SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปี การศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน ขยะอิเล็กทรอนิกส์
ชื่อผู้ทาโครงงาน
ชื่อ น.ส.แพรวา พฤกษะวัน เลขที่ 1 ชั้น ม.6 ห้อง 6
นายวรชัย ไชยนวล เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1.น.ส.แพรวา พฤกษะวัน เลขที่ 1
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ขยะอิเล็กทรอนิกส์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) electronic waste
ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทสารวจ
ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.แพรวา พฤกษะวัน
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล
ของการทาโครงงาน)
ปัจจุบันมนุษย์เราทิ้งขยะกันเป็นจานวนมาก
หนึ่งในขยะที่เราทิ้งกันทั่วไปโดยที่ไม่รู้ถึงอันตรายของมันได้แก่
ขยะอิเล็กทรอนิกส์นั่นเอง ซึ่งขยะอิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-waste
เป็นขยะอีกชนิดหนึ่งที่ไม่สามารถย่อยสลายเองได้ในธรรมชาติ ซึ่งได้แก่
อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ที่ไม่ใช้แล้วในชีวิตประจาวัน เช่น โทรทัศน์
คอมพิวเตอร์ แบตเตอร์รี่ และโทรศัพท์มือถือ
ขยะเหล่านี้เป็นขยะที่อันตรายอาจจะมีสารเคมีรั่วไหลจนก่อให้เกิดมลพิษกับสิ่งแวด
ล้อมได้ หากไม่มีการหาวิธีการกาจัดที่ดี ด้วยปัญหานี้หลายๆ
ประเทศรวมถึงประเทศไทยเองได้มีหน่วยงานที่กาจัดขยะอิเล็กทรอนิกส์โดยนาไปผ่
านกระบวนการรีไซเคิลเพื่อนากลับมาใช้ใหม่และสามารถกาจัดทาลายสารเคมีที่เป็
นอันตรายออกไปได้แล้ว
แต่วิธีที่ดีที่สุดที่เราจะช่วยกันลดขยะอิเล็กทรอนิกส์หรือขยะชนิดอื่นนั่นคือเราควรจะ
ใช้อุปกรณ์และเทคโนโลยีต่างๆ อย่างรู้คุณค่า เพื่อลดปัญหาขยะล้นโลกในอนาคต
3
เนื่องด้วยปัจจุบันประเทศไทยมีปัญหาเกี่ยวกับขยะเป็ นจานวนมากและหนึ่งในปัญห
าที่น่าสนใจคือ ขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่ปัจจุบันมีคนสนใจมากขึ้น
แต่หลายคนอาจสงสัยว่าขยะอิเล็กทรอนิกส์คืออะไรและส่งผลต่อเราอย่างไร
ขยะอิเล็กทรอนิกส์คือเกี่ยวกับพวกอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น ทีวี โทรศัพท์
ถ่านต่างๆ
ซึ่งอุปกรณ์ต่างๆเหล่านี้ประกอบไปด้วยสารพิษเป็นจานวนมากเวลาที่อุปกรณ์เหล่า
นี้ชารุดแล้วผู้คนก็มักจะทิ้งลงแม่น้าบ้างซึ่งเป็ นการทิ้งที่ผิดวิธี
ซึ่งการทิ้งลงแม่น้านี้สารพิษต่างๆที่อยู่ในอุปกรณ์ก็จะถูกปล่อยลงแม่น้าซึ่งสัตว์ใต้น้า
ก็จะได้รับผลกระทบโดยตรงและยังส่งผลต่อเราอีกด้วย
อธิบายง่ายๆก็คือเมื่อเราทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกส์ลงในน้าสัต์น้าก็จะได้รับผลกระทบ
เช่น ปลา เรากินปลาที่อยู่ในน้าเหล่านั้นเราก็จะได้รับสารพิษเหล่านั้นเช่นกัน
ดังนั้นเราควรศึกษาและตระหนักถึงเรื่องพวกนี้ให้มากขึ้น
เพราะเรื่องพวกนี้ไม่ใช่เรื่องที่ไกลจากตัวเราอีกต่อไปเพราะเป็นการส่งผลถึงชีวิตเร
าด้วย
การจัดทาโครงงานชิ้นนี้ก็เพื่ออยากให้ทุกคนได้เห็นถึงผลเสียของการกระทาที่เราไ
ด้ทาลงไปและจะได้ช่วยกันแก้ปัญหาเพื่อการเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของทุกคน
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
- เพื่อให้ทุกคนได้รูว่าขยะอิเล็กทรอนิกส์คืออะไรและส่งผลต่อเราอย่างไร
- รู้จักการรับมือกับขยะอิเล็กทรอนิกส์
- เพื่อพัฒนาแนวทางในการเสริมสร้างความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต
เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
เป็นการจัดทาโครงงานเพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับขยะอิเลิกทรอนิกส์ที่เกิดขึ้นในปัจจุ
บันและส่งผลกระทบต่อเราทุกคนโดยเริ่มจากตัวเราครอบครัวไปจนถึงชุมชน
ซึ้งจะได้รู้เกี่ยวกับการรับมือและการพัฒนาแนวทางต่างๆเกี่ยวกับขยะอิเล็กทรอนิก
ส์ โดยการจัดทาโครงงานครั้งนี้ผู้จัดทาหวังว่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้เข้าชมทุกท่าน
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
ขยะอิเล็กทรอนิกส์ หรือ electronic waste (e-waste) คือ
เครื่องใช้ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทั้งหลายที่เสียหรือไม่มีคนต้องการ
ขยะเหล่านี้จะย่อยสลายเองไม่ได้ และเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งในบทความนี้
ทางโครงการจะรวมถึงถ่าน แบตเตอรี่ และตลับหมึกพิมพ์ด้วยนะคะ
เพราะขยะเหล่านี้ก็เป็นขยะอันตราย ที่มาพร้อมๆ กับขยะอิเล็กทรอนิกส์เลย
FUN FACTS ... รู้หรือไม่??
4
* ปริมาณ E-Waste ทั่วโลกได้พุ่งทะยานสูงขึ้นถึง 20-50 ล้านตัน ต่อปี
ถ้าเปรียบเทียบให้เห็นภาพคือ ถ้าเอาเจ้า E-Waste ยัดเข้าตู้คอนเทนเนอร์
