสร้างขึ้นมาให้เสี ยงได้ดี ให้เสี ยงฟัง ได้ยนอย่างชัดเจน ให้เสี ยงแบคกราวด์าของเสี ยงดนตรี ในเครื่ องรับโทรทัศน์หรื อเสี ยงดนตรี ใน ิ รถยนต์ แต่เมื่อนาหน่วยไดรฟ์ เช่นนี้มาใช้ทาให้เกิดเสี ยงดนตรี ที่มีความเพี้ยนน้อยที่สุดก็จาเป็ นต้องมี บางสิ่ งบางอย่างที่มีความละเอียดลออมากยิงขึ้น ทั้งนี้ก็เพราะหน่วยไดรฟ์ หน่วยเล็กๆ จะไม่มีการ ่ ่ ตอบสนองต่อความถี่ต่าสุ ดและความถี่สูงสุ ดอย่างที่มีอยูในเสี ยงดนตรี แต่เมื่อมองดูตลอดย่าน ความถี่เสี ยงจริ งๆ จะพบว่าเสี ยงต่าสุ ดที่เกิดจากเสี ยงเบสกีตาร์ เป็ นเสี ยงต่ากว่า 50 Hz ใน ขณะเดียวกันเสี ยงสู งสุ ดของเปี ยโนเป็ นความถี่ประมาณ 4 kHz ที่เหนือความถี่น้ ีไปเป็ นความถี่ฮาร์ โมนิค ซึ่ งทาให้เครื่ องดนตรี ชิ้นต่างๆ ให้เสี ยงแตกต่างกันไป ดังนั้นส่ วนสาคัญของย่านความถี่จึงอยู่ ่ ระหว่าง 40 Hz ถึง 15 kHz ทั้งนี้ก็เพราะเสี ยงที่บนทึกได้ส่วนมากจะมียานความถี่ในย่านนี้ การส่ ง ั ่ กระจายเสี ยงโดยวิทยุ FM ก็เช่นกัน จะให้ยานการตอบสนองความถี่สูงสุ ดประมาณ 15 kHz ทั้งนี้ก็ เพราะระบบเสี ยงที่ใช้ในขณะที่เครื่ องเล่นเทปคานเซทเด็ค (Cassett Deck) โดยทัวๆ ไปมักจะไม่ให้ ่ การตอบสนองเรี ยบสู งเกินไปกว่านี้ แต่ระบบบันทึกเสี ยงดิจิตอลสามารถให้การตอบสนองสู งถึง 20 kHz และต่าลงมาถึง 20 Hz แต่ที่ความถี่ต่าๆ เช่นนั้นเอาท์พุทจากลาโพงจะได้รับผลกระทบเพราะ แฟคเตอร์ อื่นๆ อีก อย่าง เช่น เรื่ องขนาดของห้องฟังเป็ นต้น เสี ยงของลาโพงออกมาได้ อย่างไร ?
  • 12. ส่ วนสาคัญที่สุดของเครื่ องเล่นเหล่านี้ก็คือลาโพง โดยหน้าที่สาคัญสุ ดของลาโพงคือ เปลี่ยน สัญญาณทางไฟฟ้ าที่ได้มาจากเครื่ องขยายเป็ นสัญญาณเสี ยง ลาโพงที่ดีจะต้องสร้างเสี ยงให้ เหมือนกับต้นฉบับเดิมมากที่สุด โดยมีการผิดเพี้ยนน้อยที่สุด ่ ั่ ลาโพงที่เห็นขายกันอยูทวๆไป ภายในประกอบด้วย -กรวยหรื อไดอะแฟรม ทาด้วยกระดาษแข็งหรื อแผ่นพลาสติก หรื อจะทาด้วยแผ่นโลหะบางๆ ก็ ได้ ่ ่ ั -ขอบยึด (suspension หรื อ surround ) เป็ นขอบของไดอะแฟรม มีความยืดหยุน ติดอยูกบ เฟรม สามารถเคลื่อนที่ข้ ึนและลงได้ในระดับหนึ่ง -เฟรมหรื อบางทีเรี ยกว่า บาสเก็ต (basket) ่ ั -ยอดของกรวยติดอยูกบคอยส์เสี ยง( Voice coil ) ่ ั -คอยส์เสี ยงจะยึดอยูกบ สไปเดอร์ (Spider) มีลกษณะเป็ นแผ่นวงกลมเหมือนแหวน สไปเดอร์จะ ั ่ ยึดคอยส์เสี ยงให้อยูในตาแหน่งเดิม และทาหน้าที่ เหมือนกับสปริ ง โดยจะสั่นสะเทือน เมื่อมี สัญญาณไฟฟ้ าเข้ามา