SlideShare a Scribd company logo
1 of 48
สารบัญ
สารบัญ
ภาคใต้
ภาคกลาง
ภาคอีสาน
ภาคเหนือ
ผู้จัดทา
บรรณานุกรม
ภาคเหนือ
ประเพณียี่เป็ง ประเพณีอุ้มพระดาน้า
ประเพณีปอยส่างลอง ประเพณีตานขันข้าว
เป็นประเพณีลอยกระทงแบบล้านนา โดยคาว่า ยี่ แปลว่า สอง ส่วน เป็ง แปลว่า เพ็ญ หรือ คืน
พระจันทร์เต็มดวง ซึ่งหมายถึงประเพณีในวันเพ็ญเดือนสองของชาวล้านนา ซึ่งตรงกับเดือนสิบ
สองของไทยงานประเพณีจะมีสามวันคือ
วันขึ้นสิบสามค่า หรือ วันดา เป็นวันซื้อของเตรียมไปทาบุญที่วัด
วันขึ้นสิบสี่ค่า จะไปทาบุญกันที่วัด พร้อมทากระทงใหญ่ไว้ที่วัดและนาของกินมาใส่กระทงเพื่อ
ทาทานให้แก่คนยากจน
วันขึ้นสิบห้าค่า จะนากระทงใหญ่ที่วัดและกระทงเล็กส่วนตัวไปลอยในลาน้า
ประเพณียี่เป็ง
ในช่วงวันยี่เป็งจะมีการประดับตกแต่งวัด บ้านเรือน ทาประตูป่า ด้วยต้นกล้วย ต้นอ้อย
ทางมะพร้าว ดอกไม้ ตุง ช่อประทีป และชักโคมยี่เป็งแบบต่าง ๆ ขึ้นเป็นพุทธบูชา และมีการจุด
ถ้วยประทีป (การจุดผางปะตี๊บ) เพื่อบูชาพระรัตนตรัย และมีการจุดโคมลอยปล่อยขึ้นสู่ท้องฟ้ า
เพื่อบูชาพระเกตุแก้วจุฬามณีบนสรวงสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
เป็นประเพณีที่ชาวเพชรบุรณ์ร่วมกันจัดขึ้น โดยมีตานานเล่าว่าเมื่อประมาณ 400 ปีที่ผ่านมามี
ชาวบ้านกลุ่มหนึ่งมีอาชีพหาปลาขาย และได้ไปหาปลาที่แม่น้าป่าสักเป็นประจาทุกวัน อยู่มาวัน
หนึ่งก็ได้เกิดเรื่องที่ไม่มีใครให้คาตอบได้ว่า เกิดอะไรขึ้นเพราะวันนั้น ไม่มีใครจับปลาได้สักตัว
จากนั้นก็เกิดเหตุการณ์ประหลาดขึ้นตรงบริเวณ วังมะขามแฟบ (ไม้ระกา) ซึ่งปกติบริเวณนี้น้า
จะไหลเชี่ยวมาก จู่ ๆ น้าก็หยุดไหล และมีพลายน้าผุดขึ้นมา แล้วพระพุทธรูปก็ผลุดขึ้นมาด้วย
ชาวบ้านจึงได้อัญเชิญพระพุทธรูปองค์ดังกล่าว ขึ้นจากน้าและนาไปประดิษฐานไว้ที่วัดไตรภูมิ
เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดเพชรบูรณ์
ประเพณีอุ้มพระดาน้า
จนกระทั่งถึงวันสารทไทยหรือ วันแรม 15 ค่าเดือนสิบ พระพุทธรูปองค์ดังกล่าว (พระพุทธมหา
ธรรมราชา) ก็ได้หายไปจากวัด ชาวบ้านจึงช่วยกันตามหาและเจอพระพุทธรูป อยู่บริเวณวัง
มะขามแฟบ จากนั้นเป็นต้นมา พอถึงวันแรม 15 ค่าเดือน 10 ชาวจังหวัดเพชรบูรณ์ ก็จะจัดงาน
ซึ่งเรียกว่า “อุ้มพระดาน้า” ตั้งแต่วันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2522 เป็นต้นมา
มีอีกชื่อหนึ่งว่า งานบวชลูกแก้ว เป็นงานที่จัดเพื่อทาการบรรพชาเป็นสามเณรในพระพุทธศาสนา
โดยจะพบเห็นการจัดปอยส่างลองกันมากที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยเฉพาะในเขตอาเภอเมือง
อาเภอขุนยวม และอาเภอปาย คนส่วนใหญ่ที่เข้าร่วมประเพณีนี้ก็สืบเชื้อสายมาจากไทใหญ่ ซึ่ง
ก็ได้ร่วมกันสืบทอดงานประเพณีนี้มาเป็นเวลาช้านาน ดังปรากฏว่าหลักฐานว่าประเพณีนี้มีมา
ตั้งแต่มีการสร้างแปลนเมืองแม่ฮ่องสอน ซึ่งก็ ได้มีการจัดงานอย่างยิ่งใหญ่ทุกๆปี เนื่องจากเป็น
ประเพณีที่สาคัญทางศาสนา และเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด
ประเพณีปอยส่างลอง
เป็นประเพณีหนึ่งของคนในภาคเหนือที่สืบทอดกันมาเป็นเวลานาน การตานขันข้าวคือการทาบุญ
อุทิศส่วนกุศลให้แก่ญาติพี่น้องที่เสียชีวิตไปแล้ว หรืออาจจะเป็นการทาบุญให้ตนเองเพื่อเป็น
การสะสมบุญในชาติหน้าก็ได้ การตานขันข้าวเป็นการถวายภัตตาหาร หรือถวายสิ่งของ
เครื่องใช้อื่น ๆ ร่วมด้วยก็ได้ ส่วนใหญ่นิยมทากันในวันพระหรือวันสาคัญทางศาสนา เช่น วัน
มาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาฬาหบูชา วันเข้าพรรษา วันสงกรานต์ วันคล้ายวันเกิด
ประเพณีตานขันข้าว
ซึ่งในวันดังกล่าวชาวบ้านจะนาภัตตาหาร ไปถวายพระที่วัดเพื่ออุทิศส่วนกุศลไปให้พ่อ แม่ ญาติ
พี่ ที่ล่วงลับไปแล้ว หรือเจ้ากรรมนายเวร ชาวบ้านเชื่อว่าการตานขันข้าวเป็นการอุทิศส่วนกุศล
ไปให้ผู้ตาย จะช่วยให้วิญญาณของผู้ตายมีอาหารกิน และมีสิ่งของเครื่องใช้ไม่อดอยาก หรือ
เป็นการทาบุญล่วงหน้าให้กับตนเองในชาติหน้า เพื่อให้มีกิน มีใช้ มีความเป็นอยู่สุขสบายใน
ชาติหน้า
ภาคกลาง
ประเพณีตักบาตรดอกไม้
ประเพณีกาฟ้ า ประเพณีกวนข้าวทิพย์
ประเพณีทาขวัญข้าว ประเพณีตักบาตรเทโว
ประเพณีตักบาตรดอกไม้มีตานานมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล โดยมีเรื่องเล่าว่า นายสุมนมาลาการ
เป็นชาวเมืองราชคฤห์ เขามีหน้าที่นาดอกมะลิไปถวายพระเจ้าพิมพิสารวันละ 8 ทะนาน ทุกวัน
และจะได้ทรัพย์วันละ 8 กหาปณะ ต่อมาเช้าวันหนึ่ง ขณะที่เขากาลังถือดอกไม้จะเข้าประตูเมือง
เป็นเวลาที่พระพุทธเจ้าเสด็จออกบิณฑบาตพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ เขาเห็นพระพุทธเจ้าแล้วเกิด
ความเลื่อมใส จึงถวายดอกไม้ด้วยดอกไม้ที่จะนาไปถวายพระราชาโดยมีความคิดว่า แม้จะต้อง
ตายด้วยโทษประหารก็ยอม
ประเพณีตักบาตรดอกไม้
ชาวเมืองทราบดังนั้นจึงพาการโห่ร้องสรรเสริญเป็นอันมาก มีเพียงภรรยาของเขาที่ไม่พอใจ
ภรรยาจึงนาความนั้นไปกราบทูลพระเจ้าพิมพิสาร แต่พระเจ้าพิมพิสารเป็นพระ
โสดาบัน นอกจากจะไม่โกรธแล้ว ยังนาความนี้กราบทูลพระพุทธเจ้าอีกที พระพุทธเจ้าได้กล่าว
สรรเสริญนายสุมนมาลาการ ทาให้นายสุมนมาลาการได้รับของพระราชทานจากพระเจ้าพิม
พิสารถึง 8 ชนิด คือช้าง ม้า ทาส ทาสี เครื่องประดับ นารี อย่างละแปด ทรัพย์อีก 8 พัน
กหาปณะ และบ้านส่วยอีก 8 ตาบล ครั้นกลับถึงวัด พระอานนท์ได้กราบทูลผลบุญที่นายสุมน
มาลาการจะพึงได้รับ พระพุทธองค์ตรัสว่า นายสุมนมาลาการได้สละชีวิตบูชาพระองค์ในครั้งนี้
จักไม่ได้ไปเกิดในนรกตลอดแสนกัลป์
ประเพณีกาฟ้ า เป็นประเพณีสาคัญตั้งแต่สมัยโบราณ ซึ่งเกี่ยวกับวิถีชีวิตของชาวไทยพวน ที่
อาศัยกระจายไปอยู่ในหลายภูมิภาค เช่น ต.ไผ่หลิ่ว อ.ดอนพุด จ.
สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี สุพรรณบุรี ฉะเชิงเทรา นครนายก ปราจีนบุรี อุดรธานี
หนองคาย แพร่ สุโขทัย อุตรดิตถ์ และพิจิตร เป็นต้น
แม้การรวมตัวในแต่ละถิ่นไม่มากนัก แต่ทุกแห่งต่างก็สามารถรักษาวิถีชีวิต และขนบธรรมเนียม
ดั้งเดิมไว้ได้อย่างดี
-กา หมายถึง การสักการบูชา (ภาษาพวน)
-กาฟ้ า หมายถึง การสักการบูชาฟ้ า
ประเพณีกาฟ้ า
วันขึ้น 3 ค่าเดือน 3 เป็นวันกาฟ้ า ก่อนวันกาฟ้ า 1 วัน คือวันขึ้น 2 ค่าเดือน 3 จะถือเป็นวันสุกดิบ
แต่ละบ้านจะทาข้าวปุ้ น หรือ ขนมจีน พร้อมทั้งน้ายา และน้าพริกไว้เลี้ยงดูกัน มีการทาข้าว
หลามเผา มีการทาข้าวจี่ ข้าวจี่จะนาไปเซ่นไหว้ผีฟ้ าและแบ่งกันกินในหมู่ญาติพี่น้อง พอถึงวัน
กาฟ้ าทุกคนในบ้านจะไปทาบุญที่วัด มีการใส่บาตรด้วยข้าวหลาม ข้าวจี่ ตกตอนบ่ายจะมี
การละเล่นไปจน ถึงกลางคืน การละเล่นที่นยมได้แก่ ช่วงชัย มอญซ่อนผ้า นางด้ง ฯลฯ
เป็นพระราชพิธีกระทาในเดือน ๑๐ ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยและกรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานี เป็น
พิธีกรรมของศาสนาพราหมณ์ ที่สอดแทรกในพิธีกรรมทางพุทธศาสนา เพื่อถวายแด่พระภิกษุ
สงฆ์ บูชาพระรัตนตรัย และอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ตาย ในปัจจุบันนี้ส่วนใหญ่จะจัดในเดือน ๑๒
บางแห่งจะจัดในเดือน ๑ ซึ่งเป็นช่วงที่ข้าวกล้าในท้องนามีรวงข้าว และเครื่องกวนข้าวทิพย์
ประกอบด้วยถั่ว นม น้าตาล น้าผึ้ง น้าอ้อย งา เนย น้ากะทิ และนมที่คั้นจากรวงข้าว
ประเพณีกวนข้าวทิพย์
การทาขวัญข้าวนั้น เป็นการสร้างขวัญและกาลังใจให้กับชาวนาให้รู้ว่า การทานาปลูกข้าวของตน
นั้น จะไม่สูญเปล่า เพราะพระแม่โพสพเป็นผู้ดูแล และเมื่อมีการเกี่ยวข้าวก็จะมาช่วยกันเกี่ยว
ข้าว เป็นการสร้างความสมัครสมานสามัคคี และที่สุดคือการร่วมสนุกสนานเมื่อทุกคนเหนื่อย
ยาก และประสบความสาเร็จด้วยดี
ประเพณีทาขวัญข้าว
งานตักบาตรเทโว เป็นงานประเพณีที่ชาวอุทัยธานียึดถือปฏิบัติกันมา ตั้งงแต่ครั้ง บรรพบุรุษ จน
กลายเป็นเอกลักษณ์ที่ชาวอุทัยธานีทุกคนภูมิใจกันมาก เพราะเป็นการจัดงานตักบาตรเทโว ที่มี
ความสอดคล้องกับพุทธตานานมากที่สุด กล่าวคือ ในสมัยพุทธกาล เมื่อสมเด็จพระสัมมาสัม
พุทธเจ้าบรมศาสดาได้เสด็จขึ้นไปแสดงธรรมโปรดพุทธมารดายังสวรรค์ชั้นดาวดึงส์เป็นเวลา ๓
เดือนเต็ม จนกระทั่งพระพุทธมารดาได้บรรลุ ซึ่งพระอริยมรรค อริยผล เป็นพระอรหันต์ภูมิ
ประเพณีตักบาตรเทโว
แล้วจึงเสด็จจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ลงมาสู่โลกมนุษย์ ซึ่งพระอินทร์ได้ให้พระวิศณุกรรมเนรมิต
บันไดแก้วทอดให้พระพุทธองค์เสด็จโดยมีบันไดทองเบื้องซ้ายและบันไดเงินเบื้องขวาสาหรับ หมู่
เทพยดา พระอินทร์และพระพรหม ทอดลงมาสู่มนุษยภูมิที่มีสังกัสนคร วันที่สมเด็จพระ
สัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จลงมาสู่โลกมนุษย์นั้น เรียกว่า "วันเทโวโรหณะ" ซึ่งจะมีพระอรหันต์พร้อม
ด้วยสาธุชนมารอรับเสด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อการใส่บาตรอย่างมากมายขึ้นที่บริเวณนี้
ภาคอีสาน
ประเพณีแห่ผีตาโขน ประเพณีแห่นางแมว
ประเพณีบุญบั้งไฟ ประเพณีแห่เทียนพรรษา
ประเพณีไหลเรือไฟ ประเพณีวิ่งควาย
ทอดผ้าป่ากลางน้า ทาบุญกลางทุ่ง
ทอดผ้าป่าโจร
ผีตาโขน เป็นเทศกาลที่จัดขึ้นในอาเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ซึ่งตั้งอยู่ทางภาคอีสาน
ของประเทศไทย เป็นเทศกาลที่เกิดขึ้นในเดือน 7 ซึ่งมักจัดมากกว่าสามวันในบางช่วงระหว่าง
เดือนมีนาคม และกรกฎาคม โดยจัดขึ้นในวันที่ได้รับเลือกให้จัดขึ้นในแต่ละปีโดยคนทรงประจา
เมือง ซึ่งงานบุญประเพณีพื้นบ้านนี้มีชื่อเรียกว่า บุญหลวง โดยแบ่งออกเป็นเทศกาล ผีตาโขน,
ประเพณีบุญบั้งไฟ และงานบุญหลวง (หรือ บุญผะเหวด)
ผีตาโขน นั้น เดิมมีชื่อเรียกว่า ผีตามคน เป็นเทศกาลที่ได้รับอิทธิพลมาจากมหา
เวสสันดรชาดก ชาดกในทางพระพุทธศาสนา ที่ว่าถึงพระเวสสันดร และพระนางมัทรี จะเดิน
ทางออกจากป่ากลับสู่เมืองหลวง บรรดาสัตว์ป่ารวมถึงภูติผีที่อาศัยอยู่ในป่านั้น ได้ออกมาส่ง
เสด็จด้วยอาลัย
ซึ่งวันแรกจะเป็นเทศกาลผีตาโขน ซึ่งเรียกวันนี้ว่า วันรวม (วันโฮม) โดยจะมีพิธีเบิก
พระอุปคุตต์ ในบริเวณระหว่างลาน้าหมันกับลาน้าศอก ส่วนวันที่สองของเทศกาลดังกล่าวจะมี
พิธีจุดบั้งไฟบูชา พร้อมด้วยเครื่องแต่งกายที่หลากหลาย รวมถึงการแข่งขันเต้นราตลอดจนขบวน
พาเหรด ส่วนในวันที่สามและวันสุดท้ายจะมีการให้ชาวบ้านฟังเทศน์ ทั้งนี้ผีตาโขนยังได้รับการ
นามาใช้เป็นสัญลักษณ์ และฉายาประจาทีม สโมสรฟุตบอลเลย ซิตี้เช่นกัน
ประเพณีแห่ผีตาโขน
และประเพณียังคงมีความเชื่อกันว่า สาหรับคนที่เล่นหรือมีการแต่งตัวเป็นผีตาโขนใหญ่ ต้อง
ถอดเครื่องแต่งกายผีตาโขนใหญ่ออกให้หมดและนาไปทิ้งในแม่น้าหมัน ห้ามนาเข้าบ้าน เป็น
การทิ้งความทุกข์ยากและสิ่งเลวร้ายไป และรอจนถึงปีหน้าจึงค่อยทาเล่นกันใหม่
ประเพณีแห่นางแมวเป็นพิธีกรรมขอฝนของเกษตรกรไทยจัดขึ้นทั้งในภาคกลางและ