ในรถไฟ จะมีความยาวประมาณ 1 รอบโลก
* ณ ปัจจุบัน E-Waste คิดเป็น 5% ของขยะมูลฝอย
และมีปริมาณเกือบเท่ากับ พวกบรรจุภัณฑ์พลาสติกแล้ว แต่ความอันตรายจาก E-
Waste มากกว่า พลาสติก หลายเท่าทวีคูณ และที่สาคัญ Asia มีส่วนในการทิ้ง E-
Waste ถึง 12 ล้านตัน / ปี
* E-Waste ตัวฉกาจ ก็แน่นอนครับ เป็นพวกที่อุปกรณ์ที่มีการ Upgrade
ตลอดเวลา และมักจะมายั่วน้าลายให้เราเปลี่ยนกันบ่อยๆ คือ โทรศัพท์มือถือ
คอมพิวเตอร์…ส่วนตัวอื่นๆ เช่น ทีวี เครื่องเล่นต่างๆ
เครื่องถ่ายเอกสารพวกนี้ยังเป็นตัวเลขที่ไม่น่าตกใจเท่าไหร่
* ในประเทศที่พัฒนาแล้ว ค่าเฉลี่ยของอายุการใช้งานคอมพิวเตอร์
เปลี่ยนไปจาก 6 ปีในช่วง ปี 1997 เหลือเพียง 2 ปี ตั้งแต่ปี 2005
ส่วนโทรศัพท์มือถือ มีค่าเฉลี่ยการใช้งาน น้อยกว่า 2 ปี
และมีแนวโน้มที่จะน้อยลงเรื่อยๆ
* และผู้บริโภค รายใหญ่ในวันนี้ คือ ประเทศจีนประมาณ 178
ล้านผู้ใช้งานใหม่ในปี 2010 และอินเดียประมาณ 80 ล้านคน
ในขณะที่ประเทศไทยมีขยะอิเล็กทรอนิกส์จากชุมชนกว่า 380,000 ตัน/ปี
แต่ขยะเหล่านี้กลับถูกส่งสู่กระบวนการรีไซเคิลที่ถูกวิธีเพียงร้อยละ 7.1
ส่วนที่เหลือนอกจากจะไปกองรวมกับขยะมูลฝอยอื่นๆ รอการฝังกลบแล้ว
ส่วนหนึ่งก็จะกระจายไปสู่พ่อค้ารับซื้อของเก่า
ที่จะรวบรวมขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่มีมูลค่านาส่งแหล่งคัดแยกขยะที่ไม่ได้มาตรฐานแ
ต่กระจายตัวไปทั่วประเทศกว่า 100 แห่ง
ทั้งสารปรอทในหลอดไฟและจอภาพสมัยใหม่ ตะกั่วและดีบุกในลวดบัดกรี
แคทเมียมในแผงวงจรพิมพ์ พวกเขาเผาสายไฟเพื่อที่จะแยกทองแดงและโลหะ
โดยไม่ได้คานึงถึงสารพิษที่อาจทาลายปอดและระบบประสาทในระยะยาว
ทั้งหมดถูกคัดแยกด้วยสองมือมนุษย์ซึ่งมีอุปกรณ์ป้องกันเป็นเพียงถุงมือและหน้ากา
กอนามัย
และหากรั่วไหลลงพื้นดินและแหล่งน้าก็พร้อมจะสะสมและส่งต่อไปในห่วงโซ่อาหาร
สาร CFCs จากการผ่าตู้เย็นและเครื่องปรับอากาศรุ่นเก่า
ที่จะระเหยขึ้นไปทาลายชั้นโอโซนที่ป้องกันความร้อนจากดวงอาทิตย์ที่แผ่รังสีให้เรา
อยู่ในทุกวันนี้
ขยะร้ายยังมีค่าถ้ารู้จักแยกทิ้ง
5
เพราะซากเครื่องใช้ไฟฟ้าเหล่านี้
บางชิ้นส่วนสามารถทาการถอดแยกเพื่อนาไปสกัดแยกโลหะมีค่า
เป็นการเพิ่มรายได้ เช่น มีรายงานว่า ญี่ปุ่นสามารถสกัดแยกทองคา 1
กิโลกรัมได้จากโทรศัพท์มือถือจานวน 2 แสนเครื่อง
ชิ้นส่วนตัวต้านทานในวงจรคอมพิวเตอร์
สามารถสกัดแยกทองคาและพาลาเดียมได้อย่างละประมาณ 50-100
กรัมต่อซากเครื่องใช้ไฟฟ้าหนัก 1 ตัน รวมทั้งยังได้ทองแดงอีก 200 กิโลกรัม
นอกจากนี้ แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ยังมีส่วนประกอบของโลหะมีค่า ได้แก่ ทองคา
พาลาเดียม และทองแดง แม้ประเทศไทยเอง
มีผู้ประกอบการเพียงไม่กี่รายที่สามารถรีไซเคิลและสกัดแยกโลหะมีค่าเหล่านี้ออกจ
ากซากอุปกรณ์เหล่านี้ได้ก็ตาม
แต่การเตรียมพร้อมด้วยการแยกขยะอันตายเหล่านี้ออกจากขยะมูลฝอยทั่วไป
ก็เป็นการเตรียมตัวอย่างแรกที่ควรทา
เพื่อรอเทคโนโลยีในการจัดการขยะให้เหมาะสมต่อไป
ประเทศไทย กับการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์แบบไทยๆ
ในขณะที่ต่างชาติกาลังหาทางกาจัดขยะอิเล็กทรอนิกส์อย่างเคร่งครัด
ประเทศไทยก็มีกฎหมายที่ห้ามประชาชนทิ้งขยะอันตรายเหล่านี้ในที่สาธารณะเช่นกั
น แต่แน่นอนว่ากฎหมายหลวมๆ ของไทยนั้นไม่ศักสิทธิ์พอ
ทาให้เราสามารถพบเห็นหลอดฟลูออเรสเซนต์อยู่ในถังขยะหน้าหมู่บ้าน
หรือถ่านไฟฉายที่มีสารเคมีบางอย่างไหลเยิ้มอยู่ก้นก้นถังขยะในหลายๆ ครัวเรือน
ทิ้งเองไม่พอ ยังนาเข้าอีก ในขณะที่ประเทศที่พัฒนาแล้วหลายๆ
ประเทศพยายามส่งออกขยะอิเล็กทรอนิกส์ของตัวเองสู่ประเทศกาลังพัฒนาซึ่งยังไม่
มีกฎหมายคุ้มครองสวัสดิภาพแรงงานที่ดีพอ
เนื่องจากค่าใช้จ่ายในการรีไซเคิลที่ถูกกว่า
ประเทศไทยก็เป็นอีกหนึ่งประเทศที่เปิดรับขยะอิเล็กทรอนิกส์จากนานาชาติตามสน
ธิสัญญาบาเซิล
ที่ว่าด้วยการนาเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์ได้แต่ต้องได้รับการอนุญาตจากกระทรวงอุตส
าหกรรมและมีการจัดการอย่างถูกต้องไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม
แต่แน่นอนว่ายังมีอีกหลายบริษัทที่นาเข้าและมีวิธีการจัดการอย่างไม่ถูกกฎหมาย
เพียงสกัดเอาแร่ที่มีมูลค่าตามต้องการแล้วกาจัดส่วนที่เหลือด้วยการฝังกลบ
ส่งผลให้สารพิษกระจายสู่สิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดมลพิษในพื้นที่ใกล้เคียง
ซากเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
นอกจากจะมีประเด็นปัญหาในเชิงปริมาณที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วแล้ว
ยังมีปัญหาที่เกิดจากส่วนประกอบที่เป็นสารอันตราย เช่น สารตะกั่ว แคดเมียม