การทางานของคอยส์เสี ยงใช้หลักการของแม่เหล็กไฟฟ้ า โดยได้จากกฎของแอมแปร์ เมื่อมี กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านเข้าไปในขดลวดหรื อคอยส์ ภายในคอยส์จะเกิดสนามแม่เหล็กขึ้น ซึ่งจะ เหนี่ยวนาให้แท่งเหล็กที่สอดอยูเ่ ป็ นแม่เหล็กไฟฟ้ า ปกติแม่เหล็กจะมีข้ วเหนือและขั้วใต้ ถ้านา ั ่ แม่เหล็กสองแท่งมาอยูใกล้ๆกัน โดยนาขั้วเดียวกันมาชิดกันมันจะผลักกัน แต่ถาต่างขั้วกันมันจะ ้ ดูดกัน ด้วยหลักการพื้นฐานนี้ จึงติดแม่เหล็กถาวรล้อมคอยส์เสี ยงและแท่งเหล็กไว้ เมื่อมีสัญญาณ ั ทางไฟฟ้ าหรื อสัญญาณเสี ยงที่เป็ นไฟฟ้ ากระแสสลับป้ อนสัญญาณให้กบคอยส์เสี ยง ขั้วแม่เหล็ก ภายในคอยส์เสี ยงจะเปลี่ยนทิศทางตามสัญญาณสลับที่เข้ามา ทาให้คอยส์เสี ยงขยับขึ้นและลง ซึ่ ง จะทาให้ใบลาโพงขยับเคลื่อนที่ข้ ึนและลงด้วย ไปกระแทกกับอากาศ เกิดเป็ นคลื่นเสี ยงขึ้น ถ้าเป็ น เครื่ องเสี ยงระบบโมโน ลาโพงจะมีอนเดียว แต่สาหรับเครื่ องเสี ยงที่เป็ นระบบเสตอริ โอ ลาโพงจะมี ั ่ ั 2 ข้าง คือข้างซ้าย และข้างขวา ใบลาโพงทาด้วยกรวยกระดาษ ติดอยูกบคอยส์เสี ยง เมื่อคอยส์ เสี ยงสั่นขึ้นและลงตามสัญญาณไฟฟ้ ากระแสสลับ มันจะทาให้ใบลาโพงสั่นขึ้นลงด้วย ใบลาโพง ่ จะติดอยูบนสไปเดอร์ ที่ทาหน้าที่เหมือนสปริ ง คอยดึงใบลาโพงที่สั่นสะเทือนให้กลับเข้าสู่ ตาแหน่งเดิมเสมอ เมื่อไม่มีสัญญาณไฟฟ้ าป้ อนเข้าลาโพง ถ้ามีสญ ญาณไฟฟ้ ากระแสสลับป้ อนเข้าไปในคอยส์เสี ยง ทิศทางของกระแสไฟฟ้ าจะกลับทิศทางอยู่
  • 13. ตลอดเวลา (สังเกตที่เครื่ องหมาย + และ - จะเห็นว่ากลับทิศทางตลอดเวลาด้วย) และทาให้แผ่น ลาโพงสันเคลื่อนที่ข้ ึนและลง อัดอากาศด้านหน้าเกิดคลื่นเสี ยงขึ้น สัญญาณไฟฟ้ ากระแสสลับที่ ่ ั ใส่ ให้กบลาโพง จะแปรตามความถี่และแอมพลิจูด ซึ่ งเป็ นสัญญาณเดียวกันกับสัญญาณไฟฟ้ า ่ กระแสสลับที่ได้จากไมโครโฟน แต่วาสัญญาณที่ได้ในครั้งแรก ยังอ่อนมากจึงต้องผ่านเครื่ อง ่ ั ขยายก่อน จึงจะป้ อนเข้าลาโพงได้ ใบลาโพงจะสั่นเร็ วหรื อช้าขี้นอยูกบความถี่ และเสี ยงจะดังหรื อ ่ ั ่ ค่อยขึ้นอยูกบแอมพลิจูดของสัญญาณไฟฟ้ า ขนาดของลาโพงมีความสาคัญมาก ไม่ใช่วาลาโพงตัว เดียวสามารถจะให้ความถี่ได้ออกมาทุกๆความถี่ ถ้าต้องการให้เหมือนกับเสี ยงธรรมชาติมาก ที่สุด ลาโพงจะต้องมีหลายขนาด เราจะแบ่งลาโพงโดยใช้ความถี่ออกเป็ น 3 ประเภท ดังนี้ -วูฟเฟอร์ (Woofers) -ทวีทเตอร์ (Tweeters) -มิดเรนส์ (Midrange) ลาโพงประเภทต่ างๆ วูฟเฟอร์ เป็ นลาโพงที่มีขนาดใหญ่สุด