ภาคตะวันออกเฉียงหนือ เมื่อใกล้ฤดูเพาะปลูกแล้วแต่ฝนยังไม่มาหรือมาล่าช้ากว่าปรกติ ส่งผล
ให้ข้าวในนา พืชในสวนขาดน้าหล่อเลี้ยง ให้ผลผลิตไม่ได้เต็มที่ ชาวนา ชาวไร่ก็จะจัดพิธีแห่นาง
แมวขอฝนที่ทาสืบต่อกันมาด้วยความเชื่อที่ว่า หากทาพิธีแห่นางแมวแล้ว อีกไม่ช้าฝนก็จะตกลง
มา
สมัยโบราณนั้น เชื่อกันว่าที่ฝนฟ้ าไม่ตกต้องตามฤดูกาล เกิดความแห้งแล้งไปทั่วนั้น
มีอยู่หลายสาเหตุ เช่น ดินฟ้ าอากาศแปรปรวน ผู้คนย่อหย่อนศีลธรรม ผู้ปกครองไม่อยู่ในทศพิศ
ราชธรรม และที่ใช้แมวแห่เพื่อขอฝนนั้น ก็มาจากความเชื่อกันว่า แมวเป็นสัตว์ที่กลัวฝน กลัวน้า
หากฝนตกเมื่อใดแมวจะร้อง คนโบราณถือเคล็ดว่า ถ้าแมวร้องแสดงว่าฝนกาลังจะตก
บ้างก็เชื่อว่า แมวนั้นเป็นตัวแทนของความแห้งแล้ง หากเมื่อใดแมวถูกสาดน้าจน
เปียกปอนก็เท่ากับเป็นการขับไล่ความแห้งแล้งออกไปจากเมือง เมื่อบ้านเมืองเกิดความแห้งแล้ง
ผิดธรรมชาติ จึงใช้กลอุบายให้แมวร้องออกมา ด้วยการนาแมวมาใส่กระบุงหรือตะกร้าแล้วแห่ไป
รอบๆ หากขบวนแห่ผ่านหน้าบ้านใครก็ให้สาดน้าใส่แมว เพื่อให้แมวร้องออกมา บ้างก็เชื่อว่า
แมวเป็นสัตว์ที่มีอานาจลึกลับสามารถเรียกฝนได้
ประเพณีแห่นางแมว
ด้วยเหตุนี้เมื่อฟ้ าฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล เกษตรกรก็จะนัดหมายเตรียมจัดพิธีแห่
นางแมวขึ้น โดยคัดเลือกแมวลักษณะดีสายพันธุ์สีสวาด เพศเมีย ๑ – ๓ ตัว ใส่กระบุงหรือ
ตะกร้าออกแห่ไปรอบๆ หมู่บ้าน ฝนก็จะตกลงมาภายใน ๓ วัน ๗ วัน สาเหตุที่ต้องเลือกแมวสี
สวาดก็เพราะคนโบราณมองว่าขนสีเทาคล้ายกับสีเมฆฝน บางแห่งอาจจะใช้แมวดาแทน
ประเพณีบุญบั้งไฟ เป็นประเพณีหนึ่งของภาคอีสานของไทยรวมไปถึงลาว โดยมีตานานมาจาก
นิทานพื้นบ้านของภาคอีสานเรื่องพระยาคันคาก เรื่องผาแดงนางไอ่ ซึ่งในนิทางพื้นบ้านดังกล่าวได้
กล่าวถึง การที่ชาวบ้านได้จัดงานบุญบั้งไฟขึ้นเพื่อเป็นการบูชา พระยาแถน หรือเทพวัสสกาล
เทพบุตร ซึ่ง ชาวบ้านมีความเชื่อว่า พระยาแถนมีหน้าที่คอยดูแลให้ฝนตกถูกต้องตามฤดูกาล และมี
ความชื่นชอบไฟเป็นอย่างมาก หากหมู่บ้านใดไม่จัดทาการจัดงานบุญบั้งไฟบูชา ฝนก็จะไม่ตก
ถูกต้องตามฤดูกาล อาจก่อให้เกิดภัยพิบัติกับหมู่บ้านได้
ประเพณีบุญบั้งไฟ
วันเข้าพรรษา ตามประเพณีทางศาสนาแต่เดิม ประชาชนนาเทียนที่หล่อและแกะสลักสวยงามถวาย
พระสงฆ์ เพื่อจุดบูชาระหว่างเข้าพรรษา ต่อมาจัดให้มีการประกวดต้นเทียนพรรษาโดยแบ่งเป็น ๓
ประเภทได้แก่ ประเภทมัดรวมติดลาย ประเภทติดพิมพ์ และประเภทแกะสลัก ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ การ
ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยจัดเป็นงานประจาปีและงานระดับชาติ โดยเพิ่มกิจกรรมและระยะเวลา
การจัดงาน เช่น มีการสมโภชเทียนพรรษาพระราชทาน จัดงานพาแลง แสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นเมือง
และการประกวดธิดาเทียน
ประเพณีแห่เทียนพรรษา
• เพื่อบูชารอยพระพุทธบาทที่ประทับไว้ริมฝั่งแม่น้านัมมทานที ในแคว้นทักษิณาบทประเทศ
อินเดีย
เพื่อบูชาท้าวผกาพรหม
เพื่อขอขมาลาโทษแม่น้าที่เราทาให้สกปรก
เพื่อเอาไฟเผาความทุกข์ให้หมดไปแล้วลอยไปกับแม่น้า
ประเพณีไหลเรือไฟ
ประเพณีวิ่งควาย เป็นงานประเพณีประจาจังหวัดชลบุรี เป็นหนึ่งในประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ของ
จังหวัดชลบุรีที่มีการจัดมากว่า 100 ปีแล้ว ประเพณีวิ่งควาย เป็นประเพณีที่จัดขึ้นเป็นประจาทุกปี
ในวันขึ้น 14 ค่า เดือน11 หรือก่อนออกพรรษา 1 วัน เพื่อเป็นการทาขวัญควายและให้ควายได้
พักผ่อนหลังจากการทานามายาวนาน นอกจากนี้ประเพณีวิ่งควายยังเป็นการแสดงความกตัญญู
รู้คุณต่อควายที่เป็นสัตว์มีบุญคุณต่อชาวนาและคนไทยอีกทั้งยังเพื่อให้ชาวบ้านได้มีโอกาสพักผ่อน
มาพบปะสังสรรค์กันในงานวิ่งควาย
ก็จะนาผลผลิตของตนบรรทุกเกวียนมาขายให้ชาวบ้านร้านตลาดไปพร้อมๆ กัน ต่างคนก็จูง
ควายเข้าเที่ยวตลาดจนกลายมาเป็นการแข่งขันวิ่งควายกันขึ้น และจากการที่ชาวไร่ชาวนาต่างก็พา
กันตกแต่งประดับประดาควายของตนอย่างสวยงามนี่เอง ทาให้เกิดการประกวดประชันความ
สวยงามของควายกันขึ้น พร้อมๆ ไปกับการแข่งขันวิ่งควาย
ประเพณีวิ่งควาย
• ปากน้าประแส เป็นเมืองที่ติดชายทะเลแห่งหนึ่งของจังหวัดระยอง ที่มีประเพณีการทอดผ้าป่าที่แปลก
กว่าที่อื่น ๆ คือ ประเพณีทอดผ้าป่ากลางน้า สืบเนื่องจากชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพประมง ต้องใช้ชีวิตอยู่
ในเรือตลอด เรือจึงเปรียบเสมือนบ้านหลังที่สองของพวกเขา ชาวประมงเวลาอยากทาบุญบ้าน (เรือ) ให้
เป็นสิริมงคล จึงได้มีการจัดทาบุญทอดผ้าป่าขึ้นในเรือ ซึ่งเป็นประเพณีที่มีมานานกว่า 100 ปี จากการ
สอบถามบุคคลเก่าของชุมชนปากน้าประแส เมื่อปี พ.ศ.2534 คือ คุณแม่มณี หวานเสนาะ เกิดปี
พ.ศ.2437 และคุณแม่พวง บุญช่วยรอด เกิดปี พ.ศ.2444 เดิมชาวประแสที่ปลูกบ้านเรือนอยู่ชายหาด
ชายคลองแม่น้าประแส ตั้งอยู่ห่าง ๆ กัน ไม่หนาแน่นนัก มีอาชีพหาปลาโดยวิธีตกเบ็ด ยกยอ ทอดแห ดัก
รอก ฯลฯ ใช้พาหนะเรือแจวบ้าง เรือพายบ้าง ส่วนใหญ่จะนับถือศาสนาพุทธมาแต่บรรพบุรุษ เมื่อมีเงินมี
ทองก็คิดจะทาบุญ ซึ่งชาวประแสจะมีประเพณีอยู่อย่างหนึ่ง เวลาบ้านใดทาบุญบ้าน งานแต่งงาน ต้องมี
การทอดผ้าป่าด้วย ผู้ที่ปลูกบ้านเรือนอยู่ริมแม่น้าลาคลองถ้าจะทาบุญทอดผ้าป่าส่วนมากต้อง อาศัยเรือ
ตัดไม้มาทาพุ่มผ้าป่า ใช้ไม้ไผ่ปักไว้ด้านหัวเรือ-ท้ายเรือ แล้วนิมนต์พระไปสวดมนต์ที่บ้าน เวลาขากลับ
นิมนต์ชักผ้าป่าในเรือ แต่บางแห่งชักผ้าป่าก่อนสวดมนต์ก็มี แต่บางแห่งถึงบ้านชักผ้าป่าก่อนก็มี แต่การ
จัดทาบุญทุกครั้งคราว เข้าใจว่า ด้วยเหตุนี้เองจึงเป็นที่เกิดของ "ประเพณีทอดผ้าป่ากลางน้า" ของชาว
ประแส
ทอดผ้าป่ากลางน้า
ประเพณี ทอดผ้าป่ากลางน้าได้สืบทอดกันมาระยะยาวนานแต่ได้มีการหยุดการจัดไประยะหนึ่ง
เมื่อปี พ.ศ.2484 เนื่องจากเกิดสงครามอินโดจีน แล้วนามาเริ่มจัดใหม่ในปี พ.ศ.2487 ในช่วงแรก ๆ
จะทาพุ่มผ้าป่าไว้บนเรือแล้วนิมนต์พระภิกษุไปชักพุ่มผ้าป่าบนเรือ ต่อมาคณะกรรมการฯ เห็นว่าเป็น
การสร้างความลาบากให้กับพระภิกษุ จึงได้มีการเปลี่ยนแปลงการทาพิธีชักผ้าป่า โดยให้ชาวประมง
มาจัดพุ่มผ้าป่าไว้ตามบ้านแล้วพระภิกษุจับสลากหมายเลขพุ่ม ผ้าป่า และในปัจจุบันได้มีการ
วิวัฒนาการมาเรื่อย ๆ มีการเปลี่ยนแปลงโดยมีการทาแพผ้าป่าไว้กลางแม่น้าประแส พร้อมนิมนต์
พระทาพิธีทอดผ้าป่าบนแพ ส่วนพุ่มผ้าป่าตามบ้านเรือนประชาชนก็คงไว้เหมือนเดิม พระภิกษุจะจับ
สลากหมายเลขพุ่ม แล้วเดินชักพุ่มผ้าป่าตามหมายเลขที่จับได้ และมีการจัดงานมหรสพประมาณ 3-
4 วัน จัดขึ้นทุกปี วันทอดผ้าป่ากลางน้า จะตรงกับวันเพ็ญ เดือนสิบสอง ส่วนวันอื่น ๆ แล้วแต่
คณะกรรมการจัดงานจะกาหนดกันในแต่ละปี
• ประเพณีทาบุญกลางทุ่งมีสองอย่างคือ ทาบุญขอฝน และทาบุญข้าวใหม่หรือทาบุญข้าวหลาม
จัดขึ้นช่วงเดือนสาม หลังเก็บเกี่ยวข้าวในนาแล้ว การทาบุญข้าวใหม่นั้นทาเพื่อรับขวัญข้าวใหม่
ที่เก็บเกี่ยวเสร็จ ถือเป็นงานมงคลประจาหมู่บ้านและเป็นการสร้างขวัญ กาลังใจให้แก่ชาวนา
เมื่อถึงวันงานชาวบ้านจะนิมนต์พระมาสวดมนต์ที่ปะราพิธีกลางทุ่งนา เรียกว่าสวดมนต์เย็น พอ
รุ่งเช้าจะร่วมกันทาบุญตักบาตร แล้วกลับบ้านไปเผาข้าวหลามเตรียมไว้ วันรุ่งขึ้นชาวบ้านจะนา
อาหารและข้าวหลามมาทาบุญ เชื่อว่าเป็นการทาบุญสะเดาะเคราะห์ โดยนาข้าวปลาอาหาร
ขนม และย้าใส่ในกาบหมาก โดยสมมติว่าเป็นเรือ หลังจากพระฉันภัตตาหาร และสวดมนต์แล้ว
ก็นากากหมากออกไปทิ้งไว้ข้างทางเพื่อให้ผีไม่มีญาติได้กินกันตกกลางคืนจะมีมหรสพต่างๆ
เช่น ลิเก ภาพยนตร์ วงดนตรี
ทาบุญกลางทุ่ง
• เป็นการแสดงออกถึงความศรัทธาในพุทธศาสนา ความพร้อมเพรียงในหมู่เครือญาติ ความเป็น
น้าหนึ่งใจเดียวกันในการทาบุญถวายเครื่องใช้จาเป็นสาหรับพระสงฆ์
• ผู้ที่จัดทอดผ้าป่าโจรจะต้องเตรียมผ้าสีขาว ซึ่งมีความยาวหลายหลา สีย้อมกรั๊ก (สีที่ได้จาก
แกนขนุน) เข็ม ด้าย พร้อมทั้งบริวารผ้าป่าขึ้นอยู่กับความศรัทธาของผู้ทอดผ้าป่าโจร ว่าจะมาก
หรือน้อยเพียงใด ในการจัดต้องทากันภายในครอบครัวและญาติพี่น้องที่เคารพนับถือกันเท่านั้น
เวลาทาการทอดผ้าป่าจะทากันเวลาใกล้รุ่งคือก่อนเวลา
ที่พระจะออกบิณฑบาต โดยการนาสิ่งของเครื่องใช้ที่จัดเตรียมไว้ทั้งหมดไปไว้ที่ทางสามแพร่ง
หรือบริเวณเส้นทางที่พระสงฆ์จะออกบิณฑบาต และปักธูปไว้เป็นระยะ ๆ ตั้งแต่กองผ้าป่าไปยัง
บริเวณที่พระออกบิณฑบาตจะมองเห็นได้ชัดเจน หากเป็นที่โล่งเตียนก็ไม่ต้องจุดธูปบอกก็ได้
เมื่อพระรูปใดออกบิณฑบาตตอนเช้ามืดเห็นท่านจะเดินไปยังที่วางกองผ้าป่าท่าน ก็จะทาพิธีชัก
ผ้าป่าพร้อมสวดมนต์ให้พรแก่เจ้าของกองผ้าป่าก็เป็นอันเสร็จพิธี
ทอดผ้าป่าโจร
ภาคใต้
ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ
ประเพณีงานเสด็จพระแข่งเรือประเพณีแห่นางดาน
ประเพณีกวนข้าวอาซูรอประเพณีสารทเดือนสิบ
ประเพณีการแห่นกประเพณีชิงเปรต
ประเพณีชักพระ
ประเพณีผ้าขึ้นธาตุ หมายถึง การนาผ้าผืนยาวขึ้นไปห่มองค์พระบรมธาตุเจดีย์ในวันสาคัญทาง
ศาสนา ชาวนครได้ร่วมมือร่วมใจกันบริจาคเงินตามกาลังศรัทธานาเงินที่ได้ไปซื้อผ้ามาเย็บต่อกัน
เป็นแถวยาวนับพันหลา แล้วจัดเป็นขบวนแห่ผ้าขึ้นห่มพระบรมธาตุเจดีย์ ผ้าที่ขึ้นไปห่มองค์พระบรม
ธาตุเจดีย์เรียกว่า “ผ้าพระบฎ” (หรือ พระบต) นิยมใช้สีขาว สีเหลือง สีแดง สาหรับผ้าสีขาวนิยม
เขียนภาพเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติ เสด็จออกบรรพชา ตรัสรู้ ปฐมเทศนา และ
ปรินิพพาน ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุเป็นเอกลักษณ์ประจาเมืองนครศรีธรรมราช แก่นแท้อยู่ที่การบูชา
พระพุทธเจ้าอย่างใกล้ชิด โดยใช้องค์พระบรมธาตุเจดีย์เป็นตัวแทน
ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ
• ตามตานานประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุมีว่า ในสมัยที่พระเจ้าสามพี่น้อง คือ พระเจ้าศรีธรรมโศกราช
พระเจ้าจันทรภาณุ และพระเจ้าพงษาสุระ กาลังดาเนินการสมโภชพระบรมธาตุอยู่นั้น คลื่นได้
ซัดผ้าแถบยาวชิ้นหนึ่ง ซึ่งมีลายเขียนเรื่องราวพุทธประวัติ (เรียกว่า พระบฎ หรือ พระบต) ขึ้นที่
ชายหาดปากพนัง จึงนาผ้าผืนนั้นไปถวายพระเจ้าศรีธรรมโศกราช พระองค์จึงรับสั่งให้ซักจน
สะอาด แต่ลายเขียนพุทธประวัติก็ไม่ลบเลือนยังคงสมบูรณ์ดีทุกประการ จึงรับสั่งให้ประกาศหา
เจ้าของ ได้ความว่าชาวพุทธกลุ่มหนึ่ง จะเดินทางไปลังกา เพื่อนาพระบฎไปถวายเป็นพุทธบูชา
พระทันตธาตุ คือ พระเขี้ยวแก้ว แต่เรือถูกมรสุมซัดแตกที่ชายฝั่งเมืองนครมีรอดชีวิต 10 คน
ส่วนพระบฏถูกคลื่นซัดขึ้นฝั่งปากพนัง พระเจ้าศรีธรรมโศกราชทรงพิจารณาเห็นว่าควรจะนาขึ้น
ไปห่มพระบรมธาตุเจดีย์เนื่องในโอกาสสมโภชพระบรมธาตุ เจ้าของพระบฎที่รอดชีวิตก็ยินดี
ด้วย จึงโปรดให้ชาวเมืองนครจัดเครื่องประโคมแห่แหนผ้าห่มโอบฐานพระบรมธาตุเจดีย์ จึงเป็น