ปรอท ฯลฯ ซึ่งหากได้รับการจัดการที่ไม่เหมาะสม
อาจก่อให้เกิดการรั่วไหลสู่สิ่งแวดล้อม
และมีความเสียงที่จะเป็นอันตรายต่อสุขภาพและระบบนิเวศน์
ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
6
อย่างไรก็ตาม ซากเครื่องใช้ไฟฟ้าเหล่านี้
บางชิ้นส่วนสามารถทาการถอดแยกเพื่อนาไปสกัดแยกโลหะมีค่าเป็นการเพิ่มรายไ
ด้ เช่น มีรายงานว่า ญี่ปุ่นสามารถสกัดแยกทองคา 1
กิโลกรัมได้จากโทรศัพท์มือถือจานวน 2 แสนเครื่อง
ชิ้นส่วนตัวต้านทานในวงจรคอมพิวเตอร์
สามารถสกัดแยกทองคาและพาลาเดียมได้อย่างละประมาณ 50-100
กรัมต่อซากเครื่องใช้ไฟฟ้าหนัก 1 ตัน รวมทั้งยังได้ทองแดงอีก 200 กิโลกรัม
นอกจากนี้ แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ยังมีส่วนประกอบของโลหะมีค่า ได้แก่ ทองคา
พาลาเดียม และทองแดง ขณะนี้ประเทศไทยเอง
มีผู้ประกอบการเพียงไม่กี่รายที่สามารถรีไซเคิลและสกัดแยกโลหะมีค่าเหล่านี้ออกจ
ากซากอุปกรณ์เหล่านี้ได้
ซึ่งเมื่อพูดถึงวงจรของผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ ว่าขยะที่เกิดขึ้นนี้
มีที่มาที่ไปอย่างไร เมื่อกลายเป็นขยะไปแล้วจะถูกส่งต่อไปที่ไหน
ต้นของเดิมทีวงจรนี้เริ่มจากผู้ผลิต ผู้บริโภค ร้านรับซื้อของเก่า (ผู้คัดแยกขยะ)
สู่เทศบาลหรือกรุงเทพฯ เก็บรวบรวมขยะ จากนั้น ส่งไปยังบริษัทฝังกลบขยะ
และโรงเผาขยะ การกาจัดด้วยวิธีฝั่งกลบ
อาจเกิดการรั่วไหลของสารพิษและตกค้างในแหล่งน้า ผิวดิน และแหล่งน้าใต้ดิน
และนามาเผาทาลายจะเกิดควันพิษ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพอากาศ
และส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
กรมควบคุมมลพิษ
ได้ตระหนักถึงความสาคัญและปัญหาในการจัดการซากผลิตภัณฑ์
จึงได้จัดทาพระราชบัญญัติการจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปปกรณ์อิ
เล็กทรอนิกส์ขึ้นมา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์
วิธีการและเงื่อนไขการจัดระบบรับคืน การเก็บรวบรวม การเก็บรักษา
และการขนส่งซากผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการและปลอดภัยต่อสุขภาพอนา
มัยของประชาชน และสิ่งแวดล้อม ภายใต้กฎหมายฉบับนี้
ซากผลิตภัณฑ์จะต้องส่งไปยังศูนย์รับคืนซากผลิตภัณฑ์ที่จัดตั้งขึ้น
7
เพื่อรวบรวมส่งไปรีไซเคิลหรือกาจัดยังโรงงานที่ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการจา
กหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแล้วเท่านั้น
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
- เลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ
- เสนอหัวข้อโครงงานแก่ครูที่ปรึกษา
- ศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับขยะอิเล็กทรอนิกส์
และอันตรายหรือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากขยะอิเล็กทรอนิกส์ว่าส่งผลกระทบต่อ
เรามากน้อยเพียงใด
- รวบรวมข้อมูลที่หามาได้มาจัดทาเป็นโครงงานขยะอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเผยแพ
ร่ให้คนไทยได้รู้จักถึงขยะอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น
- วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะโครงงาน
- จัดทาโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- โทรศัพท์มือถือ
- คอมพิวเตอร์
- อินเทอร์เน็ต
งบประมาณ
- ไม่มีค่าใช้จ่าย
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดั
บ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช
อบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อ
มูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโคร
งงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงา
น
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
8
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
ทุกคนมีความรู้เกี่ยวกับขยะอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้นและได้รับรูถึงผลกระทบที่ตามมา
ว่าส่งผลกระทบต่อเรามากน้อยเพียงใด
รวมถึงการการรับมือกับขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน
สถานที่ดาเนินการ
ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยและบ้าน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
- กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(เคมี)
- กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
- http://treconservice.com/pcd-ewaste
- http://www.moveworldtogether.com/TH/article-detail.php?ID=26
- https://www.nstda.or.th/th/vdo-nstda/science-day-techno/3813-e-waste
- http://www.moveworldtogether.com/TH/article-detail.php?ID=26
-