ออกแบบมาเพื่อให้เสี ยงที่มีความถี่ต่า ทวีสเตอร์ เป็ นลาโพงที่มีขนาดเล็กสุ ด ออกแบบมาเพื่อให้เสี ยงที่มีความถี่สูง ลาโพงทวีทเตอร์ เป็ นลาโพงที่มีความถี่สูง แผ่นลาโพงมีขนาดเล็กและค่อนข้างแข็ง จึง สามารถสั่นด้วยความเร็ วที่สูง ส่ วนลาโพงแบบวูฟเฟอร์ แผ่นลาโพงจะมีขนาดใหญ่ และค่อนข้าง นิ่ม จึงสั่นด้วยความเร็ วต่า เพราะมีมวลมาก อย่างไรก็ตามเสี ยงทัวไป มีความถี่กว้าง คือ มีความถี่ ่ จากสู งถึงต่า ซึ่ งเราจะเรี ยกว่า มีความถี่ช่วงกว้าง ถ้าเรามีแต่ลาโพงทวีทเตอร์ และวูฟเฟอร์ เราจะได้ ่ เสี ยงอยูในย่านความถี่สูงกับต่าเท่านั้น ความถี่ในช่วงกลางจะหายไป เพื่อจะให้คุณภาพของเสี ยง ออกมาทุกช่วงความถี่ จึงจาเป็ นจะต้องมีลาโพงมิดเรนส์ดวย ภายในตูลาโพงตูหนึ่ง จึงมักจะเห็น ้ ้ ้ ลาโพงทั้งสามชนิดประกอบเข้าด้วยกัน สาหรับลาโพงแบบทวีทเตอร์ เครื่ องขยายเสี ยงจะส่ ง ความถี่สูงให้ ลาโพงวูฟเฟอร์ จะส่ งความถี่ต่า ส่ วนความถี่ในช่วงที่เหลือเป็ นของลาโพงแบบมิด เรนส์ ถ้าลองถอดฝาตูดานหลังออก เราจะได้เห็น อุปกรณ์ชิ้นหนึ่งเรี ยกว่า ครอสโอเวอร์ (Cross ้้ over) อุปกรณ์ตวนี้เป็ นตัวแยกสัญญาณไฟฟ้ ากระแสสลับให้ออกเป็ น 3 ส่ วน คือ ส่ วนความถี่ ั สู ง ความถี่ต่า และความถี่ขนาดกลาง ครอสโอเวอร์แยกออกเป็ น 2 แบบ คือ แบบ พาสซีพ (Passive) และ แบบแอคทีฟ (active) ครอสโอเวอร์ แบบแอคทีฟ ไม่ตองมี ้
  • 14. แหล่งจ่ายไฟ แต่ใช้พลังงานจากสญญาณเสี ยงแทน หลักการพื้นฐานของครอสโอเวอร์ น้ น ั ประกอบขึ้นด้วย ตัวต้ านทาน ตัวเหนี่ยวนา และ ตัวเก็บประจุ ต่อขึ้นเป็ นวงจรไฟฟ้ า ทั้งตัวเก็บ ประจุและตัวเหนี่ยวนาจะเป็ นตัวนาที่ดีภายใต้เงื่อนไขบางประการ ยกตัวอย่างเช่น ตัวเก็บประจุจะ ยอมให้ความถี่สูงที่เกินกว่าค่าที่กาหนดผ่านไปได้ แต่ถาเป็ นความถี่ต่ากว่าค่าที่กาหนดมันจะไม่ยอม ้ ่ ให้ผานไป ส่ วนตัวเหนี่ยวนาจะทาหน้าที่แตกต่างกัน คือจะเป็ นตัวนาที่ดีเมื่อความถี่ต่า คือมันจะ ยอมให้ความถี่ต่ากว่าค่าที่กาหนดผ่านไปได้ และจะไม่ยอมให้ความถี่สูงกว่าค่าที่กาหนดผ่าน ่ ไป สัญญาณไฟฟ้ ากระแสสลับที่ผานการขยายมาแล้ว จะถูกส่ งผ่านไปยังครอสโอเวอร์ แบบพาส ซีฟ โดยเราจะต่อตัวเก็บประจุไว้ก่อนที่จะเข้าทวีทเตอร์ เพราะจะยอมให้แต่ความถี่สูงผ่านไปได้ ่ ั เท่านั้น ตัวเหนี่ยวนาจะต่อไว้ก่อนจะเข้าวูฟเฟอร์ ส่ วนลาโพงมิดเรนส์ จะต่ออยูกบ ตัวเก็บประจุ และตัวเหนี่ยวนา โดยต่อเป็ นวงจรไฟฟ้ า เรี ยกว่า วงจร L-C และเลือกค่าให้เหมาะสม เพื่อให้ความถี่ ในช่วงกลางสามารถผ่านไปได้ ครอสโอเวอร์แบบแอคทีฟ เป็ นอุปกรณ์ทางอิเล็กทรอนิกส์ ่ เหมือนกับครอสโอเวอร์ แบบพาสซี ฟ แต่วาออกแบบซับซ้อนกว่า จึงต้องมีแหล่งจ่ายไฟป้ อน พลังงานให้ ครอสโอเวอร์ แบบนี้จะแยกความถี่ออกก่อนที่จะเข้าเครื่ องขยายเสี ยง ดังนั้นจึงต้องมี เครื่ องขยาย 3 อัน แต่ละอันขยายความถี่ในช่วงที่แตกต่างกัน จึงเป็ นข้อเสี ยที่สาคัญประการ หนึ่ง แต่มีขอดีมากเมื่อเทียบกับแบบพาสซี ฟ และเป็ นสิ่ งที่เครื่ องเสี ยงราคาเป็ นแสนขาดเสี ยไม่ได้ ้ ั คือ คุณสามารถปรับแต่งความถี่ทุกๆช่วงได้ อย่างไรก็ตามมันมีราคาค่อนข้างแพงจึงใช้กบเครื่ อง เสี ยงราคาสู งเสี ยมากกว่า
  • 15. บทที่ 3 วิธีดาเนินงานโครงงาน ในการจัดทาโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่ องลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ นี้ ผูจดทาโครงงานมี ้ั วิธีดาเนินงานโครงงาน ตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. 3.1 วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือหรือโปรแกรมหรือทีใช้ ในการพัฒนา ่ ไม้อดแบบหนา 20 mm. ั 2. ทวิสเตอร์ 2 ตัว 150 วัตต์ 3. ดอกลาโพง 2 ตัว 200 – 250 วัตต์ 4. ซีทอง2 ตัว 5. เครื่ องขยาย 1 เครื่ อง 6. ผ้ามองกลู 1 เมตร 7. หน้าจอคอมพิวเตอร์ ขนาด 17 นิ้ว 2 จอ 8. น็อต 9. โฟมแข็ง 10. สายไฟขนาด 1 เมตร 3.2 ขั้นตอนการดาเนินงาน - ศึกษาค้นคว้าเรื่ องที่จะทา - ศึกษาปั ญหาเกี่ยวกับขยะอิเล็กทรอนิกส์และเตรี ยมแก้ปัญหา - คิดค้นวิธีดาเนินงานสร่ างสิ่ งประดิษฐ์เพื่อช่วยในการแก้ไขปั ญหาและความเป็ นไปของชิ้นงาน -ออกแบบสิ่ งประดิษฐ์ -เตรี ยมวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ
  • 16. บทที่ 4 ผลการดาเนินงานโครงงาน การทาลาโพงจากจอคอมพิวเตอร์ ในครั้งนี้ ลาโพงที่ทาขึ้นมามีประสิ ทธิ ภาพเท่ากับ ลาโพงที่ขายในท้องตลาด และมีน้ าหนักเบากว่าลาโพงที่ขายในท้องตลาด
  • 17. บทที่ 5 สรุ ปผลการดาเนินงาน และข้ อเสนอแนะ จากการศึกษาเปรี ยบเทียบประสิ ทธิ ภาพของลาโพงที่ทาจากจอคอมพิวเตอร์ กับลาโพงที่ ขายตามท้องตลาด พบว่า มีประสิ ทธิ ภาพเท่ากัน แต่ลาโพงที่เราทาจากจอคอมพิวเตอร์ มีน้ าหนักเบา กว่าสามารถเคลื่อนย้ายได้ง่าย ปัญหาทีพบ ่ -สมาชิกมีเวลาว่างไม่ตรงกันการรวมกลุ่มจึงไม่พร้อมเพรี ยงเท่าที่ควร -ไม่มีประสบการณ์ในเรื่ องไฟฟ้ าเท่าที่ควร แนวทางการแก้ไขปัญหา ั -แบ่งงานและหน้าที่กนตามที่เห็นสมควรของสมาชิกในกลุ่มทุกคน -ปรึ กษาผูที่รู้และเชี่ยวชาญ ้