ประเพณีประจาเมืองนครสืบมาจนทุกวันนี้
ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้มีการแห่ผ้าขึ้นธาตุในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 6 คือ
วันวิสาขบูชา เรียกว่า “แห่พระบฎขึ้นธาตุ” มีการเวียนเทียนรอบองค์พระบรมธาตุ ต่อมาในสมัย
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดให้มีการแห่ผ้าขึ้นธาตุ ในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 3 คือ
วันมาฆบูชา เพื่อให้พุทธศาสนิกชนที่อยู่ห่างไกลหรือไม่มีโอกาสกระทาพุทธบูชาในวันวิสาขบูชาได้มี
โอกาสแห่ผ้าขึ้นธาตุในวันมาฆบูชาตามศรัทธาด้วย ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุของเมืองนครจึงมีปีละ 2
ครั้ง คือ ในวันเพ็ญเดือน 3 (วันมาฆบูชา) และในวันเพ็ญเดือน 6 (วันวิสาขบูชา) สืบมาจนทุกวันนี้
เดิมการแห่ผ้าขึ้นธาตุกระทากันโดยพร้อมเพรียงเป็นขบวนที่เอิกเกริกเพียงขบวนเดียว ต่อมา
ประชาชนมาจากหลายทิศหลายทาง แต่ละคนต่างเตรียมผ้ามาเองทาให้การแห่ผ้าขึ้นธาตุไม่พร้อม
เพรียงเป็นขบวนเดียวกัน เพราะใครจะแห่ผ้าขึ้นธาตุในเวลาใดก็ได้ตามสะดวกตลอดทั้งวัน เมื่อ
ขบวนแห่มาถึงวัดพระบรมธาตุวรมหาวิหาร ก็แห่ทักษิณาวัตรรอบองค์พระบรมธาตุเจดีย์ 3 รอบ แล้ว
นาผ้าเข้าสู่วิหารม้า ซึ่งมีบันไดขึ้นสู่ลานภายในกาแพงแก้วล้อมฐานพระบรมธาตุเจดีย์ เพื่อนาผ้าขึ้น
ห่มโอบฐานพระบรมธาตุเจดีย์ซึ่งบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ถือว่าเป็นการบูชาพระพุทธเจ้าอย่าง
ใกล้ชิด
• ประเพณีชักพระ บางท้องถิ่นเรียกว่า "ประเพณีลากพระ " เป็นประเพณีพื้นเมืองของชาวภาคใต้ ได้มี
การสืบทอดกันมาตั้งแต่สมัย
• ศรีวิชัย โดยสันนิษฐานว่าได้เกิดมีขึ้นครั้งแรกในประเทศอินเดีย มีพุทธตานานเล่าขานสืบทอดกันมา
ว่า เมื่อพระพุทธเจ้าทรงผนวชได้ 7
• พรรษา และ พรรษาที่ 7 นั้นได้เสด็จไปจาพรรษา ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ครั้นออกพรรษาแล้ว ยามเช้า
ของแรม 1 ค่า เดือน 11 ได้เสด็จกลับ
• มายังโลกมนุษย์ ในการนี้พุทธบริษัททั้ง 4 ประกอบด้วย ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก และ อุบาสิกา ซึ่งรอ
คอยพระพุทธองค์มาเป็นเวลานานถึง 3
• เดือน ครั้นทราบว่า พระพุทธเจ้าเสด็จกลับ จึงได้รับเสด็จและได้นาภัตตาหารคาวหวานไปถวายด้วย
ผู้ไปทีหลังนั่งไกล ไม่สามารถเข้าไป
ประเพณีชักพระ
• ถวายภัตตาหารด้วยตัวเองได้ จึงใช้ใบไม้ห่ออาหารและส่งผ่านชุมชนต่อๆกันไป เพื่อขอความ
อนุเคราะห์ต่อผู้นั่งใกล้ๆ ถวายแทน บุญ
• ประเพณีลากพระ จึงมีขนมต้มหรือที่เรียกตามภาษาถิ่นว่า "ต้ม" เป็นขนมประจาประเพณีทา
ด้วยข้าวเหนียว ห่อด้วยใบไม้อ่อนๆ เช่น ใบจาก
• ใบลาน ใบตาล ใบมะพร้าว หรือ ใบกะพ้อ เป็นต้น
• ประเพณีชักพระของชาวภาคใต้มีอยู่ 2 ลักษณะ คือ ลากพระทางบก กับ ลากพระทางน้า
• ชิงเปรต เป็นประเพณีของภาคใต้ที่ทากันในวันสารทเดือนสิบ เป็นประเพณีที่ดารงอยู่บนความ
เชื่อของการนับถือผีบรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้วหากยังมีบาปอยู่จะกลายเป็นเปรตในนรกปีหนึ่ง
จะถูกปล่อยให้มาเมืองมนุษย์ 15 วัน โดยมาในวันแรม 1 ค่า เดือน 10 ซึ่งถือว่าเป็นวัน "รับเปรต"
หรือวันสารทเล็ก ลูกหลานต้องเตรียมขนมมาเลี้ยงดูให้อิ่มหมีพีมันและฝากกลับเมืองเปรตในวัน
แรม 15 ค่า เดือน 10 นั่นคือวันส่งเปรตกลับคืนเมืองเรียกกันว่าวันสารทใหญ่
• ผู้เฒ่าผู้แก่หลายคนได้ยืนยันว่าการชิงเปรตไม่เป็นความอัปมงคลแก่ผู้ชิงเปรตแต่อย่างใด ในทาง
ตรงกันข้ามกลับถือว่าเป็นการได้บุญเพราะเชื่อกันว่าลูกหลานของเปรตใดชิงได้ เปรตตนนั้นย่อม
ได้รับส่วนบุญนั้น
• พิธีกรรมการตั้งเปรตและชิงเปรตจะกระทากันในวันยกหมฺรับไปวัดหลักๆก็จะเป็นขนมพอง ขนม
ลา ขนมเบซา (ดีซา) นอกจากนี้ก็อาจจะมีเป็นผลไม้หรืออาหารแห้งอื่นๆที่บรรพบุรุษที่เป็นเปรต
ชอบไปวางรวมกันไว้บน "ร้านเปรต" หลังจากที่พระสงฆ์ได้ทาพิธีกรรมและกาลังฉันเพล ชาวบ้าน
ก็จะออกมาตักบาตรข้าวสวยและเริ่มชิงเปรตกันซึ่งขั้นตอนนี้ก็จะมีทั้งความชุลมุนและความ
สนุกสนานผสมกันเป็นที่เฮฮาของบรรดาผู้ที่มาชิงเปรต
ประเพณีชิงเปรต
• ประเพณีการแห่นก เป็นประเพณีการทางพื้นเมืองของจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยเฉพาะที่
นราธิวาส ซึ่งได้มีการกระทาสืบเนื่องกันมาเป็นเวลานาน เป็นประเพณีนิยมที่ไม่เกี่ยวข้องกับทาง
ศาสนา ไม่เป็นประเพณีตามนักขัตฤกษ์ แต่จัดขึ้นเป็นครั้งคราวตามโอกาส เพื่อความสนุกรื่นเริง
เป็นการแสดงออกเกี่ยวกับการใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในศิลปะและอาจจัดขึ้นในการแสดง
ความคารวะ แสดงความจงรักภักดี แก่ผู้ใหญ่ที่ควรเคารพนับถือ หรือในโอกาสต้อนรับแขกเมือง
บางทีอาจจัดขึ้นเพื่อความรื่นเริงในพิธีการเข้าสุนัต หรือที่เรียกว่า "มาโซยาวี" หรือจัดขึ้นเพื่อ
ประกวดเป็นครั้งคราว นกที่นิยมทาขึ้นเพื่อการแห่มีเพียง ๔ ตัว คือ
๑. นกกาเฆาะซูรอหรือ นกกากะสุระ นกชนิดนี้ตามสันนิษฐานคือ "นกการเวก" เป็นนกสวรรค์ที่
สวยงามและบินสูงเทียมเมฆการประดิษฐ์มักจะตบแต่งให้มีหงอนสูงแตกออกเป็น ๔ แฉก นก
ชนิดนี้ชาวพื้นเมืองเรียกว่า "นกทูนพลู" เพราะบนหัวมีลักษณะคล้ายบายศรีพลู และมีการทาให้
แปลกจากนกธรรมดา เพราะเป็นนกสวรรค์
๒. นกกรุดา หรือ นกครุฑ มีลักษณะคล้ายกับครุฑ เชื่อกันว่านกชนิดนี้มีอาถรรพ์ ผู้ทามักเกิด
อาเพศ มักเจ็บไข้ได้ป่วย ในปัจจุบันจึงไม่นิยมจัดทานกชนิดนี้ในขบวรแห่
ประเพณีการแห่นก
๓. นกบือเฆาะมาศ หรือนกยูงทอง มีลักษณะคล้ายกับนกกาเฆาะวูรอ มีหงอน สวยงามเป็นพิเศษ ชาว
ไทยมุสลิมยกย่องนกยูงทองมาก และไม่ยอมบริโภคเนื้อ เพราะเป็นนกที่รักขน การประดิษฐ์ตกแต่งรูป
นกพญายูงทองนั้น จึงมีการตกแต่งที่ประณีตถี่ถ้วนใช้เวลามาก
๔. นกบุหรงซีงอ หรือนกสิงห์ มีรูปร่างคล้ายราชสีห์ ตามคตินกนี้มีหัวเป็นนก แต่ตัวเป็นราชสีห์ ปากมี
เขี้ยวงาน่าเกรงขาม
ช่วงเวลาในการจัดประเพณีการแห่นก
ในการแห่นกนั้นได้มีการจัดขึ้น ในโอกาสต่าง ๆ เพื่อความสนุกสนานรื่นเริง หรือในโอกาสการต้อนรับ
แขกเมืองของชาวนราธิวาส และยังจัดในพิธีการเข้าสุหยัด
พิธีกรรมในการแห่นก
ประเพณีการแห่นกนั้น สันนิษฐานว่า จะมีพิธีกรรมบางอย่าง เช่น การตั้งพิธีสวดมนต์ตามวิธีการทาง
ไสยศาสตร์ เพื่อขับไล่หรือขจัดปัดเป่าทุกข์โศกโรคภัย ให้หมดสิ้นไปให้มีความสุข ความเจริญก้าวหน้า
สาระของประเพณีการแห่นก
ประเพณีการแห่นกนั้นนอกจากที่ให้ความสนุกสนานแล้ว ยังให้คติ ความเชื่อ ความรัก ความสามัคคี
และความเชื่อในการยึดเหนี่ยวจิตใจของผู้ร่วมพิธีในการปัดเป่าสิ่งชั่วร้ายต่าง ๆ และเป็นการอนุรักษ์ให้
ประเพณีแห่นกยังคงอยู่สืบเนื่องต่อไป
• ประเพณีสารทเดือนสิบ เป็นงานบุญประเพณีของคนภาคใต้ของประเทศไทย โดยเฉพาะชาว
นครศรีธรรมราช ที่ได้รับอิทธิพลด้านความเชื่อซึ่งมาจากทางศาสนาพราหมณ์ โดยมีการ
ผสมผสานกับความเชื่อทางพระพุทธศาสนาเข้ามาในภายหลัง โดยมีจุดมุ่งหมายสาคัญเพื่อเป็น
การอุทิศส่วนกุศลให้แก่ดวงวิญญาณของบรรพชนและญาติที่ล่วงลับ ซึ่งได้รับการปล่อยตัวมา
จากนรกที่ตนต้องจองจาอยู่เนื่องจากผลกรรมที่ตนได้เคยทาไว้ตอนที่ยังมีชีวิตอยู่ โดยจะเริ่ม
ปล่อยตัวจากนรกในทุกวันแรม 1 ค่าเดือน 10 เพื่อมายังโลกมนุษย์โดยมีจุดประสงค์ในการมา
ขอส่วนบุญจากลูกหลานญาติพี่น้อง ที่ได้เตรียมการอุทิศไว้ให้เป็นการแสดงความกตัญญูกตเวที
ต่อผู้ล่วงลับ หลังจากนั้นก็จะกลับไปยังนรก ในวันแรม 15 ค่า เดือน 10
• ช่วงระยะเวลาในการประกอบพิธีกรรมของประเพณีสารทเดือนสิบจะมีขึ้นในวันแรม 1 ค่าถึงแรม
15 ค่าเดือนสิบของทุกปีแต่สาหรับวันที่ชาวใต้มักจะ นิยมทาบุญกันมากคือวันแรม 13-15 ค่า
ประเพณีวันสารทเดือนสิบโดยในส่วนใหญ่แล้วจะตรงกับเดือนกันยายน
ประเพณีสารทเดือนสิบ
• การกวนข้าวอาซูรอ (ขนมอาซูรอ) เป็นประเพณีท้องถิ่นของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ คาว่า อาซูรอ เป็นภาษาอาหรับ แปลว่า การผสม การรวมกัน คือการนาสิ่งของที่
รับประทานได้หลายสิ่งหลายอย่างมากวนรวมกัน มีทั้งชนิดคาวและหวาน การกวนข้าวอาซูรอ
จะใช้คนในหมู่บ้านมาช่วยกันคนละไม้คนละมือ เพื่อความสามัคคีและสร้างความพร้อมเพรียง
เป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน อันมีผลต่อการอยู่ร่วมกันของสังคมอย่างมีความสุข ก่อนจะแจกจ่ายให้
รับประทานกัน เจ้าภาพจะเชิญบุคคลที่นับถือของชุมชนขึ้นมากล่าวขอพร (ดูอา) ก่อน จึงจะแจก
ให้คนทั่วไปรับประทานกัน
ประเพณีกวนข้าวอาซูรอ
• พิธีแห่นางดาน คาว่านางดาน หรือนางกระดาน หมายถึงแผ่นไม้กระดานขนาดกว้างหนึ่งศอกสูง
สี่ศอก ที่วาดหรือแกะสลักรูปเทพบริวารในคติพราหมณ์ จานวน 3 องค์ แผ่นแรก คือ พระอาทิตย์
พระจันทร์ แผ่นที่สองคือแม่พระธรณี แผ่นที่สามคือพระแม่คงคา เพื่อใช้ในขบวนแห่เพื่อรอรับ
เสด็จพระอิศวรที่เสด็จมาเยี่ยมมนุษย์โลก ณ เสาชิงช้า
• เชื่อกันว่าการเสด็จมาเยี่ยมมนุษย์โลกเพื่อประสาทพรให้เกิดความสงบสุข ให้เกิดน้าท่าอุดม
สมบูรณ์ และช่วยคุ้มครองมนุษย์โลกให้ปลอดภัย ซึ่งตามความเชื่อการเสด็จลงมาของพระอิศวร
จะต้องเสด็จลงมาในเดือนอ้าย ซึ่งเป็นปีใหม่ของชาวพราหมณ์ฮินดู เพื่อให้ประเพณีแห่นางดาน
เป็นที่รู้จักและคงไว้ซึ่ง่ประเพณีเก่าแก่ของเมืองนครศรีธรรมราชและกาเนิดขึ้นเป็นแห่งแรกใน
เมืองไทย
• ปัจจุบัน ประเพณีแห่นางดาน จัดขึ้นในวันที่ 14 เมษายน ของทุกปี โดยมีขบวนแห่นางดานจาก
สนามหน้าเมืองมายังหอพระอิศวร การแสดงแสง สี เสียง ตานานนางดานและเทพเจ้าที่
เกี่ยวข้อง การจาลองพิธีแห่นางดาน และการโล้ชิงช้า ซึ่งเป็นการโล้ชิงช้านอกเขตเมืองหลวงแห่ง
เดียวของไทยในปัจจุบัน โดยเทศบาลนครนครศรีธรรมราชเป็นผู้รับผิดชอบ และถือเป็นกิจกรรม
สาคัญในปฏิทินการท่องเที่ยวเทศกาลสงกรานต์ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยอีกด้วย
ประเพณีแห่นางดาน
งานเสด็จพระแข่งเรือเป็นงานประเพณีที่สาคัญของอาเภอกระบุรี จังหวัดระนอง ซึ่งจัดขึ้นในช่วงออก
พรรษของทุกปี ประมาณเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน คือตั้งแต่วันแรม ๑ ค่า เดือน ๑๑ ถึงวัน
แรม ๓ ค่า เดือน ๑๑ ของทุกปี ณ บริเวณแม่น้ากระบุรี ในช่วงคอคอดกระ
เป็นประเพณีที่ชาวอาเภอกระบุรีจะร่วมกันตกแต่งเรืออย่างสวยงาม เพื่อไปพายกันในแม่น้ากระบุรี
มีการประกวดเรือประเภทต่าง ๆ งานเสด็จพระแข่งเรือจัดขึ้นมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๕๐ โดยสืบทอด
ประเพณีมาจากทางใต้
ประเพณีงานเสด็จพระแข่งเรือ
บรรณานุกรม
www.prapayneethai.com
www.ประเพณีไทยๆ.com/category
https://www.facebook.com/Wansamkhankh
ongThai
http://th.wikipedia.org/wiki/รายชื่อประเพณีไทย
ผู้จัดทา
1.นายสันติ ไผ่ทอง ชั้น ม.6/5 เลขที่ 24
2.นายยศพัทธ์ อินถอด ชั้น ม.6/5 เลขที่ 45