More Related Content

What's hot

2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
Thawanongpao
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
Thawanongpao
 
มะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนักมะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนัก
Wi Nit
 

What's hot (19)

โครงงนปลวก
โครงงนปลวกโครงงนปลวก
โครงงนปลวก
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
 
2562 final-project (1) (1)
2562 final-project  (1) (1)2562 final-project  (1) (1)
2562 final-project (1) (1)
 
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Good life if no fat
Good life if no fatGood life if no fat
Good life if no fat
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project 20
2560 project 202560 project 20
2560 project 20
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
มะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนักมะพร้าวลดน้ำหนัก
มะพร้าวลดน้ำหนัก
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ งานคู่
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงาน โรคอ้วน
โครงงาน โรคอ้วนโครงงาน โรคอ้วน
โครงงาน โรคอ้วน
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
Project thatsanee ladawan
Project thatsanee ladawanProject thatsanee ladawan
Project thatsanee ladawan
 
แบบโครงงาน Primrata
แบบโครงงาน Primrataแบบโครงงาน Primrata
แบบโครงงาน Primrata
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
2562 final-project 23-40
2562 final-project 23-402562 final-project 23-40
2562 final-project 23-40
 
2562 final-project -1-23
2562 final-project -1-232562 final-project -1-23
2562 final-project -1-23
 

Similar to Electronoc waste

2558 project new82
2558 project new822558 project new82
2558 project new82
JSIjittra
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Hathaichanok Pintamong
 
Project(framework)
Project(framework)Project(framework)
Project(framework)
Chokaiwa
 

Similar to Electronoc waste (20)

กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 1 โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Com
ComCom
Com
 
AT22
AT22AT22
AT22
 
อันนี้
อันนี้อันนี้
อันนี้
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
2558 project group
2558 project group2558 project group
2558 project group
 
2562 final-project natthida-08
2562 final-project natthida-082562 final-project natthida-08
2562 final-project natthida-08
 
607 NO.8
607 NO.8607 NO.8
607 NO.8
 
2562 final-project natthida-08
2562 final-project natthida-082562 final-project natthida-08
2562 final-project natthida-08
 
2558 project new82
2558 project new822558 project new82
2558 project new82
 
2558 โปรเจ็ค
2558 โปรเจ็ค2558 โปรเจ็ค
2558 โปรเจ็ค
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไป
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไปแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไป
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไป
 
น้ำมันมะกอก
น้ำมันมะกอกน้ำมันมะกอก
น้ำมันมะกอก
 
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรน
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรนโครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรน
โครงร่างโครงงานเรื่องไมเกรน
 
Com
ComCom
Com
 
2561 project 606.09
2561 project  606.092561 project  606.09
2561 project 606.09
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Bioplas
BioplasBioplas
Bioplas
 
Project(framework)
Project(framework)Project(framework)
Project(framework)
 

Electronoc waste

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปี การศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ชื่อผู้ทาโครงงาน ชื่อ น.ส.แพรวา พฤกษะวัน เลขที่ 1 ชั้น ม.6 ห้อง 6 นายวรชัย ไชยนวล เลขที่ 24 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปี การศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1.น.ส.แพรวา พฤกษะวัน เลขที่ 1 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ขยะอิเล็กทรอนิกส์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) electronic waste ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทสารวจ ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส.แพรวา พฤกษะวัน ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ปัจจุบันมนุษย์เราทิ้งขยะกันเป็นจานวนมาก หนึ่งในขยะที่เราทิ้งกันทั่วไปโดยที่ไม่รู้ถึงอันตรายของมันได้แก่ ขยะอิเล็กทรอนิกส์นั่นเอง ซึ่งขยะอิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-waste เป็นขยะอีกชนิดหนึ่งที่ไม่สามารถย่อยสลายเองได้ในธรรมชาติ ซึ่งได้แก่ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ ที่ไม่ใช้แล้วในชีวิตประจาวัน เช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ แบตเตอร์รี่ และโทรศัพท์มือถือ ขยะเหล่านี้เป็นขยะที่อันตรายอาจจะมีสารเคมีรั่วไหลจนก่อให้เกิดมลพิษกับสิ่งแวด ล้อมได้ หากไม่มีการหาวิธีการกาจัดที่ดี ด้วยปัญหานี้หลายๆ ประเทศรวมถึงประเทศไทยเองได้มีหน่วยงานที่กาจัดขยะอิเล็กทรอนิกส์โดยนาไปผ่ านกระบวนการรีไซเคิลเพื่อนากลับมาใช้ใหม่และสามารถกาจัดทาลายสารเคมีที่เป็ นอันตรายออกไปได้แล้ว แต่วิธีที่ดีที่สุดที่เราจะช่วยกันลดขยะอิเล็กทรอนิกส์หรือขยะชนิดอื่นนั่นคือเราควรจะ ใช้อุปกรณ์และเทคโนโลยีต่างๆ อย่างรู้คุณค่า เพื่อลดปัญหาขยะล้นโลกในอนาคต