More Related Content

What's hot

กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3Mam Chongruk
 
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมbankfai1330
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Sudarat Ngonroth
 
การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงKroo Naja Sanphet
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการkrupeem
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตsripayom
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
แนวเฉลยชีววิทยาPAT2ตุลาคม2559
แนวเฉลยชีววิทยาPAT2ตุลาคม2559แนวเฉลยชีววิทยาPAT2ตุลาคม2559
แนวเฉลยชีววิทยาPAT2ตุลาคม2559Wichai Likitponrak
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามPadvee Academy
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี นายจักราวุธ คำทวี
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะอุษณีษ์ ศรีสม
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนNongruk Srisukha
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2Weerachat Martluplao
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาOhm Tarit
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)WoraWat Somwongsaa
 

What's hot (20)

กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
กำหนดการจัดการเรียนรู้วิชาวิทยาศาสตร์ ป.3
 
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรมตัวอย่างชุดกิจกรรม
ตัวอย่างชุดกิจกรรม
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงการบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
การบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
6.1 การผลิตสินค้าและบริการ
 
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิตแบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
แบบฝึกทักษะวิชาวิทยาศาสตร์ป.1สิ่งมีชีวิต
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
แนวเฉลยชีววิทยาPAT2ตุลาคม2559
แนวเฉลยชีววิทยาPAT2ตุลาคม2559แนวเฉลยชีววิทยาPAT2ตุลาคม2559
แนวเฉลยชีววิทยาPAT2ตุลาคม2559
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะบทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
บทสวดมนต์แปลภาษาไทยและภาษาอังกฤษ 7 บทสำหรับแข่งทักษะ
 
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวนการจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
การจัดการเรียนรู้แบบสืบสวนสอบสวน
 
ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2ข้อสอบโครงงาน ม 2
ข้อสอบโครงงาน ม 2
 
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายสำหรับเด็กไทยอายุ 7-18 ปี โดย กรมพลศึกษา
 
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชาคำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาและโครงสร้างรายวิชา
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
 

Viewers also liked

АЙ ЛАЙК ПРОДАКШН
АЙ ЛАЙК ПРОДАКШНАЙ ЛАЙК ПРОДАКШН
АЙ ЛАЙК ПРОДАКШНVaeri
 
Economics objectivequestionbank-100528201411-phpapp02
Economics objectivequestionbank-100528201411-phpapp02Economics objectivequestionbank-100528201411-phpapp02
Economics objectivequestionbank-100528201411-phpapp02kilar
 
Diapositivas taller 007 312 s
Diapositivas taller 007 312 sDiapositivas taller 007 312 s
Diapositivas taller 007 312 scaluxita
 
Il clima di investimento, giuridico e fiscale nei paesi dell’Unione doganale...
Il clima di investimento, giuridico e fiscale  nei paesi dell’Unione doganale...Il clima di investimento, giuridico e fiscale  nei paesi dell’Unione doganale...
Il clima di investimento, giuridico e fiscale nei paesi dell’Unione doganale...FrancescoBoccia
 
АЙ ЛАЙК ПРОДАКШН
АЙ ЛАЙК ПРОДАКШНАЙ ЛАЙК ПРОДАКШН
АЙ ЛАЙК ПРОДАКШНVaeri
 
Applying read on tab 4
Applying read on tab 4Applying read on tab 4
Applying read on tab 4Mark Roberts
 
The Role of UA in UX (and Vice Versa): Putting the User in User Assistance
The Role of UA in UX (and Vice Versa): Putting the User in User AssistanceThe Role of UA in UX (and Vice Versa): Putting the User in User Assistance
The Role of UA in UX (and Vice Versa): Putting the User in User AssistanceSteve Stegelin
 
My secret planet
My secret planetMy secret planet
My secret planetNayjah
 
Guitar Tone Analyzer and Note Plotter Presentation
Guitar Tone Analyzer and Note Plotter PresentationGuitar Tone Analyzer and Note Plotter Presentation
Guitar Tone Analyzer and Note Plotter PresentationWilliam Fackelman
 
Vertical Take off and Landing drone
Vertical Take off and Landing droneVertical Take off and Landing drone
Vertical Take off and Landing droneVadym Melnyk
 
History Competition Student Example
History Competition Student ExampleHistory Competition Student Example
History Competition Student ExampleGeorge Ramirez
 
Onet'53 วิทย์
Onet'53 วิทย์Onet'53 วิทย์
Onet'53 วิทย์naaikawaii
 
Integrating technology into the classroom
Integrating technology into the classroomIntegrating technology into the classroom
Integrating technology into the classroomTammiRice
 
Viviana Cristiglio (May 27th 2014)
Viviana Cristiglio (May 27th 2014)Viviana Cristiglio (May 27th 2014)
Viviana Cristiglio (May 27th 2014)Roadshow2014
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3naaikawaii
 
Dronhub.net presentation
Dronhub.net presentationDronhub.net presentation
Dronhub.net presentationVadym Melnyk
 
Applying read on tab 4
Applying read on tab 4Applying read on tab 4
Applying read on tab 4Mark Roberts
 

Viewers also liked (20)

Digital citizenship
Digital citizenshipDigital citizenship
Digital citizenship
 
АЙ ЛАЙК ПРОДАКШН
АЙ ЛАЙК ПРОДАКШНАЙ ЛАЙК ПРОДАКШН
АЙ ЛАЙК ПРОДАКШН
 
Economics objectivequestionbank-100528201411-phpapp02
Economics objectivequestionbank-100528201411-phpapp02Economics objectivequestionbank-100528201411-phpapp02
Economics objectivequestionbank-100528201411-phpapp02
 
Diapositivas taller 007 312 s
Diapositivas taller 007 312 sDiapositivas taller 007 312 s
Diapositivas taller 007 312 s
 
Il clima di investimento, giuridico e fiscale nei paesi dell’Unione doganale...
Il clima di investimento, giuridico e fiscale  nei paesi dell’Unione doganale...Il clima di investimento, giuridico e fiscale  nei paesi dell’Unione doganale...
Il clima di investimento, giuridico e fiscale nei paesi dell’Unione doganale...
 
АЙ ЛАЙК ПРОДАКШН
АЙ ЛАЙК ПРОДАКШНАЙ ЛАЙК ПРОДАКШН
АЙ ЛАЙК ПРОДАКШН
 
Applying read on tab 4
Applying read on tab 4Applying read on tab 4
Applying read on tab 4
 
The Role of UA in UX (and Vice Versa): Putting the User in User Assistance
The Role of UA in UX (and Vice Versa): Putting the User in User AssistanceThe Role of UA in UX (and Vice Versa): Putting the User in User Assistance
The Role of UA in UX (and Vice Versa): Putting the User in User Assistance
 
My secret planet
My secret planetMy secret planet
My secret planet
 
Guitar Tone Analyzer and Note Plotter Presentation
Guitar Tone Analyzer and Note Plotter PresentationGuitar Tone Analyzer and Note Plotter Presentation
Guitar Tone Analyzer and Note Plotter Presentation
 
Vertical Take off and Landing drone
Vertical Take off and Landing droneVertical Take off and Landing drone
Vertical Take off and Landing drone
 
History Competition Student Example
History Competition Student ExampleHistory Competition Student Example
History Competition Student Example
 
Onet'53 วิทย์
Onet'53 วิทย์Onet'53 วิทย์
Onet'53 วิทย์
 
The aircraft The parts
The aircraft The partsThe aircraft The parts
The aircraft The parts
 
Integrating technology into the classroom
Integrating technology into the classroomIntegrating technology into the classroom
Integrating technology into the classroom
 
Uperc draft regulation on dsm
Uperc draft regulation on dsmUperc draft regulation on dsm
Uperc draft regulation on dsm
 
Viviana Cristiglio (May 27th 2014)
Viviana Cristiglio (May 27th 2014)Viviana Cristiglio (May 27th 2014)
Viviana Cristiglio (May 27th 2014)
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
Dronhub.net presentation
Dronhub.net presentationDronhub.net presentation
Dronhub.net presentation
 
Applying read on tab 4
Applying read on tab 4Applying read on tab 4
Applying read on tab 4
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค

ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนThammasat University
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือtonsocial
 
ประเพณีชิงเปรต
ประเพณีชิงเปรตประเพณีชิงเปรต
ประเพณีชิงเปรตThanathip Wongsin
 
บทเรียนที่๒
บทเรียนที่๒บทเรียนที่๒
บทเรียนที่๒jutby
 
จักรใด ขับดันยุคไอที
จักรใด ขับดันยุคไอทีจักรใด ขับดันยุคไอที
จักรใด ขับดันยุคไอทีnsumato
 
พระจันทร์
พระจันทร์พระจันทร์
พระจันทร์Sunflower_aiaui
 
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...tie_weeraphon
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองThammasat University
 
บุญบั้งไฟ
บุญบั้งไฟบุญบั้งไฟ
บุญบั้งไฟKruRatchy
 
วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์
วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์
วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์Maname Wispy Lbe
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค (20)

ประเพณีของจีน
ประเพณีของจีนประเพณีของจีน
ประเพณีของจีน
 
Heat12
Heat12Heat12
Heat12
 
งานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนืองานสังคม ภาคเหนือ
งานสังคม ภาคเหนือ
 
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระเทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
 
Heet+sib+song
Heet+sib+songHeet+sib+song
Heet+sib+song
 
ประเพณีชิงเปรต
ประเพณีชิงเปรตประเพณีชิงเปรต
ประเพณีชิงเปรต
 
บทเรียนที่๒
บทเรียนที่๒บทเรียนที่๒
บทเรียนที่๒
 
ตรุษจีน
ตรุษจีนตรุษจีน
ตรุษจีน
 
ประเพณีภาคอีสาน
ประเพณีภาคอีสานประเพณีภาคอีสาน
ประเพณีภาคอีสาน
 
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาวประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
ประเพณีและวัฒนธรรม 5 ภาค สีขาว
 
ฮารีรายอ
ฮารีรายอฮารีรายอ
ฮารีรายอ
 
วั
วัวั
วั
 
จักรใด ขับดันยุคไอที
จักรใด ขับดันยุคไอทีจักรใด ขับดันยุคไอที
จักรใด ขับดันยุคไอที
 
พระจันทร์
พระจันทร์พระจันทร์
พระจันทร์
 
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ  อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
ประเพณีผีตาโขน งานนำเสนอ อาจารย์ ณัฐนันท์ สีดาแก้ว ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและ...
 
พระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากองพระธาตุชเวดากอง
พระธาตุชเวดากอง
 
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้งแผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
แผ่นพับ พระธาตุดอยอ่างกุ้ง
 
บุญบั้งไฟ
บุญบั้งไฟบุญบั้งไฟ
บุญบั้งไฟ
 
Saeng Dhamma in May 2010
Saeng Dhamma in May 2010Saeng Dhamma in May 2010
Saeng Dhamma in May 2010
 
วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์
วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์
วันลอยกระทง นางสาว นพรรษมล บุญเพชร รหัส 5421302216 ออกแบบประยุกต์ศิลป์
 

More from Walk4Fun

โครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาคโครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาคWalk4Fun
 
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์Walk4Fun
 
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์Walk4Fun
 
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์Walk4Fun
 
โครงงาน สายพันธุ์ของแมว
โครงงาน สายพันธุ์ของแมวโครงงาน สายพันธุ์ของแมว
โครงงาน สายพันธุ์ของแมวWalk4Fun
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Walk4Fun
 
M6 science-2551
M6 science-2551M6 science-2551
M6 science-2551Walk4Fun
 
M6 thai-2551
M6 thai-2551M6 thai-2551
M6 thai-2551Walk4Fun
 
M6 social-2551
M6 social-2551M6 social-2551
M6 social-2551Walk4Fun
 
M6 pe-art-voca-2551
M6 pe-art-voca-2551M6 pe-art-voca-2551
M6 pe-art-voca-2551Walk4Fun
 
M6 math-2551
M6 math-2551M6 math-2551
M6 math-2551Walk4Fun
 
M6 eng-2551
M6 eng-2551M6 eng-2551
M6 eng-2551Walk4Fun
 
Key onet52 m6
Key onet52 m6Key onet52 m6
Key onet52 m6Walk4Fun
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6/5 40
ใบงานสำรวจตนเอง M6/5 40ใบงานสำรวจตนเอง M6/5 40
ใบงานสำรวจตนเอง M6/5 40Walk4Fun
 

More from Walk4Fun (14)

โครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาคโครงงานประเพณีสี่ภาค
โครงงานประเพณีสี่ภาค
 
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์
 
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์
 
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิมเตอร์
 
โครงงาน สายพันธุ์ของแมว
โครงงาน สายพันธุ์ของแมวโครงงาน สายพันธุ์ของแมว
โครงงาน สายพันธุ์ของแมว
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
M6 science-2551
M6 science-2551M6 science-2551
M6 science-2551
 
M6 thai-2551
M6 thai-2551M6 thai-2551
M6 thai-2551
 
M6 social-2551
M6 social-2551M6 social-2551
M6 social-2551
 
M6 pe-art-voca-2551
M6 pe-art-voca-2551M6 pe-art-voca-2551
M6 pe-art-voca-2551
 
M6 math-2551
M6 math-2551M6 math-2551
M6 math-2551
 
M6 eng-2551
M6 eng-2551M6 eng-2551
M6 eng-2551
 
Key onet52 m6
Key onet52 m6Key onet52 m6
Key onet52 m6
 
ใบงานสำรวจตนเอง M6/5 40
ใบงานสำรวจตนเอง M6/5 40ใบงานสำรวจตนเอง M6/5 40
ใบงานสำรวจตนเอง M6/5 40
 

โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง-ประเพณีไทยสี่ภาค

  • 4. เป็นประเพณีลอยกระทงแบบล้านนา โดยคาว่า ยี่ แปลว่า สอง ส่วน เป็ง แปลว่า เพ็ญ หรือ คืน พระจันทร์เต็มดวง ซึ่งหมายถึงประเพณีในวันเพ็ญเดือนสองของชาวล้านนา ซึ่งตรงกับเดือนสิบ สองของไทยงานประเพณีจะมีสามวันคือ วันขึ้นสิบสามค่า หรือ วันดา เป็นวันซื้อของเตรียมไปทาบุญที่วัด วันขึ้นสิบสี่ค่า จะไปทาบุญกันที่วัด พร้อมทากระทงใหญ่ไว้ที่วัดและนาของกินมาใส่กระทงเพื่อ ทาทานให้แก่คนยากจน วันขึ้นสิบห้าค่า จะนากระทงใหญ่ที่วัดและกระทงเล็กส่วนตัวไปลอยในลาน้า ประเพณียี่เป็ง
  • 5. ในช่วงวันยี่เป็งจะมีการประดับตกแต่งวัด บ้านเรือน ทาประตูป่า ด้วยต้นกล้วย ต้นอ้อย ทางมะพร้าว ดอกไม้ ตุง ช่อประทีป และชักโคมยี่เป็งแบบต่าง ๆ ขึ้นเป็นพุทธบูชา และมีการจุด ถ้วยประทีป (การจุดผางปะตี๊บ) เพื่อบูชาพระรัตนตรัย และมีการจุดโคมลอยปล่อยขึ้นสู่ท้องฟ้ า เพื่อบูชาพระเกตุแก้วจุฬามณีบนสรวงสวรรค์ชั้นดาวดึงส์
  • 6. เป็นประเพณีที่ชาวเพชรบุรณ์ร่วมกันจัดขึ้น โดยมีตานานเล่าว่าเมื่อประมาณ 400 ปีที่ผ่านมามี ชาวบ้านกลุ่มหนึ่งมีอาชีพหาปลาขาย และได้ไปหาปลาที่แม่น้าป่าสักเป็นประจาทุกวัน อยู่มาวัน หนึ่งก็ได้เกิดเรื่องที่ไม่มีใครให้คาตอบได้ว่า เกิดอะไรขึ้นเพราะวันนั้น ไม่มีใครจับปลาได้สักตัว จากนั้นก็เกิดเหตุการณ์ประหลาดขึ้นตรงบริเวณ วังมะขามแฟบ (ไม้ระกา) ซึ่งปกติบริเวณนี้น้า จะไหลเชี่ยวมาก จู่ ๆ น้าก็หยุดไหล และมีพลายน้าผุดขึ้นมา แล้วพระพุทธรูปก็ผลุดขึ้นมาด้วย ชาวบ้านจึงได้อัญเชิญพระพุทธรูปองค์ดังกล่าว ขึ้นจากน้าและนาไปประดิษฐานไว้ที่วัดไตรภูมิ เป็นพระพุทธรูปคู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดเพชรบูรณ์ ประเพณีอุ้มพระดาน้า
  • 7. จนกระทั่งถึงวันสารทไทยหรือ วันแรม 15 ค่าเดือนสิบ พระพุทธรูปองค์ดังกล่าว (พระพุทธมหา ธรรมราชา) ก็ได้หายไปจากวัด ชาวบ้านจึงช่วยกันตามหาและเจอพระพุทธรูป อยู่บริเวณวัง มะขามแฟบ จากนั้นเป็นต้นมา พอถึงวันแรม 15 ค่าเดือน 10 ชาวจังหวัดเพชรบูรณ์ ก็จะจัดงาน ซึ่งเรียกว่า “อุ้มพระดาน้า” ตั้งแต่วันที่ 19 กันยายน พ.ศ. 2522 เป็นต้นมา
  • 8. มีอีกชื่อหนึ่งว่า งานบวชลูกแก้ว เป็นงานที่จัดเพื่อทาการบรรพชาเป็นสามเณรในพระพุทธศาสนา โดยจะพบเห็นการจัดปอยส่างลองกันมากที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยเฉพาะในเขตอาเภอเมือง อาเภอขุนยวม และอาเภอปาย คนส่วนใหญ่ที่เข้าร่วมประเพณีนี้ก็สืบเชื้อสายมาจากไทใหญ่ ซึ่ง ก็ได้ร่วมกันสืบทอดงานประเพณีนี้มาเป็นเวลาช้านาน ดังปรากฏว่าหลักฐานว่าประเพณีนี้มีมา ตั้งแต่มีการสร้างแปลนเมืองแม่ฮ่องสอน ซึ่งก็ ได้มีการจัดงานอย่างยิ่งใหญ่ทุกๆปี เนื่องจากเป็น ประเพณีที่สาคัญทางศาสนา และเป็นเอกลักษณ์ของจังหวัด ประเพณีปอยส่างลอง
  • 9. เป็นประเพณีหนึ่งของคนในภาคเหนือที่สืบทอดกันมาเป็นเวลานาน การตานขันข้าวคือการทาบุญ อุทิศส่วนกุศลให้แก่ญาติพี่น้องที่เสียชีวิตไปแล้ว หรืออาจจะเป็นการทาบุญให้ตนเองเพื่อเป็น การสะสมบุญในชาติหน้าก็ได้ การตานขันข้าวเป็นการถวายภัตตาหาร หรือถวายสิ่งของ เครื่องใช้อื่น ๆ ร่วมด้วยก็ได้ ส่วนใหญ่นิยมทากันในวันพระหรือวันสาคัญทางศาสนา เช่น วัน มาฆบูชา วันวิสาขบูชา วันอาฬาหบูชา วันเข้าพรรษา วันสงกรานต์ วันคล้ายวันเกิด ประเพณีตานขันข้าว
  • 10. ซึ่งในวันดังกล่าวชาวบ้านจะนาภัตตาหาร ไปถวายพระที่วัดเพื่ออุทิศส่วนกุศลไปให้พ่อ แม่ ญาติ พี่ ที่ล่วงลับไปแล้ว หรือเจ้ากรรมนายเวร ชาวบ้านเชื่อว่าการตานขันข้าวเป็นการอุทิศส่วนกุศล ไปให้ผู้ตาย จะช่วยให้วิญญาณของผู้ตายมีอาหารกิน และมีสิ่งของเครื่องใช้ไม่อดอยาก หรือ เป็นการทาบุญล่วงหน้าให้กับตนเองในชาติหน้า เพื่อให้มีกิน มีใช้ มีความเป็นอยู่สุขสบายใน ชาติหน้า
  • 12. ประเพณีตักบาตรดอกไม้มีตานานมาตั้งแต่สมัยพุทธกาล โดยมีเรื่องเล่าว่า นายสุมนมาลาการ เป็นชาวเมืองราชคฤห์ เขามีหน้าที่นาดอกมะลิไปถวายพระเจ้าพิมพิสารวันละ 8 ทะนาน ทุกวัน และจะได้ทรัพย์วันละ 8 กหาปณะ ต่อมาเช้าวันหนึ่ง ขณะที่เขากาลังถือดอกไม้จะเข้าประตูเมือง เป็นเวลาที่พระพุทธเจ้าเสด็จออกบิณฑบาตพร้อมด้วยภิกษุสงฆ์ เขาเห็นพระพุทธเจ้าแล้วเกิด ความเลื่อมใส จึงถวายดอกไม้ด้วยดอกไม้ที่จะนาไปถวายพระราชาโดยมีความคิดว่า แม้จะต้อง ตายด้วยโทษประหารก็ยอม ประเพณีตักบาตรดอกไม้
  • 13. ชาวเมืองทราบดังนั้นจึงพาการโห่ร้องสรรเสริญเป็นอันมาก มีเพียงภรรยาของเขาที่ไม่พอใจ ภรรยาจึงนาความนั้นไปกราบทูลพระเจ้าพิมพิสาร แต่พระเจ้าพิมพิสารเป็นพระ โสดาบัน นอกจากจะไม่โกรธแล้ว ยังนาความนี้กราบทูลพระพุทธเจ้าอีกที พระพุทธเจ้าได้กล่าว สรรเสริญนายสุมนมาลาการ ทาให้นายสุมนมาลาการได้รับของพระราชทานจากพระเจ้าพิม พิสารถึง 8 ชนิด คือช้าง ม้า ทาส ทาสี เครื่องประดับ นารี อย่างละแปด ทรัพย์อีก 8 พัน กหาปณะ และบ้านส่วยอีก 8 ตาบล ครั้นกลับถึงวัด พระอานนท์ได้กราบทูลผลบุญที่นายสุมน มาลาการจะพึงได้รับ พระพุทธองค์ตรัสว่า นายสุมนมาลาการได้สละชีวิตบูชาพระองค์ในครั้งนี้ จักไม่ได้ไปเกิดในนรกตลอดแสนกัลป์
  • 14. ประเพณีกาฟ้ า เป็นประเพณีสาคัญตั้งแต่สมัยโบราณ ซึ่งเกี่ยวกับวิถีชีวิตของชาวไทยพวน ที่ อาศัยกระจายไปอยู่ในหลายภูมิภาค เช่น ต.ไผ่หลิ่ว อ.ดอนพุด จ. สระบุรี ลพบุรี สิงห์บุรี สุพรรณบุรี ฉะเชิงเทรา นครนายก ปราจีนบุรี อุดรธานี หนองคาย แพร่ สุโขทัย อุตรดิตถ์ และพิจิตร เป็นต้น แม้การรวมตัวในแต่ละถิ่นไม่มากนัก แต่ทุกแห่งต่างก็สามารถรักษาวิถีชีวิต และขนบธรรมเนียม ดั้งเดิมไว้ได้อย่างดี -กา หมายถึง การสักการบูชา (ภาษาพวน) -กาฟ้ า หมายถึง การสักการบูชาฟ้ า ประเพณีกาฟ้ า
  • 15. วันขึ้น 3 ค่าเดือน 3 เป็นวันกาฟ้ า ก่อนวันกาฟ้ า 1 วัน คือวันขึ้น 2 ค่าเดือน 3 จะถือเป็นวันสุกดิบ แต่ละบ้านจะทาข้าวปุ้ น หรือ ขนมจีน พร้อมทั้งน้ายา และน้าพริกไว้เลี้ยงดูกัน มีการทาข้าว หลามเผา มีการทาข้าวจี่ ข้าวจี่จะนาไปเซ่นไหว้ผีฟ้ าและแบ่งกันกินในหมู่ญาติพี่น้อง พอถึงวัน กาฟ้ าทุกคนในบ้านจะไปทาบุญที่วัด มีการใส่บาตรด้วยข้าวหลาม ข้าวจี่ ตกตอนบ่ายจะมี การละเล่นไปจน ถึงกลางคืน การละเล่นที่นยมได้แก่ ช่วงชัย มอญซ่อนผ้า นางด้ง ฯลฯ
  • 16. เป็นพระราชพิธีกระทาในเดือน ๑๐ ซึ่งมีมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยและกรุงศรีอยุธยา เป็นราชธานี เป็น พิธีกรรมของศาสนาพราหมณ์ ที่สอดแทรกในพิธีกรรมทางพุทธศาสนา เพื่อถวายแด่พระภิกษุ สงฆ์ บูชาพระรัตนตรัย และอุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ตาย ในปัจจุบันนี้ส่วนใหญ่จะจัดในเดือน ๑๒ บางแห่งจะจัดในเดือน ๑ ซึ่งเป็นช่วงที่ข้าวกล้าในท้องนามีรวงข้าว และเครื่องกวนข้าวทิพย์ ประกอบด้วยถั่ว นม น้าตาล น้าผึ้ง น้าอ้อย งา เนย น้ากะทิ และนมที่คั้นจากรวงข้าว ประเพณีกวนข้าวทิพย์
  • 17. การทาขวัญข้าวนั้น เป็นการสร้างขวัญและกาลังใจให้กับชาวนาให้รู้ว่า การทานาปลูกข้าวของตน นั้น จะไม่สูญเปล่า เพราะพระแม่โพสพเป็นผู้ดูแล และเมื่อมีการเกี่ยวข้าวก็จะมาช่วยกันเกี่ยว ข้าว เป็นการสร้างความสมัครสมานสามัคคี และที่สุดคือการร่วมสนุกสนานเมื่อทุกคนเหนื่อย ยาก และประสบความสาเร็จด้วยดี ประเพณีทาขวัญข้าว
  • 18. งานตักบาตรเทโว เป็นงานประเพณีที่ชาวอุทัยธานียึดถือปฏิบัติกันมา ตั้งงแต่ครั้ง บรรพบุรุษ จน กลายเป็นเอกลักษณ์ที่ชาวอุทัยธานีทุกคนภูมิใจกันมาก เพราะเป็นการจัดงานตักบาตรเทโว ที่มี ความสอดคล้องกับพุทธตานานมากที่สุด กล่าวคือ ในสมัยพุทธกาล เมื่อสมเด็จพระสัมมาสัม พุทธเจ้าบรมศาสดาได้เสด็จขึ้นไปแสดงธรรมโปรดพุทธมารดายังสวรรค์ชั้นดาวดึงส์เป็นเวลา ๓ เดือนเต็ม จนกระทั่งพระพุทธมารดาได้บรรลุ ซึ่งพระอริยมรรค อริยผล เป็นพระอรหันต์ภูมิ ประเพณีตักบาตรเทโว
  • 19. แล้วจึงเสด็จจากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ลงมาสู่โลกมนุษย์ ซึ่งพระอินทร์ได้ให้พระวิศณุกรรมเนรมิต บันไดแก้วทอดให้พระพุทธองค์เสด็จโดยมีบันไดทองเบื้องซ้ายและบันไดเงินเบื้องขวาสาหรับ หมู่ เทพยดา พระอินทร์และพระพรหม ทอดลงมาสู่มนุษยภูมิที่มีสังกัสนคร วันที่สมเด็จพระ สัมมาสัมพุทธเจ้าเสด็จลงมาสู่โลกมนุษย์นั้น เรียกว่า "วันเทโวโรหณะ" ซึ่งจะมีพระอรหันต์พร้อม ด้วยสาธุชนมารอรับเสด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า เพื่อการใส่บาตรอย่างมากมายขึ้นที่บริเวณนี้
  • 21. ผีตาโขน เป็นเทศกาลที่จัดขึ้นในอาเภอด่านซ้าย จังหวัดเลย ซึ่งตั้งอยู่ทางภาคอีสาน ของประเทศไทย เป็นเทศกาลที่เกิดขึ้นในเดือน 7 ซึ่งมักจัดมากกว่าสามวันในบางช่วงระหว่าง เดือนมีนาคม และกรกฎาคม โดยจัดขึ้นในวันที่ได้รับเลือกให้จัดขึ้นในแต่ละปีโดยคนทรงประจา เมือง ซึ่งงานบุญประเพณีพื้นบ้านนี้มีชื่อเรียกว่า บุญหลวง โดยแบ่งออกเป็นเทศกาล ผีตาโขน, ประเพณีบุญบั้งไฟ และงานบุญหลวง (หรือ บุญผะเหวด) ผีตาโขน นั้น เดิมมีชื่อเรียกว่า ผีตามคน เป็นเทศกาลที่ได้รับอิทธิพลมาจากมหา เวสสันดรชาดก ชาดกในทางพระพุทธศาสนา ที่ว่าถึงพระเวสสันดร และพระนางมัทรี จะเดิน ทางออกจากป่ากลับสู่เมืองหลวง บรรดาสัตว์ป่ารวมถึงภูติผีที่อาศัยอยู่ในป่านั้น ได้ออกมาส่ง เสด็จด้วยอาลัย ซึ่งวันแรกจะเป็นเทศกาลผีตาโขน ซึ่งเรียกวันนี้ว่า วันรวม (วันโฮม) โดยจะมีพิธีเบิก พระอุปคุตต์ ในบริเวณระหว่างลาน้าหมันกับลาน้าศอก ส่วนวันที่สองของเทศกาลดังกล่าวจะมี พิธีจุดบั้งไฟบูชา พร้อมด้วยเครื่องแต่งกายที่หลากหลาย รวมถึงการแข่งขันเต้นราตลอดจนขบวน พาเหรด ส่วนในวันที่สามและวันสุดท้ายจะมีการให้ชาวบ้านฟังเทศน์ ทั้งนี้ผีตาโขนยังได้รับการ นามาใช้เป็นสัญลักษณ์ และฉายาประจาทีม สโมสรฟุตบอลเลย ซิตี้เช่นกัน ประเพณีแห่ผีตาโขน