  • 3. 3 เนื่องด้วยปัจจุบันประเทศไทยมีปัญหาเกี่ยวกับขยะเป็ นจานวนมากและหนึ่งในปัญห าที่น่าสนใจคือ ขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่ปัจจุบันมีคนสนใจมากขึ้น แต่หลายคนอาจสงสัยว่าขยะอิเล็กทรอนิกส์คืออะไรและส่งผลต่อเราอย่างไร ขยะอิเล็กทรอนิกส์คือเกี่ยวกับพวกอุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้า เช่น ทีวี โทรศัพท์ ถ่านต่างๆ ซึ่งอุปกรณ์ต่างๆเหล่านี้ประกอบไปด้วยสารพิษเป็นจานวนมากเวลาที่อุปกรณ์เหล่า นี้ชารุดแล้วผู้คนก็มักจะทิ้งลงแม่น้าบ้างซึ่งเป็ นการทิ้งที่ผิดวิธี ซึ่งการทิ้งลงแม่น้านี้สารพิษต่างๆที่อยู่ในอุปกรณ์ก็จะถูกปล่อยลงแม่น้าซึ่งสัตว์ใต้น้า ก็จะได้รับผลกระทบโดยตรงและยังส่งผลต่อเราอีกด้วย อธิบายง่ายๆก็คือเมื่อเราทิ้งขยะอิเล็กทรอนิกส์ลงในน้าสัต์น้าก็จะได้รับผลกระทบ เช่น ปลา เรากินปลาที่อยู่ในน้าเหล่านั้นเราก็จะได้รับสารพิษเหล่านั้นเช่นกัน ดังนั้นเราควรศึกษาและตระหนักถึงเรื่องพวกนี้ให้มากขึ้น เพราะเรื่องพวกนี้ไม่ใช่เรื่องที่ไกลจากตัวเราอีกต่อไปเพราะเป็นการส่งผลถึงชีวิตเร าด้วย การจัดทาโครงงานชิ้นนี้ก็เพื่ออยากให้ทุกคนได้เห็นถึงผลเสียของการกระทาที่เราไ ด้ทาลงไปและจะได้ช่วยกันแก้ปัญหาเพื่อการเป็นอยู่ที่ดีขึ้นของทุกคน วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) - เพื่อให้ทุกคนได้รูว่าขยะอิเล็กทรอนิกส์คืออะไรและส่งผลต่อเราอย่างไร - รู้จักการรับมือกับขยะอิเล็กทรอนิกส์ - เพื่อพัฒนาแนวทางในการเสริมสร้างความรู้ด้านสิ่งแวดล้อม ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) เป็นการจัดทาโครงงานเพื่อศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับขยะอิเลิกทรอนิกส์ที่เกิดขึ้นในปัจจุ บันและส่งผลกระทบต่อเราทุกคนโดยเริ่มจากตัวเราครอบครัวไปจนถึงชุมชน ซึ้งจะได้รู้เกี่ยวกับการรับมือและการพัฒนาแนวทางต่างๆเกี่ยวกับขยะอิเล็กทรอนิก ส์ โดยการจัดทาโครงงานครั้งนี้ผู้จัดทาหวังว่าจะเป็นประโยชน์แก่ผู้เข้าชมทุกท่าน หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ขยะอิเล็กทรอนิกส์ หรือ electronic waste (e-waste) คือ เครื่องใช้ไฟฟ้าหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ทั้งหลายที่เสียหรือไม่มีคนต้องการ ขยะเหล่านี้จะย่อยสลายเองไม่ได้ และเป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อม ซึ่งในบทความนี้ ทางโครงการจะรวมถึงถ่าน แบตเตอรี่ และตลับหมึกพิมพ์ด้วยนะคะ เพราะขยะเหล่านี้ก็เป็นขยะอันตราย ที่มาพร้อมๆ กับขยะอิเล็กทรอนิกส์เลย FUN FACTS ... รู้หรือไม่??
  • 4. 4 * ปริมาณ E-Waste ทั่วโลกได้พุ่งทะยานสูงขึ้นถึง 20-50 ล้านตัน ต่อปี ถ้าเปรียบเทียบให้เห็นภาพคือ ถ้าเอาเจ้า E-Waste ยัดเข้าตู้คอนเทนเนอร์ ในรถไฟ จะมีความยาวประมาณ 1 รอบโลก * ณ ปัจจุบัน E-Waste คิดเป็น 5% ของขยะมูลฝอย และมีปริมาณเกือบเท่ากับ พวกบรรจุภัณฑ์พลาสติกแล้ว แต่ความอันตรายจาก E- Waste มากกว่า พลาสติก หลายเท่าทวีคูณ และที่สาคัญ Asia มีส่วนในการทิ้ง E- Waste ถึง 12 ล้านตัน / ปี * E-Waste ตัวฉกาจ ก็แน่นอนครับ เป็นพวกที่อุปกรณ์ที่มีการ Upgrade ตลอดเวลา และมักจะมายั่วน้าลายให้เราเปลี่ยนกันบ่อยๆ คือ โทรศัพท์มือถือ คอมพิวเตอร์…ส่วนตัวอื่นๆ เช่น ทีวี เครื่องเล่นต่างๆ เครื่องถ่ายเอกสารพวกนี้ยังเป็นตัวเลขที่ไม่น่าตกใจเท่าไหร่ * ในประเทศที่พัฒนาแล้ว ค่าเฉลี่ยของอายุการใช้งานคอมพิวเตอร์ เปลี่ยนไปจาก 6 ปีในช่วง ปี 1997 เหลือเพียง 2 ปี ตั้งแต่ปี 2005 ส่วนโทรศัพท์มือถือ มีค่าเฉลี่ยการใช้งาน น้อยกว่า 2 ปี และมีแนวโน้มที่จะน้อยลงเรื่อยๆ * และผู้บริโภค รายใหญ่ในวันนี้ คือ ประเทศจีนประมาณ 178 ล้านผู้ใช้งานใหม่ในปี 2010 และอินเดียประมาณ 80 ล้านคน ในขณะที่ประเทศไทยมีขยะอิเล็กทรอนิกส์จากชุมชนกว่า 380,000 ตัน/ปี แต่ขยะเหล่านี้กลับถูกส่งสู่กระบวนการรีไซเคิลที่ถูกวิธีเพียงร้อยละ 7.1 ส่วนที่เหลือนอกจากจะไปกองรวมกับขยะมูลฝอยอื่นๆ รอการฝังกลบแล้ว ส่วนหนึ่งก็จะกระจายไปสู่พ่อค้ารับซื้อของเก่า ที่จะรวบรวมขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่มีมูลค่านาส่งแหล่งคัดแยกขยะที่ไม่ได้มาตรฐานแ ต่กระจายตัวไปทั่วประเทศกว่า 100 แห่ง