  • 23. ประเพณีแห่นางแมวเป็นพิธีกรรมขอฝนของเกษตรกรไทยจัดขึ้นทั้งในภาคกลางและ ภาคตะวันออกเฉียงหนือ เมื่อใกล้ฤดูเพาะปลูกแล้วแต่ฝนยังไม่มาหรือมาล่าช้ากว่าปรกติ ส่งผล ให้ข้าวในนา พืชในสวนขาดน้าหล่อเลี้ยง ให้ผลผลิตไม่ได้เต็มที่ ชาวนา ชาวไร่ก็จะจัดพิธีแห่นาง แมวขอฝนที่ทาสืบต่อกันมาด้วยความเชื่อที่ว่า หากทาพิธีแห่นางแมวแล้ว อีกไม่ช้าฝนก็จะตกลง มา สมัยโบราณนั้น เชื่อกันว่าที่ฝนฟ้ าไม่ตกต้องตามฤดูกาล เกิดความแห้งแล้งไปทั่วนั้น มีอยู่หลายสาเหตุ เช่น ดินฟ้ าอากาศแปรปรวน ผู้คนย่อหย่อนศีลธรรม ผู้ปกครองไม่อยู่ในทศพิศ ราชธรรม และที่ใช้แมวแห่เพื่อขอฝนนั้น ก็มาจากความเชื่อกันว่า แมวเป็นสัตว์ที่กลัวฝน กลัวน้า หากฝนตกเมื่อใดแมวจะร้อง คนโบราณถือเคล็ดว่า ถ้าแมวร้องแสดงว่าฝนกาลังจะตก บ้างก็เชื่อว่า แมวนั้นเป็นตัวแทนของความแห้งแล้ง หากเมื่อใดแมวถูกสาดน้าจน เปียกปอนก็เท่ากับเป็นการขับไล่ความแห้งแล้งออกไปจากเมือง เมื่อบ้านเมืองเกิดความแห้งแล้ง ผิดธรรมชาติ จึงใช้กลอุบายให้แมวร้องออกมา ด้วยการนาแมวมาใส่กระบุงหรือตะกร้าแล้วแห่ไป รอบๆ หากขบวนแห่ผ่านหน้าบ้านใครก็ให้สาดน้าใส่แมว เพื่อให้แมวร้องออกมา บ้างก็เชื่อว่า แมวเป็นสัตว์ที่มีอานาจลึกลับสามารถเรียกฝนได้ ประเพณีแห่นางแมว
  • 24. ด้วยเหตุนี้เมื่อฟ้ าฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล เกษตรกรก็จะนัดหมายเตรียมจัดพิธีแห่ นางแมวขึ้น โดยคัดเลือกแมวลักษณะดีสายพันธุ์สีสวาด เพศเมีย ๑ – ๓ ตัว ใส่กระบุงหรือ ตะกร้าออกแห่ไปรอบๆ หมู่บ้าน ฝนก็จะตกลงมาภายใน ๓ วัน ๗ วัน สาเหตุที่ต้องเลือกแมวสี สวาดก็เพราะคนโบราณมองว่าขนสีเทาคล้ายกับสีเมฆฝน บางแห่งอาจจะใช้แมวดาแทน
  • 25. ประเพณีบุญบั้งไฟ เป็นประเพณีหนึ่งของภาคอีสานของไทยรวมไปถึงลาว โดยมีตานานมาจาก นิทานพื้นบ้านของภาคอีสานเรื่องพระยาคันคาก เรื่องผาแดงนางไอ่ ซึ่งในนิทางพื้นบ้านดังกล่าวได้ กล่าวถึง การที่ชาวบ้านได้จัดงานบุญบั้งไฟขึ้นเพื่อเป็นการบูชา พระยาแถน หรือเทพวัสสกาล เทพบุตร ซึ่ง ชาวบ้านมีความเชื่อว่า พระยาแถนมีหน้าที่คอยดูแลให้ฝนตกถูกต้องตามฤดูกาล และมี ความชื่นชอบไฟเป็นอย่างมาก หากหมู่บ้านใดไม่จัดทาการจัดงานบุญบั้งไฟบูชา ฝนก็จะไม่ตก ถูกต้องตามฤดูกาล อาจก่อให้เกิดภัยพิบัติกับหมู่บ้านได้ ประเพณีบุญบั้งไฟ
  • 26. วันเข้าพรรษา ตามประเพณีทางศาสนาแต่เดิม ประชาชนนาเทียนที่หล่อและแกะสลักสวยงามถวาย พระสงฆ์ เพื่อจุดบูชาระหว่างเข้าพรรษา ต่อมาจัดให้มีการประกวดต้นเทียนพรรษาโดยแบ่งเป็น ๓ ประเภทได้แก่ ประเภทมัดรวมติดลาย ประเภทติดพิมพ์ และประเภทแกะสลัก ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ การ ท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยจัดเป็นงานประจาปีและงานระดับชาติ โดยเพิ่มกิจกรรมและระยะเวลา การจัดงาน เช่น มีการสมโภชเทียนพรรษาพระราชทาน จัดงานพาแลง แสดงศิลปวัฒนธรรมพื้นเมือง และการประกวดธิดาเทียน ประเพณีแห่เทียนพรรษา
  • 28. ประเพณีวิ่งควาย เป็นงานประเพณีประจาจังหวัดชลบุรี เป็นหนึ่งในประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ของ จังหวัดชลบุรีที่มีการจัดมากว่า 100 ปีแล้ว ประเพณีวิ่งควาย เป็นประเพณีที่จัดขึ้นเป็นประจาทุกปี ในวันขึ้น 14 ค่า เดือน11 หรือก่อนออกพรรษา 1 วัน เพื่อเป็นการทาขวัญควายและให้ควายได้ พักผ่อนหลังจากการทานามายาวนาน นอกจากนี้ประเพณีวิ่งควายยังเป็นการแสดงความกตัญญู รู้คุณต่อควายที่เป็นสัตว์มีบุญคุณต่อชาวนาและคนไทยอีกทั้งยังเพื่อให้ชาวบ้านได้มีโอกาสพักผ่อน มาพบปะสังสรรค์กันในงานวิ่งควาย ก็จะนาผลผลิตของตนบรรทุกเกวียนมาขายให้ชาวบ้านร้านตลาดไปพร้อมๆ กัน ต่างคนก็จูง ควายเข้าเที่ยวตลาดจนกลายมาเป็นการแข่งขันวิ่งควายกันขึ้น และจากการที่ชาวไร่ชาวนาต่างก็พา กันตกแต่งประดับประดาควายของตนอย่างสวยงามนี่เอง ทาให้เกิดการประกวดประชันความ สวยงามของควายกันขึ้น พร้อมๆ ไปกับการแข่งขันวิ่งควาย ประเพณีวิ่งควาย
  • 29.
  • 30. • ปากน้าประแส เป็นเมืองที่ติดชายทะเลแห่งหนึ่งของจังหวัดระยอง ที่มีประเพณีการทอดผ้าป่าที่แปลก กว่าที่อื่น ๆ คือ ประเพณีทอดผ้าป่ากลางน้า สืบเนื่องจากชาวบ้านส่วนใหญ่มีอาชีพประมง ต้องใช้ชีวิตอยู่ ในเรือตลอด เรือจึงเปรียบเสมือนบ้านหลังที่สองของพวกเขา ชาวประมงเวลาอยากทาบุญบ้าน (เรือ) ให้ เป็นสิริมงคล จึงได้มีการจัดทาบุญทอดผ้าป่าขึ้นในเรือ ซึ่งเป็นประเพณีที่มีมานานกว่า 100 ปี จากการ สอบถามบุคคลเก่าของชุมชนปากน้าประแส เมื่อปี พ.ศ.2534 คือ คุณแม่มณี หวานเสนาะ เกิดปี พ.ศ.2437 และคุณแม่พวง บุญช่วยรอด เกิดปี พ.ศ.2444 เดิมชาวประแสที่ปลูกบ้านเรือนอยู่ชายหาด ชายคลองแม่น้าประแส ตั้งอยู่ห่าง ๆ กัน ไม่หนาแน่นนัก มีอาชีพหาปลาโดยวิธีตกเบ็ด ยกยอ ทอดแห ดัก รอก ฯลฯ ใช้พาหนะเรือแจวบ้าง เรือพายบ้าง ส่วนใหญ่จะนับถือศาสนาพุทธมาแต่บรรพบุรุษ เมื่อมีเงินมี ทองก็คิดจะทาบุญ ซึ่งชาวประแสจะมีประเพณีอยู่อย่างหนึ่ง เวลาบ้านใดทาบุญบ้าน งานแต่งงาน ต้องมี การทอดผ้าป่าด้วย ผู้ที่ปลูกบ้านเรือนอยู่ริมแม่น้าลาคลองถ้าจะทาบุญทอดผ้าป่าส่วนมากต้อง อาศัยเรือ ตัดไม้มาทาพุ่มผ้าป่า ใช้ไม้ไผ่ปักไว้ด้านหัวเรือ-ท้ายเรือ แล้วนิมนต์พระไปสวดมนต์ที่บ้าน เวลาขากลับ นิมนต์ชักผ้าป่าในเรือ แต่บางแห่งชักผ้าป่าก่อนสวดมนต์ก็มี แต่บางแห่งถึงบ้านชักผ้าป่าก่อนก็มี แต่การ จัดทาบุญทุกครั้งคราว เข้าใจว่า ด้วยเหตุนี้เองจึงเป็นที่เกิดของ "ประเพณีทอดผ้าป่ากลางน้า" ของชาว ประแส ทอดผ้าป่ากลางน้า
  • 31. ประเพณี ทอดผ้าป่ากลางน้าได้สืบทอดกันมาระยะยาวนานแต่ได้มีการหยุดการจัดไประยะหนึ่ง เมื่อปี พ.ศ.2484 เนื่องจากเกิดสงครามอินโดจีน แล้วนามาเริ่มจัดใหม่ในปี พ.ศ.2487 ในช่วงแรก ๆ จะทาพุ่มผ้าป่าไว้บนเรือแล้วนิมนต์พระภิกษุไปชักพุ่มผ้าป่าบนเรือ ต่อมาคณะกรรมการฯ เห็นว่าเป็น การสร้างความลาบากให้กับพระภิกษุ จึงได้มีการเปลี่ยนแปลงการทาพิธีชักผ้าป่า โดยให้ชาวประมง มาจัดพุ่มผ้าป่าไว้ตามบ้านแล้วพระภิกษุจับสลากหมายเลขพุ่ม ผ้าป่า และในปัจจุบันได้มีการ วิวัฒนาการมาเรื่อย ๆ มีการเปลี่ยนแปลงโดยมีการทาแพผ้าป่าไว้กลางแม่น้าประแส พร้อมนิมนต์ พระทาพิธีทอดผ้าป่าบนแพ ส่วนพุ่มผ้าป่าตามบ้านเรือนประชาชนก็คงไว้เหมือนเดิม พระภิกษุจะจับ สลากหมายเลขพุ่ม แล้วเดินชักพุ่มผ้าป่าตามหมายเลขที่จับได้ และมีการจัดงานมหรสพประมาณ 3- 4 วัน จัดขึ้นทุกปี วันทอดผ้าป่ากลางน้า จะตรงกับวันเพ็ญ เดือนสิบสอง ส่วนวันอื่น ๆ แล้วแต่ คณะกรรมการจัดงานจะกาหนดกันในแต่ละปี
  • 32. • ประเพณีทาบุญกลางทุ่งมีสองอย่างคือ ทาบุญขอฝน และทาบุญข้าวใหม่หรือทาบุญข้าวหลาม จัดขึ้นช่วงเดือนสาม หลังเก็บเกี่ยวข้าวในนาแล้ว การทาบุญข้าวใหม่นั้นทาเพื่อรับขวัญข้าวใหม่ ที่เก็บเกี่ยวเสร็จ ถือเป็นงานมงคลประจาหมู่บ้านและเป็นการสร้างขวัญ กาลังใจให้แก่ชาวนา เมื่อถึงวันงานชาวบ้านจะนิมนต์พระมาสวดมนต์ที่ปะราพิธีกลางทุ่งนา เรียกว่าสวดมนต์เย็น พอ รุ่งเช้าจะร่วมกันทาบุญตักบาตร แล้วกลับบ้านไปเผาข้าวหลามเตรียมไว้ วันรุ่งขึ้นชาวบ้านจะนา อาหารและข้าวหลามมาทาบุญ เชื่อว่าเป็นการทาบุญสะเดาะเคราะห์ โดยนาข้าวปลาอาหาร ขนม และย้าใส่ในกาบหมาก โดยสมมติว่าเป็นเรือ หลังจากพระฉันภัตตาหาร และสวดมนต์แล้ว ก็นากากหมากออกไปทิ้งไว้ข้างทางเพื่อให้ผีไม่มีญาติได้กินกันตกกลางคืนจะมีมหรสพต่างๆ เช่น ลิเก ภาพยนตร์ วงดนตรี ทาบุญกลางทุ่ง
  • 33. • เป็นการแสดงออกถึงความศรัทธาในพุทธศาสนา ความพร้อมเพรียงในหมู่เครือญาติ ความเป็น น้าหนึ่งใจเดียวกันในการทาบุญถวายเครื่องใช้จาเป็นสาหรับพระสงฆ์ • ผู้ที่จัดทอดผ้าป่าโจรจะต้องเตรียมผ้าสีขาว ซึ่งมีความยาวหลายหลา สีย้อมกรั๊ก (สีที่ได้จาก แกนขนุน) เข็ม ด้าย พร้อมทั้งบริวารผ้าป่าขึ้นอยู่กับความศรัทธาของผู้ทอดผ้าป่าโจร ว่าจะมาก หรือน้อยเพียงใด ในการจัดต้องทากันภายในครอบครัวและญาติพี่น้องที่เคารพนับถือกันเท่านั้น เวลาทาการทอดผ้าป่าจะทากันเวลาใกล้รุ่งคือก่อนเวลา ที่พระจะออกบิณฑบาต โดยการนาสิ่งของเครื่องใช้ที่จัดเตรียมไว้ทั้งหมดไปไว้ที่ทางสามแพร่ง หรือบริเวณเส้นทางที่พระสงฆ์จะออกบิณฑบาต และปักธูปไว้เป็นระยะ ๆ ตั้งแต่กองผ้าป่าไปยัง บริเวณที่พระออกบิณฑบาตจะมองเห็นได้ชัดเจน หากเป็นที่โล่งเตียนก็ไม่ต้องจุดธูปบอกก็ได้ เมื่อพระรูปใดออกบิณฑบาตตอนเช้ามืดเห็นท่านจะเดินไปยังที่วางกองผ้าป่าท่าน ก็จะทาพิธีชัก ผ้าป่าพร้อมสวดมนต์ให้พรแก่เจ้าของกองผ้าป่าก็เป็นอันเสร็จพิธี ทอดผ้าป่าโจร
  • 35. ประเพณีผ้าขึ้นธาตุ หมายถึง การนาผ้าผืนยาวขึ้นไปห่มองค์พระบรมธาตุเจดีย์ในวันสาคัญทาง ศาสนา ชาวนครได้ร่วมมือร่วมใจกันบริจาคเงินตามกาลังศรัทธานาเงินที่ได้ไปซื้อผ้ามาเย็บต่อกัน เป็นแถวยาวนับพันหลา แล้วจัดเป็นขบวนแห่ผ้าขึ้นห่มพระบรมธาตุเจดีย์ ผ้าที่ขึ้นไปห่มองค์พระบรม ธาตุเจดีย์เรียกว่า “ผ้าพระบฎ” (หรือ พระบต) นิยมใช้สีขาว สีเหลือง สีแดง สาหรับผ้าสีขาวนิยม เขียนภาพเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธประวัติตั้งแต่ประสูติ เสด็จออกบรรพชา ตรัสรู้ ปฐมเทศนา และ ปรินิพพาน ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุเป็นเอกลักษณ์ประจาเมืองนครศรีธรรมราช แก่นแท้อยู่ที่การบูชา พระพุทธเจ้าอย่างใกล้ชิด โดยใช้องค์พระบรมธาตุเจดีย์เป็นตัวแทน ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ
  • 36. • ตามตานานประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุมีว่า ในสมัยที่พระเจ้าสามพี่น้อง คือ พระเจ้าศรีธรรมโศกราช พระเจ้าจันทรภาณุ และพระเจ้าพงษาสุระ กาลังดาเนินการสมโภชพระบรมธาตุอยู่นั้น คลื่นได้ ซัดผ้าแถบยาวชิ้นหนึ่ง ซึ่งมีลายเขียนเรื่องราวพุทธประวัติ (เรียกว่า พระบฎ หรือ พระบต) ขึ้นที่ ชายหาดปากพนัง จึงนาผ้าผืนนั้นไปถวายพระเจ้าศรีธรรมโศกราช พระองค์จึงรับสั่งให้ซักจน สะอาด แต่ลายเขียนพุทธประวัติก็ไม่ลบเลือนยังคงสมบูรณ์ดีทุกประการ จึงรับสั่งให้ประกาศหา เจ้าของ ได้ความว่าชาวพุทธกลุ่มหนึ่ง จะเดินทางไปลังกา เพื่อนาพระบฎไปถวายเป็นพุทธบูชา พระทันตธาตุ คือ พระเขี้ยวแก้ว แต่เรือถูกมรสุมซัดแตกที่ชายฝั่งเมืองนครมีรอดชีวิต 10 คน ส่วนพระบฏถูกคลื่นซัดขึ้นฝั่งปากพนัง พระเจ้าศรีธรรมโศกราชทรงพิจารณาเห็นว่าควรจะนาขึ้น ไปห่มพระบรมธาตุเจดีย์เนื่องในโอกาสสมโภชพระบรมธาตุ เจ้าของพระบฎที่รอดชีวิตก็ยินดี ด้วย จึงโปรดให้ชาวเมืองนครจัดเครื่องประโคมแห่แหนผ้าห่มโอบฐานพระบรมธาตุเจดีย์ จึงเป็น ประเพณีประจาเมืองนครสืบมาจนทุกวันนี้