ทั้งสารปรอทในหลอดไฟและจอภาพสมัยใหม่ ตะกั่วและดีบุกในลวดบัดกรี แคทเมียมในแผงวงจรพิมพ์ พวกเขาเผาสายไฟเพื่อที่จะแยกทองแดงและโลหะ โดยไม่ได้คานึงถึงสารพิษที่อาจทาลายปอดและระบบประสาทในระยะยาว ทั้งหมดถูกคัดแยกด้วยสองมือมนุษย์ซึ่งมีอุปกรณ์ป้องกันเป็นเพียงถุงมือและหน้ากา กอนามัย และหากรั่วไหลลงพื้นดินและแหล่งน้าก็พร้อมจะสะสมและส่งต่อไปในห่วงโซ่อาหาร สาร CFCs จากการผ่าตู้เย็นและเครื่องปรับอากาศรุ่นเก่า ที่จะระเหยขึ้นไปทาลายชั้นโอโซนที่ป้องกันความร้อนจากดวงอาทิตย์ที่แผ่รังสีให้เรา อยู่ในทุกวันนี้ ขยะร้ายยังมีค่าถ้ารู้จักแยกทิ้ง
  • 5. 5 เพราะซากเครื่องใช้ไฟฟ้าเหล่านี้ บางชิ้นส่วนสามารถทาการถอดแยกเพื่อนาไปสกัดแยกโลหะมีค่า เป็นการเพิ่มรายได้ เช่น มีรายงานว่า ญี่ปุ่นสามารถสกัดแยกทองคา 1 กิโลกรัมได้จากโทรศัพท์มือถือจานวน 2 แสนเครื่อง ชิ้นส่วนตัวต้านทานในวงจรคอมพิวเตอร์ สามารถสกัดแยกทองคาและพาลาเดียมได้อย่างละประมาณ 50-100 กรัมต่อซากเครื่องใช้ไฟฟ้าหนัก 1 ตัน รวมทั้งยังได้ทองแดงอีก 200 กิโลกรัม นอกจากนี้ แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ยังมีส่วนประกอบของโลหะมีค่า ได้แก่ ทองคา พาลาเดียม และทองแดง แม้ประเทศไทยเอง มีผู้ประกอบการเพียงไม่กี่รายที่สามารถรีไซเคิลและสกัดแยกโลหะมีค่าเหล่านี้ออกจ ากซากอุปกรณ์เหล่านี้ได้ก็ตาม แต่การเตรียมพร้อมด้วยการแยกขยะอันตายเหล่านี้ออกจากขยะมูลฝอยทั่วไป ก็เป็นการเตรียมตัวอย่างแรกที่ควรทา เพื่อรอเทคโนโลยีในการจัดการขยะให้เหมาะสมต่อไป ประเทศไทย กับการจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์แบบไทยๆ ในขณะที่ต่างชาติกาลังหาทางกาจัดขยะอิเล็กทรอนิกส์อย่างเคร่งครัด ประเทศไทยก็มีกฎหมายที่ห้ามประชาชนทิ้งขยะอันตรายเหล่านี้ในที่สาธารณะเช่นกั น แต่แน่นอนว่ากฎหมายหลวมๆ ของไทยนั้นไม่ศักสิทธิ์พอ ทาให้เราสามารถพบเห็นหลอดฟลูออเรสเซนต์อยู่ในถังขยะหน้าหมู่บ้าน หรือถ่านไฟฉายที่มีสารเคมีบางอย่างไหลเยิ้มอยู่ก้นก้นถังขยะในหลายๆ ครัวเรือน ทิ้งเองไม่พอ ยังนาเข้าอีก ในขณะที่ประเทศที่พัฒนาแล้วหลายๆ ประเทศพยายามส่งออกขยะอิเล็กทรอนิกส์ของตัวเองสู่ประเทศกาลังพัฒนาซึ่งยังไม่ มีกฎหมายคุ้มครองสวัสดิภาพแรงงานที่ดีพอ เนื่องจากค่าใช้จ่ายในการรีไซเคิลที่ถูกกว่า ประเทศไทยก็เป็นอีกหนึ่งประเทศที่เปิดรับขยะอิเล็กทรอนิกส์จากนานาชาติตามสน ธิสัญญาบาเซิล ที่ว่าด้วยการนาเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์ได้แต่ต้องได้รับการอนุญาตจากกระทรวงอุตส าหกรรมและมีการจัดการอย่างถูกต้องไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม แต่แน่นอนว่ายังมีอีกหลายบริษัทที่นาเข้าและมีวิธีการจัดการอย่างไม่ถูกกฎหมาย เพียงสกัดเอาแร่ที่มีมูลค่าตามต้องการแล้วกาจัดส่วนที่เหลือด้วยการฝังกลบ ส่งผลให้สารพิษกระจายสู่สิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดมลพิษในพื้นที่ใกล้เคียง ซากเครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ นอกจากจะมีประเด็นปัญหาในเชิงปริมาณที่เพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วแล้ว ยังมีปัญหาที่เกิดจากส่วนประกอบที่เป็นสารอันตราย เช่น สารตะกั่ว แคดเมียม ปรอท ฯลฯ ซึ่งหากได้รับการจัดการที่ไม่เหมาะสม อาจก่อให้เกิดการรั่วไหลสู่สิ่งแวดล้อม และมีความเสียงที่จะเป็นอันตรายต่อสุขภาพและระบบนิเวศน์ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว
  • 6. 6 อย่างไรก็ตาม ซากเครื่องใช้ไฟฟ้าเหล่านี้ บางชิ้นส่วนสามารถทาการถอดแยกเพื่อนาไปสกัดแยกโลหะมีค่าเป็นการเพิ่มรายไ ด้ เช่น มีรายงานว่า ญี่ปุ่นสามารถสกัดแยกทองคา 1 กิโลกรัมได้จากโทรศัพท์มือถือจานวน 2 แสนเครื่อง ชิ้นส่วนตัวต้านทานในวงจรคอมพิวเตอร์ สามารถสกัดแยกทองคาและพาลาเดียมได้อย่างละประมาณ 50-100 กรัมต่อซากเครื่องใช้ไฟฟ้าหนัก 1 ตัน รวมทั้งยังได้ทองแดงอีก 200 กิโลกรัม นอกจากนี้ แผงวงจรอิเล็กทรอนิกส์ ยังมีส่วนประกอบของโลหะมีค่า ได้แก่ ทองคา พาลาเดียม และทองแดง ขณะนี้ประเทศไทยเอง มีผู้ประกอบการเพียงไม่กี่รายที่สามารถรีไซเคิลและสกัดแยกโลหะมีค่าเหล่านี้ออกจ ากซากอุปกรณ์เหล่านี้ได้ ซึ่งเมื่อพูดถึงวงจรของผลิตภัณฑ์อิเล็กทรอนิกส์ ว่าขยะที่เกิดขึ้นนี้ มีที่มาที่ไปอย่างไร เมื่อกลายเป็นขยะไปแล้วจะถูกส่งต่อไปที่ไหน ต้นของเดิมทีวงจรนี้เริ่มจากผู้ผลิต ผู้บริโภค ร้านรับซื้อของเก่า (ผู้คัดแยกขยะ) สู่เทศบาลหรือกรุงเทพฯ เก็บรวบรวมขยะ จากนั้น ส่งไปยังบริษัทฝังกลบขยะ และโรงเผาขยะ การกาจัดด้วยวิธีฝั่งกลบ อาจเกิดการรั่วไหลของสารพิษและตกค้างในแหล่งน้า ผิวดิน และแหล่งน้าใต้ดิน และนามาเผาทาลายจะเกิดควันพิษ ส่งผลกระทบต่อคุณภาพอากาศ และส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศ ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว กรมควบคุมมลพิษ ได้ตระหนักถึงความสาคัญและปัญหาในการจัดการซากผลิตภัณฑ์ จึงได้จัดทาพระราชบัญญัติการจัดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุปปกรณ์อิ เล็กทรอนิกส์ขึ้นมา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อกาหนดหลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการจัดระบบรับคืน การเก็บรวบรวม การเก็บรักษา และการขนส่งซากผลิตภัณฑ์ที่ถูกต้องตามหลักวิชาการและปลอดภัยต่อสุขภาพอนา มัยของประชาชน และสิ่งแวดล้อม ภายใต้กฎหมายฉบับนี้ ซากผลิตภัณฑ์จะต้องส่งไปยังศูนย์รับคืนซากผลิตภัณฑ์ที่จัดตั้งขึ้น
  • 7. 7 เพื่อรวบรวมส่งไปรีไซเคิลหรือกาจัดยังโรงงานที่ได้รับใบอนุญาตประกอบกิจการจา กหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแล้วเท่านั้น วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน - เลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ - เสนอหัวข้อโครงงานแก่ครูที่ปรึกษา - ศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับขยะอิเล็กทรอนิกส์ และอันตรายหรือผลกระทบที่เกิดขึ้นจากขยะอิเล็กทรอนิกส์ว่าส่งผลกระทบต่อ เรามากน้อยเพียงใด - รวบรวมข้อมูลที่หามาได้มาจัดทาเป็นโครงงานขยะอิเล็กทรอนิกส์เพื่อเผยแพ ร่ให้คนไทยได้รู้จักถึงขยะอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น - วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อกาหนดขอบเขตและลักษณะโครงงาน - จัดทาโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - โทรศัพท์มือถือ - คอมพิวเตอร์ - อินเทอร์เน็ต งบประมาณ - ไม่มีค่าใช้จ่าย ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดช อบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อ มูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโคร งงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงา น 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน
  • 8. 8 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) ทุกคนมีความรู้เกี่ยวกับขยะอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้นและได้รับรูถึงผลกระทบที่ตามมา ว่าส่งผลกระทบต่อเรามากน้อยเพียงใด รวมถึงการการรับมือกับขยะอิเล็กทรอนิกส์ที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน สถานที่ดาเนินการ ห้องคอมพิวเตอร์โรงเรียนยุพราชวิทยาลัยและบ้าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง - กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์(เคมี) - กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) - http://treconservice.com/pcd-ewaste - http://www.moveworldtogether.com/TH/article-detail.php?ID=26 - https://www.nstda.or.th/th/vdo-nstda/science-day-techno/3813-e-waste - http://www.moveworldtogether.com/TH/article-detail.php?ID=26 -