  • 37. ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ได้มีการแห่ผ้าขึ้นธาตุในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 6 คือ วันวิสาขบูชา เรียกว่า “แห่พระบฎขึ้นธาตุ” มีการเวียนเทียนรอบองค์พระบรมธาตุ ต่อมาในสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้โปรดให้มีการแห่ผ้าขึ้นธาตุ ในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 3 คือ วันมาฆบูชา เพื่อให้พุทธศาสนิกชนที่อยู่ห่างไกลหรือไม่มีโอกาสกระทาพุทธบูชาในวันวิสาขบูชาได้มี โอกาสแห่ผ้าขึ้นธาตุในวันมาฆบูชาตามศรัทธาด้วย ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุของเมืองนครจึงมีปีละ 2 ครั้ง คือ ในวันเพ็ญเดือน 3 (วันมาฆบูชา) และในวันเพ็ญเดือน 6 (วันวิสาขบูชา) สืบมาจนทุกวันนี้ เดิมการแห่ผ้าขึ้นธาตุกระทากันโดยพร้อมเพรียงเป็นขบวนที่เอิกเกริกเพียงขบวนเดียว ต่อมา ประชาชนมาจากหลายทิศหลายทาง แต่ละคนต่างเตรียมผ้ามาเองทาให้การแห่ผ้าขึ้นธาตุไม่พร้อม เพรียงเป็นขบวนเดียวกัน เพราะใครจะแห่ผ้าขึ้นธาตุในเวลาใดก็ได้ตามสะดวกตลอดทั้งวัน เมื่อ ขบวนแห่มาถึงวัดพระบรมธาตุวรมหาวิหาร ก็แห่ทักษิณาวัตรรอบองค์พระบรมธาตุเจดีย์ 3 รอบ แล้ว นาผ้าเข้าสู่วิหารม้า ซึ่งมีบันไดขึ้นสู่ลานภายในกาแพงแก้วล้อมฐานพระบรมธาตุเจดีย์ เพื่อนาผ้าขึ้น ห่มโอบฐานพระบรมธาตุเจดีย์ซึ่งบรรจุพระบรมสารีริกธาตุ ถือว่าเป็นการบูชาพระพุทธเจ้าอย่าง ใกล้ชิด
  • 38. • ประเพณีชักพระ บางท้องถิ่นเรียกว่า "ประเพณีลากพระ " เป็นประเพณีพื้นเมืองของชาวภาคใต้ ได้มี การสืบทอดกันมาตั้งแต่สมัย • ศรีวิชัย โดยสันนิษฐานว่าได้เกิดมีขึ้นครั้งแรกในประเทศอินเดีย มีพุทธตานานเล่าขานสืบทอดกันมา ว่า เมื่อพระพุทธเจ้าทรงผนวชได้ 7 • พรรษา และ พรรษาที่ 7 นั้นได้เสด็จไปจาพรรษา ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ครั้นออกพรรษาแล้ว ยามเช้า ของแรม 1 ค่า เดือน 11 ได้เสด็จกลับ • มายังโลกมนุษย์ ในการนี้พุทธบริษัททั้ง 4 ประกอบด้วย ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก และ อุบาสิกา ซึ่งรอ คอยพระพุทธองค์มาเป็นเวลานานถึง 3 • เดือน ครั้นทราบว่า พระพุทธเจ้าเสด็จกลับ จึงได้รับเสด็จและได้นาภัตตาหารคาวหวานไปถวายด้วย ผู้ไปทีหลังนั่งไกล ไม่สามารถเข้าไป ประเพณีชักพระ
  • 39. • ถวายภัตตาหารด้วยตัวเองได้ จึงใช้ใบไม้ห่ออาหารและส่งผ่านชุมชนต่อๆกันไป เพื่อขอความ อนุเคราะห์ต่อผู้นั่งใกล้ๆ ถวายแทน บุญ • ประเพณีลากพระ จึงมีขนมต้มหรือที่เรียกตามภาษาถิ่นว่า "ต้ม" เป็นขนมประจาประเพณีทา ด้วยข้าวเหนียว ห่อด้วยใบไม้อ่อนๆ เช่น ใบจาก • ใบลาน ใบตาล ใบมะพร้าว หรือ ใบกะพ้อ เป็นต้น • ประเพณีชักพระของชาวภาคใต้มีอยู่ 2 ลักษณะ คือ ลากพระทางบก กับ ลากพระทางน้า
  • 40. • ชิงเปรต เป็นประเพณีของภาคใต้ที่ทากันในวันสารทเดือนสิบ เป็นประเพณีที่ดารงอยู่บนความ เชื่อของการนับถือผีบรรพบุรุษผู้ล่วงลับไปแล้วหากยังมีบาปอยู่จะกลายเป็นเปรตในนรกปีหนึ่ง จะถูกปล่อยให้มาเมืองมนุษย์ 15 วัน โดยมาในวันแรม 1 ค่า เดือน 10 ซึ่งถือว่าเป็นวัน "รับเปรต" หรือวันสารทเล็ก ลูกหลานต้องเตรียมขนมมาเลี้ยงดูให้อิ่มหมีพีมันและฝากกลับเมืองเปรตในวัน แรม 15 ค่า เดือน 10 นั่นคือวันส่งเปรตกลับคืนเมืองเรียกกันว่าวันสารทใหญ่ • ผู้เฒ่าผู้แก่หลายคนได้ยืนยันว่าการชิงเปรตไม่เป็นความอัปมงคลแก่ผู้ชิงเปรตแต่อย่างใด ในทาง ตรงกันข้ามกลับถือว่าเป็นการได้บุญเพราะเชื่อกันว่าลูกหลานของเปรตใดชิงได้ เปรตตนนั้นย่อม ได้รับส่วนบุญนั้น • พิธีกรรมการตั้งเปรตและชิงเปรตจะกระทากันในวันยกหมฺรับไปวัดหลักๆก็จะเป็นขนมพอง ขนม ลา ขนมเบซา (ดีซา) นอกจากนี้ก็อาจจะมีเป็นผลไม้หรืออาหารแห้งอื่นๆที่บรรพบุรุษที่เป็นเปรต ชอบไปวางรวมกันไว้บน "ร้านเปรต" หลังจากที่พระสงฆ์ได้ทาพิธีกรรมและกาลังฉันเพล ชาวบ้าน ก็จะออกมาตักบาตรข้าวสวยและเริ่มชิงเปรตกันซึ่งขั้นตอนนี้ก็จะมีทั้งความชุลมุนและความ สนุกสนานผสมกันเป็นที่เฮฮาของบรรดาผู้ที่มาชิงเปรต ประเพณีชิงเปรต
  • 41. • ประเพณีการแห่นก เป็นประเพณีการทางพื้นเมืองของจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยเฉพาะที่ นราธิวาส ซึ่งได้มีการกระทาสืบเนื่องกันมาเป็นเวลานาน เป็นประเพณีนิยมที่ไม่เกี่ยวข้องกับทาง ศาสนา ไม่เป็นประเพณีตามนักขัตฤกษ์ แต่จัดขึ้นเป็นครั้งคราวตามโอกาส เพื่อความสนุกรื่นเริง เป็นการแสดงออกเกี่ยวกับการใช้ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ในศิลปะและอาจจัดขึ้นในการแสดง ความคารวะ แสดงความจงรักภักดี แก่ผู้ใหญ่ที่ควรเคารพนับถือ หรือในโอกาสต้อนรับแขกเมือง บางทีอาจจัดขึ้นเพื่อความรื่นเริงในพิธีการเข้าสุนัต หรือที่เรียกว่า "มาโซยาวี" หรือจัดขึ้นเพื่อ ประกวดเป็นครั้งคราว นกที่นิยมทาขึ้นเพื่อการแห่มีเพียง ๔ ตัว คือ ๑. นกกาเฆาะซูรอหรือ นกกากะสุระ นกชนิดนี้ตามสันนิษฐานคือ "นกการเวก" เป็นนกสวรรค์ที่ สวยงามและบินสูงเทียมเมฆการประดิษฐ์มักจะตบแต่งให้มีหงอนสูงแตกออกเป็น ๔ แฉก นก ชนิดนี้ชาวพื้นเมืองเรียกว่า "นกทูนพลู" เพราะบนหัวมีลักษณะคล้ายบายศรีพลู และมีการทาให้ แปลกจากนกธรรมดา เพราะเป็นนกสวรรค์ ๒. นกกรุดา หรือ นกครุฑ มีลักษณะคล้ายกับครุฑ เชื่อกันว่านกชนิดนี้มีอาถรรพ์ ผู้ทามักเกิด อาเพศ มักเจ็บไข้ได้ป่วย ในปัจจุบันจึงไม่นิยมจัดทานกชนิดนี้ในขบวรแห่ ประเพณีการแห่นก
  • 42. ๓. นกบือเฆาะมาศ หรือนกยูงทอง มีลักษณะคล้ายกับนกกาเฆาะวูรอ มีหงอน สวยงามเป็นพิเศษ ชาว ไทยมุสลิมยกย่องนกยูงทองมาก และไม่ยอมบริโภคเนื้อ เพราะเป็นนกที่รักขน การประดิษฐ์ตกแต่งรูป นกพญายูงทองนั้น จึงมีการตกแต่งที่ประณีตถี่ถ้วนใช้เวลามาก ๔. นกบุหรงซีงอ หรือนกสิงห์ มีรูปร่างคล้ายราชสีห์ ตามคตินกนี้มีหัวเป็นนก แต่ตัวเป็นราชสีห์ ปากมี เขี้ยวงาน่าเกรงขาม ช่วงเวลาในการจัดประเพณีการแห่นก ในการแห่นกนั้นได้มีการจัดขึ้น ในโอกาสต่าง ๆ เพื่อความสนุกสนานรื่นเริง หรือในโอกาสการต้อนรับ แขกเมืองของชาวนราธิวาส และยังจัดในพิธีการเข้าสุหยัด พิธีกรรมในการแห่นก ประเพณีการแห่นกนั้น สันนิษฐานว่า จะมีพิธีกรรมบางอย่าง เช่น การตั้งพิธีสวดมนต์ตามวิธีการทาง ไสยศาสตร์ เพื่อขับไล่หรือขจัดปัดเป่าทุกข์โศกโรคภัย ให้หมดสิ้นไปให้มีความสุข ความเจริญก้าวหน้า สาระของประเพณีการแห่นก ประเพณีการแห่นกนั้นนอกจากที่ให้ความสนุกสนานแล้ว ยังให้คติ ความเชื่อ ความรัก ความสามัคคี และความเชื่อในการยึดเหนี่ยวจิตใจของผู้ร่วมพิธีในการปัดเป่าสิ่งชั่วร้ายต่าง ๆ และเป็นการอนุรักษ์ให้ ประเพณีแห่นกยังคงอยู่สืบเนื่องต่อไป
  • 43. • ประเพณีสารทเดือนสิบ เป็นงานบุญประเพณีของคนภาคใต้ของประเทศไทย โดยเฉพาะชาว นครศรีธรรมราช ที่ได้รับอิทธิพลด้านความเชื่อซึ่งมาจากทางศาสนาพราหมณ์ โดยมีการ ผสมผสานกับความเชื่อทางพระพุทธศาสนาเข้ามาในภายหลัง โดยมีจุดมุ่งหมายสาคัญเพื่อเป็น การอุทิศส่วนกุศลให้แก่ดวงวิญญาณของบรรพชนและญาติที่ล่วงลับ ซึ่งได้รับการปล่อยตัวมา จากนรกที่ตนต้องจองจาอยู่เนื่องจากผลกรรมที่ตนได้เคยทาไว้ตอนที่ยังมีชีวิตอยู่ โดยจะเริ่ม ปล่อยตัวจากนรกในทุกวันแรม 1 ค่าเดือน 10 เพื่อมายังโลกมนุษย์โดยมีจุดประสงค์ในการมา ขอส่วนบุญจากลูกหลานญาติพี่น้อง ที่ได้เตรียมการอุทิศไว้ให้เป็นการแสดงความกตัญญูกตเวที ต่อผู้ล่วงลับ หลังจากนั้นก็จะกลับไปยังนรก ในวันแรม 15 ค่า เดือน 10 • ช่วงระยะเวลาในการประกอบพิธีกรรมของประเพณีสารทเดือนสิบจะมีขึ้นในวันแรม 1 ค่าถึงแรม 15 ค่าเดือนสิบของทุกปีแต่สาหรับวันที่ชาวใต้มักจะ นิยมทาบุญกันมากคือวันแรม 13-15 ค่า ประเพณีวันสารทเดือนสิบโดยในส่วนใหญ่แล้วจะตรงกับเดือนกันยายน ประเพณีสารทเดือนสิบ
  • 44. • การกวนข้าวอาซูรอ (ขนมอาซูรอ) เป็นประเพณีท้องถิ่นของชาวไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดน ภาคใต้ คาว่า อาซูรอ เป็นภาษาอาหรับ แปลว่า การผสม การรวมกัน คือการนาสิ่งของที่ รับประทานได้หลายสิ่งหลายอย่างมากวนรวมกัน มีทั้งชนิดคาวและหวาน การกวนข้าวอาซูรอ จะใช้คนในหมู่บ้านมาช่วยกันคนละไม้คนละมือ เพื่อความสามัคคีและสร้างความพร้อมเพรียง เป็นน้าหนึ่งใจเดียวกัน อันมีผลต่อการอยู่ร่วมกันของสังคมอย่างมีความสุข ก่อนจะแจกจ่ายให้ รับประทานกัน เจ้าภาพจะเชิญบุคคลที่นับถือของชุมชนขึ้นมากล่าวขอพร (ดูอา) ก่อน จึงจะแจก ให้คนทั่วไปรับประทานกัน ประเพณีกวนข้าวอาซูรอ
  • 45. • พิธีแห่นางดาน คาว่านางดาน หรือนางกระดาน หมายถึงแผ่นไม้กระดานขนาดกว้างหนึ่งศอกสูง สี่ศอก ที่วาดหรือแกะสลักรูปเทพบริวารในคติพราหมณ์ จานวน 3 องค์ แผ่นแรก คือ พระอาทิตย์ พระจันทร์ แผ่นที่สองคือแม่พระธรณี แผ่นที่สามคือพระแม่คงคา เพื่อใช้ในขบวนแห่เพื่อรอรับ เสด็จพระอิศวรที่เสด็จมาเยี่ยมมนุษย์โลก ณ เสาชิงช้า • เชื่อกันว่าการเสด็จมาเยี่ยมมนุษย์โลกเพื่อประสาทพรให้เกิดความสงบสุข ให้เกิดน้าท่าอุดม สมบูรณ์ และช่วยคุ้มครองมนุษย์โลกให้ปลอดภัย ซึ่งตามความเชื่อการเสด็จลงมาของพระอิศวร จะต้องเสด็จลงมาในเดือนอ้าย ซึ่งเป็นปีใหม่ของชาวพราหมณ์ฮินดู เพื่อให้ประเพณีแห่นางดาน เป็นที่รู้จักและคงไว้ซึ่ง่ประเพณีเก่าแก่ของเมืองนครศรีธรรมราชและกาเนิดขึ้นเป็นแห่งแรกใน เมืองไทย • ปัจจุบัน ประเพณีแห่นางดาน จัดขึ้นในวันที่ 14 เมษายน ของทุกปี โดยมีขบวนแห่นางดานจาก สนามหน้าเมืองมายังหอพระอิศวร การแสดงแสง สี เสียง ตานานนางดานและเทพเจ้าที่ เกี่ยวข้อง การจาลองพิธีแห่นางดาน และการโล้ชิงช้า ซึ่งเป็นการโล้ชิงช้านอกเขตเมืองหลวงแห่ง เดียวของไทยในปัจจุบัน โดยเทศบาลนครนครศรีธรรมราชเป็นผู้รับผิดชอบ และถือเป็นกิจกรรม สาคัญในปฏิทินการท่องเที่ยวเทศกาลสงกรานต์ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยอีกด้วย ประเพณีแห่นางดาน
  • 46. งานเสด็จพระแข่งเรือเป็นงานประเพณีที่สาคัญของอาเภอกระบุรี จังหวัดระนอง ซึ่งจัดขึ้นในช่วงออก พรรษของทุกปี ประมาณเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน คือตั้งแต่วันแรม ๑ ค่า เดือน ๑๑ ถึงวัน แรม ๓ ค่า เดือน ๑๑ ของทุกปี ณ บริเวณแม่น้ากระบุรี ในช่วงคอคอดกระ เป็นประเพณีที่ชาวอาเภอกระบุรีจะร่วมกันตกแต่งเรืออย่างสวยงาม เพื่อไปพายกันในแม่น้ากระบุรี มีการประกวดเรือประเภทต่าง ๆ งานเสด็จพระแข่งเรือจัดขึ้นมาตั้งแต่ พ.ศ. ๒๔๕๐ โดยสืบทอด ประเพณีมาจากทางใต้ ประเพณีงานเสด็จพระแข่งเรือ
  • 48. ผู้จัดทา 1.นายสันติ ไผ่ทอง ชั้น ม.6/5 เลขที่ 24 2.นายยศพัทธ์ อินถอด ชั้น ม.6/5 เลขที่ 45